SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
7.2 วัสดุสังเคราะห์ชนิดต่างๆ
7.2.1 พลาสติก (Plastic)
พลาสติก เป็นวัสดุสังเคราะห์ และเป็นวัสดุช่างที่เรารู้จัก และนามาใช้งานในอุตสาหกรรมต่างๆ อย่างกว้างขวาง
เนื่องจากพลาสติกมีคุณสมบัติบางอย่างเป็นเลิศ เช่น ไม่เกิดการกัดกร่อน แข็งแรง เป็นฉนวนไฟฟ้ า ทนต่อสารเคมี เหนียว
พลาสติกส่วนใหญ่ได้จากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และครอรีน ซึ่งได้มา
จากผลพลอยได้จากการกลั่นน้ามันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และยังมีพลาสติกบางอย่างที่ได้จากผลิตผลทางการเกษตร
พลาสติกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic)
เทอร์โมพลาสติก หมายถึง พลาสติกที่นาไปทาผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ต่างๆ แล้วเมื่อนาไปใช้งานแล้วเกิดชารุด หมดสภาพการใช้
งานแล้วสามารถนากลับมาหลอมละลลายขึ้นเป็นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้พลาสติกชนิดนี้มีอยู่หลายชนิดคือ
1.1 เซลลูโลซิก (Cellulosics)
เป็นพลาสติกที่ได้จากเยื่อเซลลูโลส(Cellulose Fiber) ฝ่าย (Cotton) และพืชชนิดอื่นๆ เป็นพลาสติกที่มีความ
แข็งแรง ทนความร้อน เป็นฉนวนไฟฟ้า เซลลูโลซิกที่นามาใช้งานมีหลายชนิด คือ
1.1.1 เซลลูโลสไนเตรด (Cellulose Nitrate) ค้นพบและนามาใช้งานในปี ค.ศ. 1869 ใช้ทาลูกบิลเลียด ฟัน
ปลอม ส้นรองเท้า ลูกปิงปอง น้ายาเคลือบผ้า (Fabric Coating)
1.1.2 เซลลูโลสอะซีเทต (Cellulose Acetate) ค้นพบในปี ค.ศ. 1927 ใช้ทาเทปบันทึกเสียง ฟิล์มถ่ายภาพ
และของเด็กเล่น
1.1.3 เซลลูโลสอะซีเทต บิวทะเรต (Cellulose Acetate Butyrate) ค้นพบในปี ค.ศ. 1938 ใช้ทาพวงมาลัย
รถยนต์ตู้วิทยุ ด้ามเครื่องมือ
1.2 อะซีทัล (Acetals)
เป็นพลาสติกที่ค้พบในปี ค.ศ. 1906 เป็นพลาสติกที่แข็งแรง ทนทานรับแรงได้ดี ลื่นคล้ายเทียนไข นามาใช้งานด้านวิศวกรรม
ทาชิ้นส่วนที่ต้องเคลื่อนไหวต่างๆ ชิ้นส่วนของเครื่องจักรกล เครื่องยนต์ต่างๆ เช่น เฟือง แบริ่ง บูช ลูกกลิ้ง ซึ่งจะมีผลทาให้
เครื่องจักรกล ทางานได้นุ่มนวล และเสียงเงียบลง ลดปัญหาเกี่ยวกับการหล่อลื่นชิ้นส่วน
รูปที่ 7.1 การนาอะซีทัลมาผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ
1.3 โพลิเอมาย (Polyamides)
พลาสติกชนิดนี้อาจเรียกว่า ไนลอน (Nylon) ค้นพบและนามาใช้งานอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1933 เป็นพลาสติก
ที่น้าหนักเบา รับแรงอัดได้ดี ทนความร้อน ทนการขีดข่วน เป็นฉนวนไฟฟ้า นามาทาเป็นเส้นใย ใช้เป็นถุงเท้า เอ็นตกปลา ขน
แปรงสีฟัน
1.4 โพลิโอเลฟิน (Polyolefins) ที่นามาใช้งานมีหลายชนิด คือ
1.4.1โพลิเอทิลีน (Polyethylene) ค้นพบในปี ค.ศ. 1933 มีลักษณะคล้ายขี้ผึ้งน้าไม่เกาะติดผิว เป็น
ฉนวนไฟฟ้า เป็นพลาสติกที่มีปริมาณการนามาใช้งานมากที่สุดในประเภทเทอร์โมพลาสติก นาไปใช้ทาถุงบรรจุอาหาร
ของเด็กเล่นพลาสติก และยังนามาใช้วัสดุเคลือบโลหะเพื่อป้ องกันสนิม เช่น ชั้นวางของต่างๆ เป็นต้น
1.4.2โพลิโพรพิลิน (Polypropylene) ค้นพบในปี ค.ศ. 1957 มีคุณสมบัติคล้ายโพลิเอทิน แต่มีความแข็งแรง
ทนทานมากกว่า นามาใช้ทาถุงบรรจุอาหารชนิดร้อน แถบพลาสติกมัดของ เชือกปอพลาสติก กล่องแบตเตอรี่ หมวกกันน็อก
1.5 ไวนิล (Vinyl)
พลาสติกชนิดนี้ค้นพบ และนามาใช้งานในปี ค.ศ. 1933 ไวนิลที่นามาใช้งานมีหลายชนิดคือ
1.5.1 Polyvinyl Acetate (PVA) เป็นพลาสติกที่นามาใช้ทาสี เรียกว่า สีน้าพลาสติก และนามาทากาว
เรียกว่า Latex
1.5.2 Polyvinyl Choloride (PVC) ทนต่อสารเคมี เหนียวทนทาน นามาทาท่อน้า และทาฉนวนหุ้ม
สายไฟฟ้า
1.5.3 Polyvinyl Choloride Acetate เป็นพลาสติกที่อ่อนเนือ้เหนียว ฉีกขาดยาก นามาทาพลาสติกแผ่นผืน
เป็นวัสดุกันฝน
1.6 อะครีลิก (Acrylics)
เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานในอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1936 เป็นพลาสติกที่มีเนื้อใสทนต่อแสง อุตราไวโอ
เลต เป็นฉนวนไฟฟ้า นาไปทาป้ ายโฆษณาต่างๆ เลนส์แว่นตา เฟอร์นิเจอร์ พลาสติกสาหรับอัดกรอบพระ เป็นต้น
1.7 โพลิสไตรีน (Polystyrene) เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานในอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1938 เป็นพลาสติกที่
น้าหนักเบาเป็นฉนวนไฟฟ้ า ทนต่อความร้อนได้ดีพอสมควร มีเนื้อใส นามาใช้ทากล่องบรรจุต่างๆ เช่น กล่องลูกกวาด ไม้
บรรทัด ตะเกียบ ของเด็กเล่นต่างๆ และนามาใช้ผลิตเป็นโฟม ใช้ทากล่องบรรจุกันกระแทก เป็นฉนวนกันความร้อน กันเสียง
และใช้ตัดเป็นตัวหนังสือสาหรับตกแต่ง เป็นต้น
1.8 ฟลูออโรคาร์บอน (Fluorocarbons) เป็นพลาสติกที่คิดค้นขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 1943 เป็นพลาสติกที่มีคุณสมบัติ
คือ เป็นฉนวนเคลือบภายในภาชนะ เช่น หม้อกระทะ เพื่อป้ องกันการติดผิวภาชนะ ทาปะเก็น (Gasket) สาหรับเครื่องจักร
เครื่องยนต์ ทาแหวนลูกสูบ (Piston Ring) วาล์ว (Valve)
1.9โพลินคาร์บอเนต (Polycarbonate) เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1957 ซึ่งเป็น
พลาสติกใส มีความแข็งแรงมากที่สุด ทนความร้อน และสารเคมีได้ดี นามาใช้ทาขวดนมเด็กชนิดดี เครื่องใช้ไฟฟ้ า ด้าม
เครื่องมือต่างๆ แว่นตากันแดด และตัวกล้องถ่ายภาพ เป็นต้น
1.10 ไอโอโนเมอร์ (Ionomer) เป็นพลาสติกที่ค้นพบ และนามาใช้ในปี ค.ศ. 1964 เป็นพลาสติกที่ใส และเหนียว
ทนต่อกรด และด่างได้ดี สามารถเชื่อมให้ละลายติดกันด้วยความร้อน นามาใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุต่างๆ เช่น ขวดบรรจุ
ของเหลว เครื่องมือ ลูกกอล์ฟ
1.11 โพลิซัลโฟน (Polysulphone) เป็นพลาสติกที่ค้นพบเมื่อ ปี ค.ศ. 1965 เป็นพลาสติกที่ทนความร้อนได้สูง
ทนแรงดึงแรงอัดได้สูง ทนต่อกรดด่าง และเป็นฉนวนไฟฟ้ าที่ดีมาก นามาใช้ทาฝาครอบ หรือตัวเครื่อง และอุปกรณ์ไฟฟ้ า
และยังนามาทาน้ายาเคลือบผิวไฟฟ้า (Wire Coating)
1.12 โพลิเอสเทอร์ (Polyester) เป็นพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติก ที่มีชื่อเหมือนกับพลาสติก
เทอโมเซตติ้งมีความเหนียวทนความร้อนได้ดี แข็งแรงทนทานมาก นาไปใช้ทาชิ้นส่วนของรถยนต์ เช่น กันชน
รถยนต์ ขวดบรรจุน้ามันพืช นามาทาเส้นใยทอผ้า เป็นต้น
2. เทอร์โมเชตติ้ง (Thermosetting)
เทอร์โมเชตติ้ง เป็นพลาสติกที่ได้รับความร้อนในครั้งแรกจะอ่อนตัว เพื่อสามารถนามาขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ แล้วจะ
แข็งตัวคงสภาพ ไม่สามารถนากลับหลอมละลายได้ๆใหม่ พลาสติก ประเภทนี้มีอยู่หลายชนิด คือ
2.1 ฟินอลิก (Phenolic) พลาสติกที่ค้นพบ และนามาใช้งานในปี ค.ศ. 1909 โดยมีชื่อเรียกทางการค้าว่าเบเกอร์
ไล์ท เป็นพลาสติกที่มีความแข็งแกร่งทนต่อความความร้อนได้ดี และเป็นฉนวนไฟฟ้า นาไปใช้ผลิตเป็นอุปกรณ์ทางไฟฟ้า
เช่น โครงตู้วิทยุ โครงตู้โทรทัศน์ ฝาครอบจานจ่ายรถยนต์ หูหม้อ หูกระทะไฟฟ้า ด้านจับเตารีด และยังนามาทากาวสังเคราะห์
สาหรับผลิตไม้อัดชนิดกันน้า
ภาพที่ 7.2 การนาฟินอลิกมาผลิตจานจ่ายเครื่องยนต์
2.2อะมิโน (Amino) เป็นพลาสติกที่รับแรงอัด และแรงบิดได้ดีมาก ทนต่ออุณหภูมิได้สูง มีเนื้อแข็งทนต่อการ
ขูดขีดได้ดี อะมิโนแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
2.2.1 ยูเรีย (Urea) นามาใช้งานในปี ค.ศ. 1929 โดยนามาทากาวสังเคราะห์ สาหรับประสานไม้อัดประเภท
ต่างๆ เช่น ไม้อัดแผ่นเรียบ ชิบบอร์ด อุปกรณ์ไฟฟ้า และน้ายาเคลือบผิว
2.2.2 เมลามีน (Melamine) นามาใช้งานในปี ค.ศ. 1939 โดยนามาผลิตเป็นภาชนะต่างๆ เช่น จาน ชาม
แก้ว ถาด และนามาทาเป็นแผ่นโฟไมก้า (Formica) เป็นต้น
2.3 ซิลิโคน (Silicone)
เป็นพลาสติกที่นามาใช้ในอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1930 นามาใช้ทั้งรูปของเหลว และแบบคงรูป ทนต่อความ
ร้อน และความเย็นได้ดี เป็นฉนวนไฟฟ้า นามาใช้ทายางขอบกระจก ยางปู พื้นกันลื่น ทาแบบหล่อ ซิลิโคน
เหลวลนามาใช้ทาเครื่องสาอาง กาวประสานรอยตู้กระจกเลี้ยงปลา เป็นต้น
ภาพที่ 7.3 การนาซิลิโคนมาผลิตแบบหล่อโลหะ
2.4 โพลินยูเรเทน (Polyurethane)
เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1954 เป็นพลาสติกที่ทนการสึกกร่อนได้ดี เหนียว ทนต่อ
สารเคมี เป้ นฉนวนไฟฟ้าที่ดี นามาใช้ทาหนังเทียม น้ายาเคลือบผิววัสดุ และยังนามาทาโฟม ซึ่ง 2 ชนิดคือ
2.4.1 โฟมชนิดอ่อนตัว (Flexible Foam) หรือฟองน้า ใช้ทาเบาะรถยนต์ เบาะเฟอร์นิเจอร์ ต่างๆ ที่นอน
ฟองน้า
2.4.2 โฟมชนิดแข็งตัว (Rigid Foam) ใช้ฉีดเข้าภายในปีเครื่องบิน ท้องเรือผนังห้องเย็น เพื่อเพิ่มความ
แข็งแรง และเป็นฉนวนกันความรร้อน
2.5 โฟลีเอสเตอร์ (Polyester)
เป็นพลาสติกทีนามาใช้งาน ปี ค.ศ. 1974 เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี ทนต่อกรดชนิดอ่อนได้ ไม่ทนต่อสารละลาย
เช่น คาร์บอนเตทตาคลอไรต์ และอะซีโทน นาไปทาเป็นผลิตภัณฑ์ไฟเบอร์กลาส เช่น โครงหลังคารถยนต์
ถังน้าสาเร็จรูป ชิ้นส่วนเครื่องบิน เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ และสีรถยนต์ เป็นต้น
2.6 อีพอกซี (Epoxy)
เป็นพลาสติกที่นามาใช้ในอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1974 เป็นพลาสติกที่รับแรงอัด และแรงกระแทก มีการ
หดตัะวน้อยมาก เป็นฉนวนไฟฟ้า ทนต่อความร้อนได้สูงในรูปขแงเหลว นามาใช้ทากาวสังเคราะห์สาหรับ
ติดโลหะ ซึ่งมีคุณสมบัติเกาะได้ดีมาก และสามารถนามาเป็นไฟเบอร์กลาสชนิดใช้เป็นส่วนของเครื่องบิน
และรถยนต์
ตัวอย่างการนาไปใช้งานของพลาสติก
รูปที่ 7.4 เรือนเสื้อเครื่องระบายอากาศ (Ventilator) ทาจาก PVC ชนิดแข็ง
(แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 25 หน้า 82)
(ก) (ข) (ค)
รูปที่ 7.5 ตัวอย่างชิ้นส่วนทาจาก PVC ชนิดอ่อน (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 25 หน้า 80, 82)
(ก) ปลั๊กไฟฟ้า (ข) ถุงมือป้ องกัน (ค) ท่อสายยาง
รูปที่ 7.6 ตัวอย่างการใช้งานสาหรับโพลีนเอทิลีน (Polyethylene)
(ก) ถังใส่น้ามันเชื้อเพลิง
(ข) แผ่นใสพลาสติก
(ค) กล่องเครื่องมือ
รูปที่ 7.7 โต๊ะเก้าอี้ทาจากโพลีเอสเตอร์
รูปที่ 7.8 ถุงเท้าทาจากไนลอน
รูปที่ 7.9 มือถือเครื่องใช้ไฟฟ้าทาจากพีโนลิค รูปที่ 7.10 ผลิตภัณฑ์ทาจากเมลามีน
รูปที่ 7.11 หน้าปัดนาฬิการทาจากอะครีลิค
การขึ้นรูปพลาสติก
ผลิตภัณฑ์พลาสติกจะขึ้นรูปโดยไม่มีการตัดเฉือน (Non-Cutting), พลาสติกอ่อน (Thermoplastic) เช่น อ่างน้า
ขวดพาลาสติกต่างๆ จะผลิตโดยการหล่อแบบฉีด (Injection Mould) เป่าในแบบขึ้นรูป และวัสดุกึ่งสาเร็จรูป เช่น เป็นแผ่น,
แผ่นบาง (Foil), รูปพรรณต่างๆ และท่อ จะผลิตโดยการอัดรีด (Extrusion Press) และรีดม้วนหลายครั้ง (Calendering) ขึ้นรูป
ได้
รูปที่ 7.12 เครื่องรีดแผ่นพลาสติกให้บาง (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 20)
รูปที่7.13 เครื่องอัดรีดพลาสติก (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 17)
ก. กรรมวิธีผลิตแบบคาเลนเดอริ่ง (Calendering)
พลาสติกแผ่นบาง (Foil) จะผลิตโดยวิธีนี้ โดยชุดคาเลนเดอริ่งนี้จะเป้ นลูกกลิ้ง 3-4 ลูก ที่ถูกทาให้ร้อน เพื่อจะ
ได้รีดพลาสติก PVC ให้เป็นแผ่นบางลงได้ตามขนาดที่ต้องการ
ข. กรรมวิธีแบบอัดรีด (Extrusion Press)
สามารถผลิตพลาสติกรูปพรรณ (Profile) แท่ง ท่อ แผ่นบางๆ การผลิตกระทาโดยมีเกลียวตัวหนอนที่หนุน
อยู่หมุนขับพลาสติกผงจากกรวยผ่านกระบอกสูบที่ถูกทาให้ร้อน เพื่อให้พลาสติกละลายแล้วอัดเคลื่อนด้วย
เกลียวไปยังรูด้านซ้ายสุด ผ่านปากนาร่อง (Orifice) จะมีรูปร่างคล้ายรูปพรรณที่ต้องการผลิต
รูปที่ 7.14 แผนภูมิที่มาของพลาสติกอ่อน 5 ประเภท (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 17)
รูปที่ 7.15 เครื่องฉีดพลาสติกแบบใช้เกลียวตัวหนอน
ตารางที่ 7.1 แสดงข้อแตกต่างของพลาสติกอ่อนแต่ละชนิด
รูปที่ 7.16 ตัวอย่างการเกิดโมเลกุลใหญ่โดยผ่านการโพลีนเมอรไรเซชั่น (Polymerization)
3. ยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubber)
เนื่องจากในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ยางธรรมชาติเกิดขาดแคลนอย่างมาก ทั้งในยุโรป และอเมริการจึงมีการ
ผลิตยางสังเคราะห์ขึ้นมาใช้งานมากขึ้น ซึ่งผลิตขึ้นมาจากผลิตภัณฑ์ปิโตเลียม และได้จากการทาปฏิกิริยากันของ
สารเคมี ซึ่งยางสังเคราะห์บางชนิดก็มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับยางธรรมชาติ บางชนิดมีคุณสมบัติเฉพาะ เช่น เนื้อ
เหนียว ยืดหยุ่น ทนต่อสารเคมี ทนต่ออุณหภูมิ และน้ามันแร่ ยางสังเคราะห์ที่สาคัญ คือ
3.1 ยาง GR-S (Government Rubber-Styrene)
ผลิตขึ้นจากถ่านหิน หินปูน เกลือ และน้า มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับยางธรรมชาติมากก่อนที่จะนาไปใช้งาน
ต้องผ่านกรรมวิธี Valcanization เป็นยางที่นาไปผลิตเป็นยางรถยนต์
3.2 ยางบูน่า (Buna Rubber) เป็นยางสังเคราะห์ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
3.2.1 Buna-S มีคุณสมบัติเนื้อแน่น แก๊สซึมผ่านได้ยาก ทนต่อการสึกหรอ ทนต่อแรงดัน และการเสียดสี
ใช้ทาสายพานลาเลียง
3.2.2 Buna-N มีคุณสมบัติทนต่อสารเคมีต่างๆ และน้ามันแร่ ใช้ทาท่อส่งน้ามันเครื่องในเครื่องยนต์ และ
ท่อไฮดรอลิก
รูปที่ 7.17 การนายางสังเคราะห็มาผลิตสายพาน
3.3 ยางบูทิล (Butyl Rubber)
เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากปิโตรเลียม มีคุณสมบัติยืดหยุ่น รับแรงกระแทก เนื้อแน่น แก๊ส หรือ ของเหลวซึม
ผ่านได้ยาก ทนต่อแรงดัน ใช้ทายางในรถยนต์ ท่อในระบบไฮดรอลิก
3.4 ยางไทโอโค (Thioko Rubber)
เป็นยางสังเคราะห์ของสารอินทรีย์โพลีซัลไฟต์ มีคุณสมบัติทนทานต่อน้ามันแร่ และสารเคมี ใช้ทาท่อระบบ
น้ามันในเครื่องยนต์
3.5 ยางซิลิโคน (Silicone Rubber)
เป็นยางสังเคราะห์ที่ผลิตได้จากซิลิโคน ออกซิเจน ไฮโดรเจน และคาร์บอน มีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้ดีแม่อยู่
ในอุณหภูมิสูง หรือต่า ทนสารละลายกรด และน้ามันแร่ ใช้ทาท่อยางแผ่นประเก็น เพื่อป้ องกันกันรั่วซึมของ
น้ามัน ฉนวนหุ้มสายเคเบิล
3.6 ยางไนตริล
เป็นยางสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติทนต่อน้ามัน นามาใช้ทาท่อยางน้ามัน ประเก็น
รูปที่ 7.18 ยางรถยนต์ทาจากยางบูนา เอส
ตารางที่ 7.2 เปรียบเทียบคุณสมบัติของยางธรรมชาติกับยางเทียม
ข้อควรระวังในการเก็บรักษายางธรรมชาติและยางเทียม
1. เก็บไว้ให้ห่างจากเปลวไฟ หรือความร้อน
2. เก็บยางไม่ให้กระทบกับสารทองแดง และสารแมงกานีส ยางจะแตกตัวเสื่อมคุณภาพ
3. คลุกผิวยางด้วยแป้ ง เมื่อต้องการเก็บยางนานๆ
4. ควรเก็บไว้ในอุณหภูมิปกติ (20 – 25 C) และมีอากาศถ่ายเทได้ดี
5. เก็บไว้ให้ห่างจากน้ามันแร่ เช่น น้ามันเบนซิน น้ามันก๊าด เพราะ น้ามันทาให้ยางบวม
6. ควรเก็บยางให้ห่างจากสารเคมีต่างๆ เพราะอาจทาให้ยางเสื่อมคุณภาพ
4. สี (paint) เป็นวัสดุที่สาคัญไม่น้อยในวงงานอุตสากรรม และการก่อสร้าง เพื่อให้ดูสวยงาม
แลลดการกัดกร่อน ทนต่อแดดและฝน ป้ องกันการทาลาสยของแมลงบางชนิด เป็นต้นสีที่ทา หรือพ่นลงไปบนวัสดุ
ใดๆ จะปรากฏเป็นฟิล์มเคลือบทับผิวนั้นๆ ไว้เป้ นการปกปิดผิวมิให้กระทบกับอากาศ และติดผิวงานแนบสนิทไม่หลุด
หรือร่อนได้ง่าย
สีแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้4 ประเภท คือ
ก. สีน้ามัน (Oil Paint)
ข. สีเคลือก (Enamel Paint)
ค. สีพลาสติกรหรือสีน้า (Water or Plastic Emulsion Paint)
ง. สีน้าปูน (Thined-Hydrated Lines)
สีต่างประเภทกันจะมีสารต่างๆ ในเนื้อของสีต่างกัน ในการใช้งานจะใช้ผสมสลับกันไปสลับกันมาไม่ได้
ตามใจชอบ จึงควรรู้จักการใช้สีดังนี้
1. สีน้ามัน เป้ นสีที่รู้จักใช้งานกันมานานแล้ว ทา และพ่นได้ง่ายบนพื้นผิวทั้งที่เป็นโลหะ และอโลหะ สีมี
ส่วนประกอบต่างดังนี้
1.1 ผงสีพื้น (Base) เป็นผงวัสดุที่ทาให้เนื้อสีเกาะติดแน่นกับผิวงานโดยทั่วไปจะเป็นผงตะกั่วขาว
ตะกั่วแดง สังกะสีออกไซด์ เหล็กออกไซด์ ฯลฯ
1.2 ผงแม่สี (Pigment) เป็นผงสีที่จะไปเคลือบผงพื้นสีให้เกิดสีตามต้องการ ส่วนใหญ่ได้มาจากธาตุ
ต่างๆ เช่น สีดาได้จาก กราฟไฟต์ สีเขียวได้จาก คอปเปอร์ซัลเฟต สีน้าเงินได้จาก โคบอลต์ ฯลฯ
1.3 น้ายาซักแห้ง (Direr) เป็นน้ายาที่ช่วยให้น้ายาละลายสีระเหย หรือแห้งเร็วขึ้น เพราะน้ายาละลายสี
นั้นแห้งช้ามาก ส่วนมากทามาจากสารละลายตะกั่วแดง แมงกานีสไดออกไซด์ หรือสังกะสีซัลเฟต
ฯลฯ
สีน้ามันที่มีจาหน่ายในท้องตลาดมีลักษณะใช้งานต่างกันไปทั้งเป็นสีรองพื้น และสีจริง(สีสาเร็จ) เช่น สี
รองพื้น สีอลูมิเนียม สียาง สีทาท้องเรือ ฯลฯ
2. สีเคลือบ เป็นสีที่ผสมผงแม่สีกับน้ามันวาร์นิช มีความคงทนต่อรังสีอุลตราไวโอเลตเป็น
พิเศษ ใช้สาหรับพ่นสีรถยนต์ มีทั้งชนิดแห้งเร็ว และแห้งช้า บางชนิดจะต้องอบด้วยอุณหภูมิสูงหลังการพ่น เพื่อให้สีติดแน่น
กับโลหะ บางชนิดจะมีโลหะที่บดเป็นผงละเอียดผสมอยู่ด้วยเพื่อทาให้สีนั้นมีความแวววาว ที่มีวางขายตามท้องตลาดในชื่อที่
เรียกกันโดยทั่วไปว่า “สีเมตัลลิค” (Metalic Paint) ซึ่งสีชนิดนี้มีความไวไฟมาก ในขณะที่ผสม หรือพ่นสีประเภทนี้ ห้ามไม่ให้
สูบบุหรี่ หรือปฏิบัติงานเชื่อมโลหะอยู่ในบริเวณเดียวกัน
วิธีผสมชนิดนี้ให้ลดความเข้มลงมาด้วยน้ามันสน หรือน้ามันก๊าดชนิดไม่มีกลิ่น และมีจุดเดือดประมาณ 130-160 องศา
เซลเซียส
3. สีพลาสติก หรือสีน้า เป็นสีผสมพลาสติกชนิดโพลีไวนีอาซีเตต หรือพีวีเอ (Polyvinyl-acetate-PVA)
ซึ่งละลายได้ในน้า มีคุณสมบัติเหมือนกาว เกาะติดวัสดุต่างๆ ที่ไม่ใช่โลหะได้ดีมาก จะแข็งตัวภายใน 2 ชั่วโมง การผสมสี
หรือการทาให้เจือจากทาได้ด้วยน้า และล้างออกได้ด้วยน้าจะใช้ทา หรือพ่นก็ได้มีใช้ทั้งชนิดใช้ภายใน และภายนอกอาคาร
4. สีน้าปูน เป็นสีที่ทามาจากปูนขาวน้าผสมกาว และน้าข้าวทิ้งไว้ค้างคืน เพื่อให้ส่วนผสม
ละลายเข้ากันจึงนามาใช้งาน เป็นสีที่ใช้สาหรับทากาแพงในสมัยโบราณ มีราคาถูก และทาได้ง่ายในปัจจุบันมีการผสมสีลงไป
ด้วย ส่วนมากผู้ผลิตจะผลิตออกมาเป็นผงบรรจุใส่ถังส่งออกจาหน่ายในท้องตลาด เวลาใช้จึงนามาผสมน้า และสีที่ต้องการ
องค์ประกอบของสี
ผงสีหรือเนื้อสี (Pigment) คือ ส่วนเป็นเนื้อสีทาให้เกิดสีต่างๆ และเป็นส่วนที่ติดกับชิ้นงาน เช่น สีเลบ ตะกั่ว
แดง ผงสีหรือเนื้อสีได้จาก
1. สีแดง ได้จาก ตะกั่วแดง สังกะสีออกไซด์ของเหล็ก และดินแดง
2. สีน้าเงิน ได้จาก โคบอลต์
3. สีดา ได้จาก กราฟไฟต์
4. สีเขียว ได้จาก คอปเปอร์ซัลเฟต
5. สีขาว ได้จากไทเทเนียมไดออกไซด์ สังกะสีออกไซด์ และตะกั่วขาว
6. สีเหลือง ได้จาก ผงสังกะสีเหลือง และสังกะสีโคเมท
รูปที่ 7.19 ตัวอย่างเนื้อสีหลายสี
การแบ่งประเภทของสี
1. แบ่งประเภทตามการระเหย
1.1 สีแห้งเร็ว ใช้เวลา 10-15 นาที การแห้งจะแห้งจากข้างนอก สีชนิดนี้ถ้าต้องการให้ขึ้นเงาต้องขัด
1.2 สีแห้งช้า จะแห้งโดยการระเหย และการอบ ใช้เวลา 18-24 ชั่วโมง แห้งแล้วจะเงางามไม่ต้องขัด
2. แบ่งประเภทตามงาน
2.1 สีสาหรับตกแต่งอาคารบ้านเรือน เช่นพลาสติก ใช้ทาผนังปูน ฝ้า เพดาน สีน้ามันใช้ทาประตู
หน้าต่างที่เป็นเหล็ก
2.2 สีสาหรับพ่นรถยนต์ เช่น สีแลคเกอร์ส่วนใหญ่จะใช้สีแลคเกอร์อีนาเมล ใช้พ่นรถทั้งคัน หรือ
บางส่วน เครื่องจักรกล
2.3 สีสาหรับใช้ในงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะใช้พ่อนอุปกณ์ที่ใช้ในโรงงาน เช่น ตู้เย็น ตู้เก็บ
เอกสารส่วนใหญ่จะใช้สีเคลือบจะต้องนาไปอบที่อุณภูมิ 130-160
2.4 สีที่ทนต่อความร้อนและการกัดกร่อน ส่วนใหญ่ใช้สีอะลูมิเนียม ทาท่อส่งน้ามัน ท่อน้าร้อน
นอกจากนั้นยังเป็นสีที่ทาก้นเรือ
รูปที่ 7.20 สีพลาสติกใช้ทาตึก รูปที่ 7.21 รถยนต์พ่นด้วยสีแลคเกอร์
การทาสีและพ่นสี
เพื่อให้เกิดความสวยงาม และคงทน การทาสี และพ่นสีจะต้องทาด้วยความประณีตเรียบร้อยไม่รีบร้อน โดย
เริ่มทาให้ดีตั้งแต่การเตรียมพื้นผิวงาน คือ การทาความสะอาดผิวงานให้เรียบร้อยก่อนทาสี หรือพ่นสี ทาได้ 3 วิธี คือ
1. โดยแปรงลวด
2. โดยใช้กระดาษทราย
3. โดยใช้ทรายพ่น
รูปที่ 7.22 ชั้นสีสาเร็จ
ทาสีรองพื้น เพื่อป้ องกันสนิม ทาให้สีเกาะยึดแน่นกับผิวงานได้ดี
ทาสีอันเดอร์ไดต์ เพื่อ
- ปกป้องภาวะภายนอก
- ป้ องกันสารเคมีจากพื้นผิวงานออกฤทธิ์กันสีทับหน้า
- เพิ่มแรงเกาะยึดระหว่างสีที่ทา หรือสีที่ติดกับชิ้นงาน
ทา หรือพ่นสีทับหน้า เพื่อความสวยงาม และป้ องกันความชื้น
ลาดับปฏิบัติ
วัสดุที่เป็นคอนกรีต
- ปัดฝุ่นด้วยแปรง
- ทาสีลงไป
- ถ้าคอนกรีตที่เคยทาสีมาก่อนก็ต้องขูดสีเดิมออกก่อน แล้วค่อยทาสีตามชั้นตอนแรก
5. กาว (วัสดุประสาน Adhesives)
หมายถึง วัสดุที่ใช้วัตถุ 2 ชิ้นติดกัน วัสดุประสานมี 2 ประเภท คือ วัสดุประสานธรรมชาติ (Natural Adhesives) และ
วัสดุประสานสังเคราะห์ (Synthetic Resin Adhesives) ประโยชน์ของการใช้วัสดุประสาน คือ
1. การยึดประสานจะทาให้ผิววัสดุเรียบ สวยงาม เช่น เครื่องดนตรีพวก กีตาร์ ไวโอลิน
2. สามารถยึดประสานวัสดุต่างชนิดกันได้เช่น หลอดไฟฟ้าแสงสว่าง
3. สามารถทาการยึดประสานวัสดุที่มีขนาดเล็กมากๆ ได้เช่น ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
4. วัสดุบางชนิด ไม่สามารถยึดประสานด้วยวิธีอื่นได้เช่น วัสดุพวกพลาสติก แก้ว ยาง
1. วัสดุประสานธรรมชาติ (Natural Adhesives)
หมายถึง การที่ผลิตขึ้นจากวัสดุธรรมชาติ ซึ่งอาจจะได้จาก พืช หรือสัตว์เช่น
1.1 กาวพืช (Vegetable Glue) เป็นกาวที่ผลิตจากแป้ ง มีราคาถูก มีความแข็งแรงในการประสานไม่มากนัก
โดยทั่วไปแล้วนามาใช้ในงานติดประสานกระดาษ
1.2 กาวยาง(Rubber Glue) เป็นกาวที่ผลิตจากยางธรรมชาติกับสารละลาย (น้ามันเบนซิน) มีความแข็แรในการ
ยึดประสานดี โดยทั่วไปแล้วนามาใช้ติดประสานวัสดุที่เป็นกระดาษ หนังและยาง
1.3 กาวเคซีน (Casein Glue)เป็นกาวที่ได้จากโปรตีนจากกากถั่ว มีความแข็งแรงในการประสานได้ดี นามาใช้
งานในการติดประสานไม้ภายในอาคารที่ไม่ถูกความชื้น และงานกระดาษ
1.4 กาวหนัง เป็นกาวที่ผลิตจากกระดูก และหนังสัตว์โดยนามาล้างทาความสะอาด แล้วนามาเคี่ยวจนกาวข้น
นามาใช้งานทากระดาษทราย ในปัจจุบันกาวหนังไม่ค่อยนิยามนามาใช้งาน เนื่องจากมีกลิ่นเหม็น มีความ
แข็งแรงในการติดประสานไม่ดี
2. วัสดุประสานสังเคราะห์ (Synthetic Resin Adhesives)
หมายถึง กาวที่ได้จากสารเคมีที่สังเคราะห์ให้มีคุณสมบัติในการยึดประสานวัตถุต่างๆ ในปัจจุบันกาวสังเคราะห์
ได้รับความนิยมในการนามาใช้งานอย่างมาก เพราะมีความสะดวกในการใช้งานมีความแข็งแรงในการยึด
ประสานได้ดี ทนต่ออุณหภูมิ ทนต่อความชื้น วัสดุประสานสังเคราะห์ สามารถแบ่งออกได้2 ประเภท คือ
2.1 กาวสังเคราะห์ พวกเทอร์โมเซตติ้ง (Thermoseting Type)
1. กาวพอกซี (Epoxy) โดยทั่วไปแล้วกาวชนิดนี้จะผลิตมา 2 ส่วน คือเนั้อกาวที่ใช้ใน
การติดประสาน และตัวทาปฏิกิริยาให้แข็งตัว โดยแต่ละส่วนจะบรรจุอยู่ในหลอด เมื่อต้องการใช้งานก็บีบเนื้อกาว และตัวทา
ปฏิกิริยาออกจากหลอด แล้วนามาผสมกัน แล้วผสมให้ทั้งสองส่วนเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นนาไปติดประสานวัสดุที่
ต้องการจะให้ติดกัน เมื่อผสมกาวแล้วควรใช้ภายใน 10-15 นาที เพราะกาวจะเริ่มแข็งตัว กาวอีพอกซีเป็นกาวที่มีคุณสมบัติใน
การติดประสานดีเยี่ยม มีความแข็งแรงในการยึดประสานสูงมาก มีการขยายตัว และหดตัวน้อยมาก ทนต่อความชื้นได้ดี ทน
ต่ออุณหภูมิได้สูง นาไปใช้งานอุตสาหกรรมอากาศยาน และอุตสาหกรรมทั่วไป
2. กาวฟิโนลิก (Phenulice) กาวชนิดนี้จะผสมอยู่ในสารละลายเมื่อเรานากาวฟิโนลิกไป
ติดบนวัสดุที่ทากาวแล้วนี้มาติดเข้าด้วยกัน กาวชนิดนี้นามาใช้กันมากในอุตสาหกรรมไม้อัด
3. กาวซิลิโคน (Sillicone) เป็นกาวที่ทนต่อความชื้น และอุณหภูมิสูงได้ดี ใช้ในงาน
อุตสาหกรรมอุปกรณ์ไฟฟ้า
4. กาวรีซอร์ซินัลเรซิน (Resorcinal Resin) เป็นกาวที่มีคุณสมบัติติดไม้ได้ดีมาก ใช้ใน
การผลิตไม้ที่ต้องทนต่ออุณหภูมิและความชื้น
รูปที่ 7.23 การใช้กาวยึดปรสานขั้วหลอดไฟฟ้า
2.2 กาวสังเคราะห์พวกเทอร์โมพลบาสติก (Thermoplastic Type)
1. เซลลูโลสดีริเวทีฟ (Cellulose Derivatives) มีคุณสมบัติทนความชื้นได้ดี เหมาะสาหรับ
ใช้งานทั่วไปในงานบ้าน ใช้ติดไม้กระดาษ
2. อะครีลิก (Acrylics) เป็นกาวโปร่งใส เหมาะสาหรับใช้งานติดวัสดุพวกกระจกเซรามิก
กาวพิเศษ เป็นกาวที่ใช้สาหรับงานเฉพาะอบ่าง มีอยู่มากมายหลายชนิด เช่น กาวติดพลาสติก กาวติดกระจก กาวติดโลหะ บาง
ชนิดกันน้าได้บางชนิดทนความร้อนได้ดีสามารถติดท่อไอเสียรถยนต์ได้กาวพิเศษที่มีจาหน่ายในท้องตลาด ได้แก่
ก. อินสะแตนท์ (Instant Glue) เป็นกาวชนิดใสใช้งานได้สารพัดประโยชน์แห้งเร็ว สามารถติดแก้ว
กระเบื้อง โลหะ ยาง ไฟเบอร์กล๊าส ไม่เหมาะกับงานที่ต้องแช่น้า หรือตากแดด หรือวัสดุที่มีรูพรุนมากๆ
ข. พลาสติก กลู (Plastic Glue) ผลิตขึ้นมาใช้กับพลาสติกโดยเฉพาะ สามารถติดพลาสติกเข้ากับโลหะ ไม้
หรือแก้วได้
ค. ซุปเปอร์ กลู (Super Gule-Super Cement) เป็นกาวที่มีความแข็งแรงสูงมาก ติดแน่น และทนทาน เวลา
ใช้ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ หากเข้าตาจะต้องรีบไปหาแพทย์ทันทีพร้อมกับหลอดกาวนั้นๆ
คุณลักษณะของกาว
ประโยชน์ของกาว
- การติกตาวทาให้วัสดุเรียบ ไม่ต้องมีนอต หรือตะปูโผล่มาให้เห็น และทาให้ดูสวยงาม
- สามารถติดวัสดุต่างชนิดกันได้
- มีเสียงดังน้อยเมื่อรับแรงกระแทก หรือสั้น
- ทาให้การผลิต และออกแบบในงานอุตสาหกรรมง่าย
- สามารถติดวัสดุที่เปราะบาง หรือมีขนาดเล็กได้ดี
ข้อเสียของกาว
เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้นอต สกรู ตะปู ที่ใช้ยึด
- เมื่อวัสดุติดกาวแล้วจะแกะออกมาเพื่อประกอบใหม่ทาได้ลาบากมาก
- ทนแรงดึงได้ไม่สูง
- ทาความสะอาดผิววัสดุก่อนติดกาวทาได้ลาบาก เพราะวัสดุแต่ละชนิดใช้วิธีการไม่เหมือนกัน
รูปที่ 7.24 กาวหลอดมีทั้งกาวน้า กาวอีพอกซี
วิธีทากาว
1. เอาหนังสัตว์มาแช่ในน้าสะอาดให้อ่อนตัว เพื่อให้ชะล้างของสกปรกรวมทั้งเกลือให้หมด
2. เอาหนังที่ล้างแล้วแช่ลงในถังน้าปูนขาว เพื่อให้หนังพองตัวและอ่อนตัวพอที่ละลายเป็นกาว
ได้ง่าย ระยะเวลาที่ใช้ในการแช่หนังในน้าปูนขาวนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของหนังและความร้อน ถ้าแช่ในน้าปูนขาวน้อย
ไปจะต้องใช้เวลาและความร้อนมากในการละลาย แต่ถ้าแช่มากเกินไปหนังก็จะละลายไปเสียก่อน เพื่อเป็นการประหยัดเวลาใน
การแช่ให้เร็วขึ้นควรตัดหนังออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ
3. เอาหนังออกจากที่แช่น้าปูนขาวลงล้างด้วยน้าสะอาดหมดด่าง ซึ่งอาจตรวจดูได้โดยใช้กระดาษลิตมัส ถ้ามีด่างอยู่บ้าง
เล็กน้อยก็อาจฆ่าได้ด้วยกรดอ่อน ๆ เช่น กรดเกลือ กรดซัลฟิวริกหรือสารส้ม
4. เมื่อล้างสะอาดแล้วก็เอาหนังไปเคี่ยวกับน้า ข้อสังเกตในข้อนี้ คือ การต้องระวังอย่าใช้ความร้อนสูงเกินไป กาวที่ได้จะมี
คุณภาพต่า กาวที่ดีควรเคี่ยวในระยะเลาสั้นและความร้อนต่า การเคี่ยวอาจทาได้ 2 วิธี คือ
ก. เคี่ยวในถังเปิด ( Open Tank ) ตัวถังทาด้วยไม้หรือเหล็ก มีท่อไอน้าขดอยู่ภายใจ เอาหนังใส่เข้าไปในถังแล้วเติมน้าให้
พอดี เปิดไดน้าผ่านท่อจนกระทั่งอุณหภูมิในถุงต้มไปประมาณ 80 องศา ใช้ไม้กวนเสมอ ๆ จนกระทั่งได้น้าข้น ๆ จึงลดอุณหภูมิ
และตักไขมันที่ลอยอยู่ข้างบนอก เป็นก๊อกเอาน้าที่อยู่ก้นถังออก ส่วนกากที่เหลือต้มต่อไปอีก 2-3 ครั้ง
ข. เคี่ยวในถังปิด ( Presseure Tank ) โดยมากใช้ต้มกาวจากกระดูก การต้มใช้ความดัน
10-20 บรรยากาศ
5. เมื่อละลายเป็นน้ากาวใส่ในข้อ 4 แล้วขั้นต่อไปทาให้งวดเข้า ซึ่งควรใช้หม้อต้มระเหยแบบสุญญากาศ และใส่ยากันเสียลง
ไป เช่น ซิงค์ซัลเฟต เมื่อน้ากาวใสงวดขันได้ที่ก็เทใส่แบบสาหรับทาเป็นกาวแผ่น
6. ถ้าน้ากาวขุ่นจะทาให้ใสโดยใช้สารส้มหรือไข่ขาวเติมลงไปเพื่อให้สิ่งสกปรกรวมตัวกันเป็นตะกอนแล้วกรองออก
7. กาวที่อยู่ในแบบข้อ 5 แล้วทาให้แห้งได้โดยใช้กระแสลมร้อนเป่า แต่ต้องระวังถ้าลมร้อนมากเกินไปแทรที่กาวจะแห้ง
กลับทาให้กาวละลายและเยิ้มเหลวไปอีก
ข้อควรปฏิบัติในการใช้กาว
1. ผิวหน้าที่จะติดกาวต้องเรียบ สะอาด และแห้ง
2. การทากาวควรทาให้เรียบและทาบาง ๆ
3. การใช้กาวชนิดแห้งเร็ว ควรลองทาบริเวณที่จะติดก่อนเพื่อความแน่ใจ
4. กาวชนิดแห้งช้า ควรต้องมีอุปกรณ์ยึดวัสดุให้ติดแน่นตลอดเวลาที่กาวยังไม่แห้ง
5. ต้องเลือกชนิดของกาวให้เหมาะสมกับวัสดุ
6. กาวบางชนิดเป็นอันตราย ไม่ควรใช้มือจับหรือสูดดมกลิ่น

7 2

  • 1. 7.2 วัสดุสังเคราะห์ชนิดต่างๆ 7.2.1 พลาสติก (Plastic) พลาสติก เป็นวัสดุสังเคราะห์ และเป็นวัสดุช่างที่เรารู้จัก และนามาใช้งานในอุตสาหกรรมต่างๆ อย่างกว้างขวาง เนื่องจากพลาสติกมีคุณสมบัติบางอย่างเป็นเลิศ เช่น ไม่เกิดการกัดกร่อน แข็งแรง เป็นฉนวนไฟฟ้ า ทนต่อสารเคมี เหนียว พลาสติกส่วนใหญ่ได้จากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และครอรีน ซึ่งได้มา จากผลพลอยได้จากการกลั่นน้ามันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และยังมีพลาสติกบางอย่างที่ได้จากผลิตผลทางการเกษตร พลาสติกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เทอร์โมพลาสติก หมายถึง พลาสติกที่นาไปทาผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ต่างๆ แล้วเมื่อนาไปใช้งานแล้วเกิดชารุด หมดสภาพการใช้ งานแล้วสามารถนากลับมาหลอมละลลายขึ้นเป็นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้พลาสติกชนิดนี้มีอยู่หลายชนิดคือ 1.1 เซลลูโลซิก (Cellulosics) เป็นพลาสติกที่ได้จากเยื่อเซลลูโลส(Cellulose Fiber) ฝ่าย (Cotton) และพืชชนิดอื่นๆ เป็นพลาสติกที่มีความ แข็งแรง ทนความร้อน เป็นฉนวนไฟฟ้า เซลลูโลซิกที่นามาใช้งานมีหลายชนิด คือ 1.1.1 เซลลูโลสไนเตรด (Cellulose Nitrate) ค้นพบและนามาใช้งานในปี ค.ศ. 1869 ใช้ทาลูกบิลเลียด ฟัน ปลอม ส้นรองเท้า ลูกปิงปอง น้ายาเคลือบผ้า (Fabric Coating) 1.1.2 เซลลูโลสอะซีเทต (Cellulose Acetate) ค้นพบในปี ค.ศ. 1927 ใช้ทาเทปบันทึกเสียง ฟิล์มถ่ายภาพ และของเด็กเล่น 1.1.3 เซลลูโลสอะซีเทต บิวทะเรต (Cellulose Acetate Butyrate) ค้นพบในปี ค.ศ. 1938 ใช้ทาพวงมาลัย รถยนต์ตู้วิทยุ ด้ามเครื่องมือ 1.2 อะซีทัล (Acetals) เป็นพลาสติกที่ค้พบในปี ค.ศ. 1906 เป็นพลาสติกที่แข็งแรง ทนทานรับแรงได้ดี ลื่นคล้ายเทียนไข นามาใช้งานด้านวิศวกรรม ทาชิ้นส่วนที่ต้องเคลื่อนไหวต่างๆ ชิ้นส่วนของเครื่องจักรกล เครื่องยนต์ต่างๆ เช่น เฟือง แบริ่ง บูช ลูกกลิ้ง ซึ่งจะมีผลทาให้ เครื่องจักรกล ทางานได้นุ่มนวล และเสียงเงียบลง ลดปัญหาเกี่ยวกับการหล่อลื่นชิ้นส่วน รูปที่ 7.1 การนาอะซีทัลมาผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ
  • 2. 1.3 โพลิเอมาย (Polyamides) พลาสติกชนิดนี้อาจเรียกว่า ไนลอน (Nylon) ค้นพบและนามาใช้งานอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1933 เป็นพลาสติก ที่น้าหนักเบา รับแรงอัดได้ดี ทนความร้อน ทนการขีดข่วน เป็นฉนวนไฟฟ้า นามาทาเป็นเส้นใย ใช้เป็นถุงเท้า เอ็นตกปลา ขน แปรงสีฟัน 1.4 โพลิโอเลฟิน (Polyolefins) ที่นามาใช้งานมีหลายชนิด คือ 1.4.1โพลิเอทิลีน (Polyethylene) ค้นพบในปี ค.ศ. 1933 มีลักษณะคล้ายขี้ผึ้งน้าไม่เกาะติดผิว เป็น ฉนวนไฟฟ้า เป็นพลาสติกที่มีปริมาณการนามาใช้งานมากที่สุดในประเภทเทอร์โมพลาสติก นาไปใช้ทาถุงบรรจุอาหาร ของเด็กเล่นพลาสติก และยังนามาใช้วัสดุเคลือบโลหะเพื่อป้ องกันสนิม เช่น ชั้นวางของต่างๆ เป็นต้น 1.4.2โพลิโพรพิลิน (Polypropylene) ค้นพบในปี ค.ศ. 1957 มีคุณสมบัติคล้ายโพลิเอทิน แต่มีความแข็งแรง ทนทานมากกว่า นามาใช้ทาถุงบรรจุอาหารชนิดร้อน แถบพลาสติกมัดของ เชือกปอพลาสติก กล่องแบตเตอรี่ หมวกกันน็อก 1.5 ไวนิล (Vinyl) พลาสติกชนิดนี้ค้นพบ และนามาใช้งานในปี ค.ศ. 1933 ไวนิลที่นามาใช้งานมีหลายชนิดคือ 1.5.1 Polyvinyl Acetate (PVA) เป็นพลาสติกที่นามาใช้ทาสี เรียกว่า สีน้าพลาสติก และนามาทากาว เรียกว่า Latex 1.5.2 Polyvinyl Choloride (PVC) ทนต่อสารเคมี เหนียวทนทาน นามาทาท่อน้า และทาฉนวนหุ้ม สายไฟฟ้า 1.5.3 Polyvinyl Choloride Acetate เป็นพลาสติกที่อ่อนเนือ้เหนียว ฉีกขาดยาก นามาทาพลาสติกแผ่นผืน เป็นวัสดุกันฝน 1.6 อะครีลิก (Acrylics) เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานในอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1936 เป็นพลาสติกที่มีเนื้อใสทนต่อแสง อุตราไวโอ เลต เป็นฉนวนไฟฟ้า นาไปทาป้ ายโฆษณาต่างๆ เลนส์แว่นตา เฟอร์นิเจอร์ พลาสติกสาหรับอัดกรอบพระ เป็นต้น 1.7 โพลิสไตรีน (Polystyrene) เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานในอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1938 เป็นพลาสติกที่ น้าหนักเบาเป็นฉนวนไฟฟ้ า ทนต่อความร้อนได้ดีพอสมควร มีเนื้อใส นามาใช้ทากล่องบรรจุต่างๆ เช่น กล่องลูกกวาด ไม้ บรรทัด ตะเกียบ ของเด็กเล่นต่างๆ และนามาใช้ผลิตเป็นโฟม ใช้ทากล่องบรรจุกันกระแทก เป็นฉนวนกันความร้อน กันเสียง และใช้ตัดเป็นตัวหนังสือสาหรับตกแต่ง เป็นต้น 1.8 ฟลูออโรคาร์บอน (Fluorocarbons) เป็นพลาสติกที่คิดค้นขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 1943 เป็นพลาสติกที่มีคุณสมบัติ คือ เป็นฉนวนเคลือบภายในภาชนะ เช่น หม้อกระทะ เพื่อป้ องกันการติดผิวภาชนะ ทาปะเก็น (Gasket) สาหรับเครื่องจักร เครื่องยนต์ ทาแหวนลูกสูบ (Piston Ring) วาล์ว (Valve) 1.9โพลินคาร์บอเนต (Polycarbonate) เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1957 ซึ่งเป็น พลาสติกใส มีความแข็งแรงมากที่สุด ทนความร้อน และสารเคมีได้ดี นามาใช้ทาขวดนมเด็กชนิดดี เครื่องใช้ไฟฟ้ า ด้าม เครื่องมือต่างๆ แว่นตากันแดด และตัวกล้องถ่ายภาพ เป็นต้น 1.10 ไอโอโนเมอร์ (Ionomer) เป็นพลาสติกที่ค้นพบ และนามาใช้ในปี ค.ศ. 1964 เป็นพลาสติกที่ใส และเหนียว ทนต่อกรด และด่างได้ดี สามารถเชื่อมให้ละลายติดกันด้วยความร้อน นามาใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุต่างๆ เช่น ขวดบรรจุ ของเหลว เครื่องมือ ลูกกอล์ฟ
  • 3. 1.11 โพลิซัลโฟน (Polysulphone) เป็นพลาสติกที่ค้นพบเมื่อ ปี ค.ศ. 1965 เป็นพลาสติกที่ทนความร้อนได้สูง ทนแรงดึงแรงอัดได้สูง ทนต่อกรดด่าง และเป็นฉนวนไฟฟ้ าที่ดีมาก นามาใช้ทาฝาครอบ หรือตัวเครื่อง และอุปกรณ์ไฟฟ้ า และยังนามาทาน้ายาเคลือบผิวไฟฟ้า (Wire Coating) 1.12 โพลิเอสเทอร์ (Polyester) เป็นพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติก ที่มีชื่อเหมือนกับพลาสติก เทอโมเซตติ้งมีความเหนียวทนความร้อนได้ดี แข็งแรงทนทานมาก นาไปใช้ทาชิ้นส่วนของรถยนต์ เช่น กันชน รถยนต์ ขวดบรรจุน้ามันพืช นามาทาเส้นใยทอผ้า เป็นต้น 2. เทอร์โมเชตติ้ง (Thermosetting) เทอร์โมเชตติ้ง เป็นพลาสติกที่ได้รับความร้อนในครั้งแรกจะอ่อนตัว เพื่อสามารถนามาขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ แล้วจะ แข็งตัวคงสภาพ ไม่สามารถนากลับหลอมละลายได้ๆใหม่ พลาสติก ประเภทนี้มีอยู่หลายชนิด คือ 2.1 ฟินอลิก (Phenolic) พลาสติกที่ค้นพบ และนามาใช้งานในปี ค.ศ. 1909 โดยมีชื่อเรียกทางการค้าว่าเบเกอร์ ไล์ท เป็นพลาสติกที่มีความแข็งแกร่งทนต่อความความร้อนได้ดี และเป็นฉนวนไฟฟ้า นาไปใช้ผลิตเป็นอุปกรณ์ทางไฟฟ้า เช่น โครงตู้วิทยุ โครงตู้โทรทัศน์ ฝาครอบจานจ่ายรถยนต์ หูหม้อ หูกระทะไฟฟ้า ด้านจับเตารีด และยังนามาทากาวสังเคราะห์ สาหรับผลิตไม้อัดชนิดกันน้า ภาพที่ 7.2 การนาฟินอลิกมาผลิตจานจ่ายเครื่องยนต์ 2.2อะมิโน (Amino) เป็นพลาสติกที่รับแรงอัด และแรงบิดได้ดีมาก ทนต่ออุณหภูมิได้สูง มีเนื้อแข็งทนต่อการ ขูดขีดได้ดี อะมิโนแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ 2.2.1 ยูเรีย (Urea) นามาใช้งานในปี ค.ศ. 1929 โดยนามาทากาวสังเคราะห์ สาหรับประสานไม้อัดประเภท ต่างๆ เช่น ไม้อัดแผ่นเรียบ ชิบบอร์ด อุปกรณ์ไฟฟ้า และน้ายาเคลือบผิว 2.2.2 เมลามีน (Melamine) นามาใช้งานในปี ค.ศ. 1939 โดยนามาผลิตเป็นภาชนะต่างๆ เช่น จาน ชาม แก้ว ถาด และนามาทาเป็นแผ่นโฟไมก้า (Formica) เป็นต้น 2.3 ซิลิโคน (Silicone) เป็นพลาสติกที่นามาใช้ในอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1930 นามาใช้ทั้งรูปของเหลว และแบบคงรูป ทนต่อความ ร้อน และความเย็นได้ดี เป็นฉนวนไฟฟ้า นามาใช้ทายางขอบกระจก ยางปู พื้นกันลื่น ทาแบบหล่อ ซิลิโคน เหลวลนามาใช้ทาเครื่องสาอาง กาวประสานรอยตู้กระจกเลี้ยงปลา เป็นต้น
  • 4. ภาพที่ 7.3 การนาซิลิโคนมาผลิตแบบหล่อโลหะ 2.4 โพลินยูเรเทน (Polyurethane) เป็นพลาสติกที่นามาใช้งานอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1954 เป็นพลาสติกที่ทนการสึกกร่อนได้ดี เหนียว ทนต่อ สารเคมี เป้ นฉนวนไฟฟ้าที่ดี นามาใช้ทาหนังเทียม น้ายาเคลือบผิววัสดุ และยังนามาทาโฟม ซึ่ง 2 ชนิดคือ 2.4.1 โฟมชนิดอ่อนตัว (Flexible Foam) หรือฟองน้า ใช้ทาเบาะรถยนต์ เบาะเฟอร์นิเจอร์ ต่างๆ ที่นอน ฟองน้า 2.4.2 โฟมชนิดแข็งตัว (Rigid Foam) ใช้ฉีดเข้าภายในปีเครื่องบิน ท้องเรือผนังห้องเย็น เพื่อเพิ่มความ แข็งแรง และเป็นฉนวนกันความรร้อน 2.5 โฟลีเอสเตอร์ (Polyester) เป็นพลาสติกทีนามาใช้งาน ปี ค.ศ. 1974 เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี ทนต่อกรดชนิดอ่อนได้ ไม่ทนต่อสารละลาย เช่น คาร์บอนเตทตาคลอไรต์ และอะซีโทน นาไปทาเป็นผลิตภัณฑ์ไฟเบอร์กลาส เช่น โครงหลังคารถยนต์ ถังน้าสาเร็จรูป ชิ้นส่วนเครื่องบิน เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ และสีรถยนต์ เป็นต้น 2.6 อีพอกซี (Epoxy) เป็นพลาสติกที่นามาใช้ในอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1974 เป็นพลาสติกที่รับแรงอัด และแรงกระแทก มีการ หดตัะวน้อยมาก เป็นฉนวนไฟฟ้า ทนต่อความร้อนได้สูงในรูปขแงเหลว นามาใช้ทากาวสังเคราะห์สาหรับ ติดโลหะ ซึ่งมีคุณสมบัติเกาะได้ดีมาก และสามารถนามาเป็นไฟเบอร์กลาสชนิดใช้เป็นส่วนของเครื่องบิน และรถยนต์ ตัวอย่างการนาไปใช้งานของพลาสติก รูปที่ 7.4 เรือนเสื้อเครื่องระบายอากาศ (Ventilator) ทาจาก PVC ชนิดแข็ง (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 25 หน้า 82)
  • 5. (ก) (ข) (ค) รูปที่ 7.5 ตัวอย่างชิ้นส่วนทาจาก PVC ชนิดอ่อน (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 25 หน้า 80, 82) (ก) ปลั๊กไฟฟ้า (ข) ถุงมือป้ องกัน (ค) ท่อสายยาง รูปที่ 7.6 ตัวอย่างการใช้งานสาหรับโพลีนเอทิลีน (Polyethylene) (ก) ถังใส่น้ามันเชื้อเพลิง (ข) แผ่นใสพลาสติก (ค) กล่องเครื่องมือ รูปที่ 7.7 โต๊ะเก้าอี้ทาจากโพลีเอสเตอร์ รูปที่ 7.8 ถุงเท้าทาจากไนลอน
  • 6. รูปที่ 7.9 มือถือเครื่องใช้ไฟฟ้าทาจากพีโนลิค รูปที่ 7.10 ผลิตภัณฑ์ทาจากเมลามีน รูปที่ 7.11 หน้าปัดนาฬิการทาจากอะครีลิค การขึ้นรูปพลาสติก ผลิตภัณฑ์พลาสติกจะขึ้นรูปโดยไม่มีการตัดเฉือน (Non-Cutting), พลาสติกอ่อน (Thermoplastic) เช่น อ่างน้า ขวดพาลาสติกต่างๆ จะผลิตโดยการหล่อแบบฉีด (Injection Mould) เป่าในแบบขึ้นรูป และวัสดุกึ่งสาเร็จรูป เช่น เป็นแผ่น, แผ่นบาง (Foil), รูปพรรณต่างๆ และท่อ จะผลิตโดยการอัดรีด (Extrusion Press) และรีดม้วนหลายครั้ง (Calendering) ขึ้นรูป ได้ รูปที่ 7.12 เครื่องรีดแผ่นพลาสติกให้บาง (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 20)
  • 7. รูปที่7.13 เครื่องอัดรีดพลาสติก (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 17) ก. กรรมวิธีผลิตแบบคาเลนเดอริ่ง (Calendering) พลาสติกแผ่นบาง (Foil) จะผลิตโดยวิธีนี้ โดยชุดคาเลนเดอริ่งนี้จะเป้ นลูกกลิ้ง 3-4 ลูก ที่ถูกทาให้ร้อน เพื่อจะ ได้รีดพลาสติก PVC ให้เป็นแผ่นบางลงได้ตามขนาดที่ต้องการ ข. กรรมวิธีแบบอัดรีด (Extrusion Press) สามารถผลิตพลาสติกรูปพรรณ (Profile) แท่ง ท่อ แผ่นบางๆ การผลิตกระทาโดยมีเกลียวตัวหนอนที่หนุน อยู่หมุนขับพลาสติกผงจากกรวยผ่านกระบอกสูบที่ถูกทาให้ร้อน เพื่อให้พลาสติกละลายแล้วอัดเคลื่อนด้วย เกลียวไปยังรูด้านซ้ายสุด ผ่านปากนาร่อง (Orifice) จะมีรูปร่างคล้ายรูปพรรณที่ต้องการผลิต รูปที่ 7.14 แผนภูมิที่มาของพลาสติกอ่อน 5 ประเภท (แหล่งที่มา:จากหนังสือในบรรณานุกรมลาดับที่ 17)
  • 8. รูปที่ 7.15 เครื่องฉีดพลาสติกแบบใช้เกลียวตัวหนอน ตารางที่ 7.1 แสดงข้อแตกต่างของพลาสติกอ่อนแต่ละชนิด
  • 9. รูปที่ 7.16 ตัวอย่างการเกิดโมเลกุลใหญ่โดยผ่านการโพลีนเมอรไรเซชั่น (Polymerization) 3. ยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubber) เนื่องจากในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ยางธรรมชาติเกิดขาดแคลนอย่างมาก ทั้งในยุโรป และอเมริการจึงมีการ ผลิตยางสังเคราะห์ขึ้นมาใช้งานมากขึ้น ซึ่งผลิตขึ้นมาจากผลิตภัณฑ์ปิโตเลียม และได้จากการทาปฏิกิริยากันของ สารเคมี ซึ่งยางสังเคราะห์บางชนิดก็มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับยางธรรมชาติ บางชนิดมีคุณสมบัติเฉพาะ เช่น เนื้อ เหนียว ยืดหยุ่น ทนต่อสารเคมี ทนต่ออุณหภูมิ และน้ามันแร่ ยางสังเคราะห์ที่สาคัญ คือ
  • 10. 3.1 ยาง GR-S (Government Rubber-Styrene) ผลิตขึ้นจากถ่านหิน หินปูน เกลือ และน้า มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับยางธรรมชาติมากก่อนที่จะนาไปใช้งาน ต้องผ่านกรรมวิธี Valcanization เป็นยางที่นาไปผลิตเป็นยางรถยนต์ 3.2 ยางบูน่า (Buna Rubber) เป็นยางสังเคราะห์ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 3.2.1 Buna-S มีคุณสมบัติเนื้อแน่น แก๊สซึมผ่านได้ยาก ทนต่อการสึกหรอ ทนต่อแรงดัน และการเสียดสี ใช้ทาสายพานลาเลียง 3.2.2 Buna-N มีคุณสมบัติทนต่อสารเคมีต่างๆ และน้ามันแร่ ใช้ทาท่อส่งน้ามันเครื่องในเครื่องยนต์ และ ท่อไฮดรอลิก รูปที่ 7.17 การนายางสังเคราะห็มาผลิตสายพาน 3.3 ยางบูทิล (Butyl Rubber) เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากปิโตรเลียม มีคุณสมบัติยืดหยุ่น รับแรงกระแทก เนื้อแน่น แก๊ส หรือ ของเหลวซึม ผ่านได้ยาก ทนต่อแรงดัน ใช้ทายางในรถยนต์ ท่อในระบบไฮดรอลิก 3.4 ยางไทโอโค (Thioko Rubber) เป็นยางสังเคราะห์ของสารอินทรีย์โพลีซัลไฟต์ มีคุณสมบัติทนทานต่อน้ามันแร่ และสารเคมี ใช้ทาท่อระบบ น้ามันในเครื่องยนต์ 3.5 ยางซิลิโคน (Silicone Rubber)
  • 11. เป็นยางสังเคราะห์ที่ผลิตได้จากซิลิโคน ออกซิเจน ไฮโดรเจน และคาร์บอน มีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้ดีแม่อยู่ ในอุณหภูมิสูง หรือต่า ทนสารละลายกรด และน้ามันแร่ ใช้ทาท่อยางแผ่นประเก็น เพื่อป้ องกันกันรั่วซึมของ น้ามัน ฉนวนหุ้มสายเคเบิล 3.6 ยางไนตริล เป็นยางสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติทนต่อน้ามัน นามาใช้ทาท่อยางน้ามัน ประเก็น รูปที่ 7.18 ยางรถยนต์ทาจากยางบูนา เอส ตารางที่ 7.2 เปรียบเทียบคุณสมบัติของยางธรรมชาติกับยางเทียม ข้อควรระวังในการเก็บรักษายางธรรมชาติและยางเทียม 1. เก็บไว้ให้ห่างจากเปลวไฟ หรือความร้อน 2. เก็บยางไม่ให้กระทบกับสารทองแดง และสารแมงกานีส ยางจะแตกตัวเสื่อมคุณภาพ 3. คลุกผิวยางด้วยแป้ ง เมื่อต้องการเก็บยางนานๆ 4. ควรเก็บไว้ในอุณหภูมิปกติ (20 – 25 C) และมีอากาศถ่ายเทได้ดี 5. เก็บไว้ให้ห่างจากน้ามันแร่ เช่น น้ามันเบนซิน น้ามันก๊าด เพราะ น้ามันทาให้ยางบวม 6. ควรเก็บยางให้ห่างจากสารเคมีต่างๆ เพราะอาจทาให้ยางเสื่อมคุณภาพ
  • 12. 4. สี (paint) เป็นวัสดุที่สาคัญไม่น้อยในวงงานอุตสากรรม และการก่อสร้าง เพื่อให้ดูสวยงาม แลลดการกัดกร่อน ทนต่อแดดและฝน ป้ องกันการทาลาสยของแมลงบางชนิด เป็นต้นสีที่ทา หรือพ่นลงไปบนวัสดุ ใดๆ จะปรากฏเป็นฟิล์มเคลือบทับผิวนั้นๆ ไว้เป้ นการปกปิดผิวมิให้กระทบกับอากาศ และติดผิวงานแนบสนิทไม่หลุด หรือร่อนได้ง่าย สีแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้4 ประเภท คือ ก. สีน้ามัน (Oil Paint) ข. สีเคลือก (Enamel Paint) ค. สีพลาสติกรหรือสีน้า (Water or Plastic Emulsion Paint) ง. สีน้าปูน (Thined-Hydrated Lines) สีต่างประเภทกันจะมีสารต่างๆ ในเนื้อของสีต่างกัน ในการใช้งานจะใช้ผสมสลับกันไปสลับกันมาไม่ได้ ตามใจชอบ จึงควรรู้จักการใช้สีดังนี้ 1. สีน้ามัน เป้ นสีที่รู้จักใช้งานกันมานานแล้ว ทา และพ่นได้ง่ายบนพื้นผิวทั้งที่เป็นโลหะ และอโลหะ สีมี ส่วนประกอบต่างดังนี้ 1.1 ผงสีพื้น (Base) เป็นผงวัสดุที่ทาให้เนื้อสีเกาะติดแน่นกับผิวงานโดยทั่วไปจะเป็นผงตะกั่วขาว ตะกั่วแดง สังกะสีออกไซด์ เหล็กออกไซด์ ฯลฯ 1.2 ผงแม่สี (Pigment) เป็นผงสีที่จะไปเคลือบผงพื้นสีให้เกิดสีตามต้องการ ส่วนใหญ่ได้มาจากธาตุ ต่างๆ เช่น สีดาได้จาก กราฟไฟต์ สีเขียวได้จาก คอปเปอร์ซัลเฟต สีน้าเงินได้จาก โคบอลต์ ฯลฯ 1.3 น้ายาซักแห้ง (Direr) เป็นน้ายาที่ช่วยให้น้ายาละลายสีระเหย หรือแห้งเร็วขึ้น เพราะน้ายาละลายสี นั้นแห้งช้ามาก ส่วนมากทามาจากสารละลายตะกั่วแดง แมงกานีสไดออกไซด์ หรือสังกะสีซัลเฟต ฯลฯ สีน้ามันที่มีจาหน่ายในท้องตลาดมีลักษณะใช้งานต่างกันไปทั้งเป็นสีรองพื้น และสีจริง(สีสาเร็จ) เช่น สี รองพื้น สีอลูมิเนียม สียาง สีทาท้องเรือ ฯลฯ 2. สีเคลือบ เป็นสีที่ผสมผงแม่สีกับน้ามันวาร์นิช มีความคงทนต่อรังสีอุลตราไวโอเลตเป็น พิเศษ ใช้สาหรับพ่นสีรถยนต์ มีทั้งชนิดแห้งเร็ว และแห้งช้า บางชนิดจะต้องอบด้วยอุณหภูมิสูงหลังการพ่น เพื่อให้สีติดแน่น กับโลหะ บางชนิดจะมีโลหะที่บดเป็นผงละเอียดผสมอยู่ด้วยเพื่อทาให้สีนั้นมีความแวววาว ที่มีวางขายตามท้องตลาดในชื่อที่ เรียกกันโดยทั่วไปว่า “สีเมตัลลิค” (Metalic Paint) ซึ่งสีชนิดนี้มีความไวไฟมาก ในขณะที่ผสม หรือพ่นสีประเภทนี้ ห้ามไม่ให้ สูบบุหรี่ หรือปฏิบัติงานเชื่อมโลหะอยู่ในบริเวณเดียวกัน วิธีผสมชนิดนี้ให้ลดความเข้มลงมาด้วยน้ามันสน หรือน้ามันก๊าดชนิดไม่มีกลิ่น และมีจุดเดือดประมาณ 130-160 องศา เซลเซียส 3. สีพลาสติก หรือสีน้า เป็นสีผสมพลาสติกชนิดโพลีไวนีอาซีเตต หรือพีวีเอ (Polyvinyl-acetate-PVA) ซึ่งละลายได้ในน้า มีคุณสมบัติเหมือนกาว เกาะติดวัสดุต่างๆ ที่ไม่ใช่โลหะได้ดีมาก จะแข็งตัวภายใน 2 ชั่วโมง การผสมสี หรือการทาให้เจือจากทาได้ด้วยน้า และล้างออกได้ด้วยน้าจะใช้ทา หรือพ่นก็ได้มีใช้ทั้งชนิดใช้ภายใน และภายนอกอาคาร 4. สีน้าปูน เป็นสีที่ทามาจากปูนขาวน้าผสมกาว และน้าข้าวทิ้งไว้ค้างคืน เพื่อให้ส่วนผสม
  • 13. ละลายเข้ากันจึงนามาใช้งาน เป็นสีที่ใช้สาหรับทากาแพงในสมัยโบราณ มีราคาถูก และทาได้ง่ายในปัจจุบันมีการผสมสีลงไป ด้วย ส่วนมากผู้ผลิตจะผลิตออกมาเป็นผงบรรจุใส่ถังส่งออกจาหน่ายในท้องตลาด เวลาใช้จึงนามาผสมน้า และสีที่ต้องการ องค์ประกอบของสี ผงสีหรือเนื้อสี (Pigment) คือ ส่วนเป็นเนื้อสีทาให้เกิดสีต่างๆ และเป็นส่วนที่ติดกับชิ้นงาน เช่น สีเลบ ตะกั่ว แดง ผงสีหรือเนื้อสีได้จาก 1. สีแดง ได้จาก ตะกั่วแดง สังกะสีออกไซด์ของเหล็ก และดินแดง 2. สีน้าเงิน ได้จาก โคบอลต์ 3. สีดา ได้จาก กราฟไฟต์ 4. สีเขียว ได้จาก คอปเปอร์ซัลเฟต 5. สีขาว ได้จากไทเทเนียมไดออกไซด์ สังกะสีออกไซด์ และตะกั่วขาว 6. สีเหลือง ได้จาก ผงสังกะสีเหลือง และสังกะสีโคเมท รูปที่ 7.19 ตัวอย่างเนื้อสีหลายสี การแบ่งประเภทของสี 1. แบ่งประเภทตามการระเหย 1.1 สีแห้งเร็ว ใช้เวลา 10-15 นาที การแห้งจะแห้งจากข้างนอก สีชนิดนี้ถ้าต้องการให้ขึ้นเงาต้องขัด 1.2 สีแห้งช้า จะแห้งโดยการระเหย และการอบ ใช้เวลา 18-24 ชั่วโมง แห้งแล้วจะเงางามไม่ต้องขัด 2. แบ่งประเภทตามงาน 2.1 สีสาหรับตกแต่งอาคารบ้านเรือน เช่นพลาสติก ใช้ทาผนังปูน ฝ้า เพดาน สีน้ามันใช้ทาประตู หน้าต่างที่เป็นเหล็ก 2.2 สีสาหรับพ่นรถยนต์ เช่น สีแลคเกอร์ส่วนใหญ่จะใช้สีแลคเกอร์อีนาเมล ใช้พ่นรถทั้งคัน หรือ บางส่วน เครื่องจักรกล
  • 14. 2.3 สีสาหรับใช้ในงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะใช้พ่อนอุปกณ์ที่ใช้ในโรงงาน เช่น ตู้เย็น ตู้เก็บ เอกสารส่วนใหญ่จะใช้สีเคลือบจะต้องนาไปอบที่อุณภูมิ 130-160 2.4 สีที่ทนต่อความร้อนและการกัดกร่อน ส่วนใหญ่ใช้สีอะลูมิเนียม ทาท่อส่งน้ามัน ท่อน้าร้อน นอกจากนั้นยังเป็นสีที่ทาก้นเรือ รูปที่ 7.20 สีพลาสติกใช้ทาตึก รูปที่ 7.21 รถยนต์พ่นด้วยสีแลคเกอร์ การทาสีและพ่นสี เพื่อให้เกิดความสวยงาม และคงทน การทาสี และพ่นสีจะต้องทาด้วยความประณีตเรียบร้อยไม่รีบร้อน โดย เริ่มทาให้ดีตั้งแต่การเตรียมพื้นผิวงาน คือ การทาความสะอาดผิวงานให้เรียบร้อยก่อนทาสี หรือพ่นสี ทาได้ 3 วิธี คือ 1. โดยแปรงลวด 2. โดยใช้กระดาษทราย 3. โดยใช้ทรายพ่น รูปที่ 7.22 ชั้นสีสาเร็จ
  • 15. ทาสีรองพื้น เพื่อป้ องกันสนิม ทาให้สีเกาะยึดแน่นกับผิวงานได้ดี ทาสีอันเดอร์ไดต์ เพื่อ - ปกป้องภาวะภายนอก - ป้ องกันสารเคมีจากพื้นผิวงานออกฤทธิ์กันสีทับหน้า - เพิ่มแรงเกาะยึดระหว่างสีที่ทา หรือสีที่ติดกับชิ้นงาน ทา หรือพ่นสีทับหน้า เพื่อความสวยงาม และป้ องกันความชื้น ลาดับปฏิบัติ วัสดุที่เป็นคอนกรีต - ปัดฝุ่นด้วยแปรง - ทาสีลงไป - ถ้าคอนกรีตที่เคยทาสีมาก่อนก็ต้องขูดสีเดิมออกก่อน แล้วค่อยทาสีตามชั้นตอนแรก 5. กาว (วัสดุประสาน Adhesives) หมายถึง วัสดุที่ใช้วัตถุ 2 ชิ้นติดกัน วัสดุประสานมี 2 ประเภท คือ วัสดุประสานธรรมชาติ (Natural Adhesives) และ วัสดุประสานสังเคราะห์ (Synthetic Resin Adhesives) ประโยชน์ของการใช้วัสดุประสาน คือ 1. การยึดประสานจะทาให้ผิววัสดุเรียบ สวยงาม เช่น เครื่องดนตรีพวก กีตาร์ ไวโอลิน 2. สามารถยึดประสานวัสดุต่างชนิดกันได้เช่น หลอดไฟฟ้าแสงสว่าง 3. สามารถทาการยึดประสานวัสดุที่มีขนาดเล็กมากๆ ได้เช่น ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 4. วัสดุบางชนิด ไม่สามารถยึดประสานด้วยวิธีอื่นได้เช่น วัสดุพวกพลาสติก แก้ว ยาง 1. วัสดุประสานธรรมชาติ (Natural Adhesives) หมายถึง การที่ผลิตขึ้นจากวัสดุธรรมชาติ ซึ่งอาจจะได้จาก พืช หรือสัตว์เช่น 1.1 กาวพืช (Vegetable Glue) เป็นกาวที่ผลิตจากแป้ ง มีราคาถูก มีความแข็งแรงในการประสานไม่มากนัก โดยทั่วไปแล้วนามาใช้ในงานติดประสานกระดาษ 1.2 กาวยาง(Rubber Glue) เป็นกาวที่ผลิตจากยางธรรมชาติกับสารละลาย (น้ามันเบนซิน) มีความแข็แรในการ ยึดประสานดี โดยทั่วไปแล้วนามาใช้ติดประสานวัสดุที่เป็นกระดาษ หนังและยาง 1.3 กาวเคซีน (Casein Glue)เป็นกาวที่ได้จากโปรตีนจากกากถั่ว มีความแข็งแรงในการประสานได้ดี นามาใช้ งานในการติดประสานไม้ภายในอาคารที่ไม่ถูกความชื้น และงานกระดาษ 1.4 กาวหนัง เป็นกาวที่ผลิตจากกระดูก และหนังสัตว์โดยนามาล้างทาความสะอาด แล้วนามาเคี่ยวจนกาวข้น นามาใช้งานทากระดาษทราย ในปัจจุบันกาวหนังไม่ค่อยนิยามนามาใช้งาน เนื่องจากมีกลิ่นเหม็น มีความ แข็งแรงในการติดประสานไม่ดี 2. วัสดุประสานสังเคราะห์ (Synthetic Resin Adhesives) หมายถึง กาวที่ได้จากสารเคมีที่สังเคราะห์ให้มีคุณสมบัติในการยึดประสานวัตถุต่างๆ ในปัจจุบันกาวสังเคราะห์ ได้รับความนิยมในการนามาใช้งานอย่างมาก เพราะมีความสะดวกในการใช้งานมีความแข็งแรงในการยึด ประสานได้ดี ทนต่ออุณหภูมิ ทนต่อความชื้น วัสดุประสานสังเคราะห์ สามารถแบ่งออกได้2 ประเภท คือ 2.1 กาวสังเคราะห์ พวกเทอร์โมเซตติ้ง (Thermoseting Type)
  • 16. 1. กาวพอกซี (Epoxy) โดยทั่วไปแล้วกาวชนิดนี้จะผลิตมา 2 ส่วน คือเนั้อกาวที่ใช้ใน การติดประสาน และตัวทาปฏิกิริยาให้แข็งตัว โดยแต่ละส่วนจะบรรจุอยู่ในหลอด เมื่อต้องการใช้งานก็บีบเนื้อกาว และตัวทา ปฏิกิริยาออกจากหลอด แล้วนามาผสมกัน แล้วผสมให้ทั้งสองส่วนเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นนาไปติดประสานวัสดุที่ ต้องการจะให้ติดกัน เมื่อผสมกาวแล้วควรใช้ภายใน 10-15 นาที เพราะกาวจะเริ่มแข็งตัว กาวอีพอกซีเป็นกาวที่มีคุณสมบัติใน การติดประสานดีเยี่ยม มีความแข็งแรงในการยึดประสานสูงมาก มีการขยายตัว และหดตัวน้อยมาก ทนต่อความชื้นได้ดี ทน ต่ออุณหภูมิได้สูง นาไปใช้งานอุตสาหกรรมอากาศยาน และอุตสาหกรรมทั่วไป 2. กาวฟิโนลิก (Phenulice) กาวชนิดนี้จะผสมอยู่ในสารละลายเมื่อเรานากาวฟิโนลิกไป ติดบนวัสดุที่ทากาวแล้วนี้มาติดเข้าด้วยกัน กาวชนิดนี้นามาใช้กันมากในอุตสาหกรรมไม้อัด 3. กาวซิลิโคน (Sillicone) เป็นกาวที่ทนต่อความชื้น และอุณหภูมิสูงได้ดี ใช้ในงาน อุตสาหกรรมอุปกรณ์ไฟฟ้า 4. กาวรีซอร์ซินัลเรซิน (Resorcinal Resin) เป็นกาวที่มีคุณสมบัติติดไม้ได้ดีมาก ใช้ใน การผลิตไม้ที่ต้องทนต่ออุณหภูมิและความชื้น รูปที่ 7.23 การใช้กาวยึดปรสานขั้วหลอดไฟฟ้า 2.2 กาวสังเคราะห์พวกเทอร์โมพลบาสติก (Thermoplastic Type) 1. เซลลูโลสดีริเวทีฟ (Cellulose Derivatives) มีคุณสมบัติทนความชื้นได้ดี เหมาะสาหรับ ใช้งานทั่วไปในงานบ้าน ใช้ติดไม้กระดาษ 2. อะครีลิก (Acrylics) เป็นกาวโปร่งใส เหมาะสาหรับใช้งานติดวัสดุพวกกระจกเซรามิก กาวพิเศษ เป็นกาวที่ใช้สาหรับงานเฉพาะอบ่าง มีอยู่มากมายหลายชนิด เช่น กาวติดพลาสติก กาวติดกระจก กาวติดโลหะ บาง ชนิดกันน้าได้บางชนิดทนความร้อนได้ดีสามารถติดท่อไอเสียรถยนต์ได้กาวพิเศษที่มีจาหน่ายในท้องตลาด ได้แก่ ก. อินสะแตนท์ (Instant Glue) เป็นกาวชนิดใสใช้งานได้สารพัดประโยชน์แห้งเร็ว สามารถติดแก้ว กระเบื้อง โลหะ ยาง ไฟเบอร์กล๊าส ไม่เหมาะกับงานที่ต้องแช่น้า หรือตากแดด หรือวัสดุที่มีรูพรุนมากๆ ข. พลาสติก กลู (Plastic Glue) ผลิตขึ้นมาใช้กับพลาสติกโดยเฉพาะ สามารถติดพลาสติกเข้ากับโลหะ ไม้ หรือแก้วได้ ค. ซุปเปอร์ กลู (Super Gule-Super Cement) เป็นกาวที่มีความแข็งแรงสูงมาก ติดแน่น และทนทาน เวลา ใช้ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ หากเข้าตาจะต้องรีบไปหาแพทย์ทันทีพร้อมกับหลอดกาวนั้นๆ
  • 17. คุณลักษณะของกาว ประโยชน์ของกาว - การติกตาวทาให้วัสดุเรียบ ไม่ต้องมีนอต หรือตะปูโผล่มาให้เห็น และทาให้ดูสวยงาม - สามารถติดวัสดุต่างชนิดกันได้ - มีเสียงดังน้อยเมื่อรับแรงกระแทก หรือสั้น - ทาให้การผลิต และออกแบบในงานอุตสาหกรรมง่าย - สามารถติดวัสดุที่เปราะบาง หรือมีขนาดเล็กได้ดี ข้อเสียของกาว เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้นอต สกรู ตะปู ที่ใช้ยึด - เมื่อวัสดุติดกาวแล้วจะแกะออกมาเพื่อประกอบใหม่ทาได้ลาบากมาก - ทนแรงดึงได้ไม่สูง - ทาความสะอาดผิววัสดุก่อนติดกาวทาได้ลาบาก เพราะวัสดุแต่ละชนิดใช้วิธีการไม่เหมือนกัน รูปที่ 7.24 กาวหลอดมีทั้งกาวน้า กาวอีพอกซี วิธีทากาว 1. เอาหนังสัตว์มาแช่ในน้าสะอาดให้อ่อนตัว เพื่อให้ชะล้างของสกปรกรวมทั้งเกลือให้หมด 2. เอาหนังที่ล้างแล้วแช่ลงในถังน้าปูนขาว เพื่อให้หนังพองตัวและอ่อนตัวพอที่ละลายเป็นกาว ได้ง่าย ระยะเวลาที่ใช้ในการแช่หนังในน้าปูนขาวนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของหนังและความร้อน ถ้าแช่ในน้าปูนขาวน้อย ไปจะต้องใช้เวลาและความร้อนมากในการละลาย แต่ถ้าแช่มากเกินไปหนังก็จะละลายไปเสียก่อน เพื่อเป็นการประหยัดเวลาใน การแช่ให้เร็วขึ้นควรตัดหนังออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ 3. เอาหนังออกจากที่แช่น้าปูนขาวลงล้างด้วยน้าสะอาดหมดด่าง ซึ่งอาจตรวจดูได้โดยใช้กระดาษลิตมัส ถ้ามีด่างอยู่บ้าง เล็กน้อยก็อาจฆ่าได้ด้วยกรดอ่อน ๆ เช่น กรดเกลือ กรดซัลฟิวริกหรือสารส้ม 4. เมื่อล้างสะอาดแล้วก็เอาหนังไปเคี่ยวกับน้า ข้อสังเกตในข้อนี้ คือ การต้องระวังอย่าใช้ความร้อนสูงเกินไป กาวที่ได้จะมี คุณภาพต่า กาวที่ดีควรเคี่ยวในระยะเลาสั้นและความร้อนต่า การเคี่ยวอาจทาได้ 2 วิธี คือ
  • 18. ก. เคี่ยวในถังเปิด ( Open Tank ) ตัวถังทาด้วยไม้หรือเหล็ก มีท่อไอน้าขดอยู่ภายใจ เอาหนังใส่เข้าไปในถังแล้วเติมน้าให้ พอดี เปิดไดน้าผ่านท่อจนกระทั่งอุณหภูมิในถุงต้มไปประมาณ 80 องศา ใช้ไม้กวนเสมอ ๆ จนกระทั่งได้น้าข้น ๆ จึงลดอุณหภูมิ และตักไขมันที่ลอยอยู่ข้างบนอก เป็นก๊อกเอาน้าที่อยู่ก้นถังออก ส่วนกากที่เหลือต้มต่อไปอีก 2-3 ครั้ง ข. เคี่ยวในถังปิด ( Presseure Tank ) โดยมากใช้ต้มกาวจากกระดูก การต้มใช้ความดัน 10-20 บรรยากาศ 5. เมื่อละลายเป็นน้ากาวใส่ในข้อ 4 แล้วขั้นต่อไปทาให้งวดเข้า ซึ่งควรใช้หม้อต้มระเหยแบบสุญญากาศ และใส่ยากันเสียลง ไป เช่น ซิงค์ซัลเฟต เมื่อน้ากาวใสงวดขันได้ที่ก็เทใส่แบบสาหรับทาเป็นกาวแผ่น 6. ถ้าน้ากาวขุ่นจะทาให้ใสโดยใช้สารส้มหรือไข่ขาวเติมลงไปเพื่อให้สิ่งสกปรกรวมตัวกันเป็นตะกอนแล้วกรองออก 7. กาวที่อยู่ในแบบข้อ 5 แล้วทาให้แห้งได้โดยใช้กระแสลมร้อนเป่า แต่ต้องระวังถ้าลมร้อนมากเกินไปแทรที่กาวจะแห้ง กลับทาให้กาวละลายและเยิ้มเหลวไปอีก ข้อควรปฏิบัติในการใช้กาว 1. ผิวหน้าที่จะติดกาวต้องเรียบ สะอาด และแห้ง 2. การทากาวควรทาให้เรียบและทาบาง ๆ 3. การใช้กาวชนิดแห้งเร็ว ควรลองทาบริเวณที่จะติดก่อนเพื่อความแน่ใจ 4. กาวชนิดแห้งช้า ควรต้องมีอุปกรณ์ยึดวัสดุให้ติดแน่นตลอดเวลาที่กาวยังไม่แห้ง 5. ต้องเลือกชนิดของกาวให้เหมาะสมกับวัสดุ 6. กาวบางชนิดเป็นอันตราย ไม่ควรใช้มือจับหรือสูดดมกลิ่น