SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
1.2.2 ชนิดของสารผสมสี
ตัวทาละลายและทินเนอร์ (Solvents and Thinner)
ตัวทาละลายและทินเนอร์หมายถึง ของเหลวที่ใช้ในการลดความหนืด วัสดุทาหรือวัสดุตกแต่งขั้นสุดท้ายลงถึงจุดที่
สะดวกต่อการนาไปใช้ทา ตัวทาละลายและทินเนอร์จะมีผลต่อความคงที่และเข้มข้น ความเรียบ การแห้งตัวการเกาะยึดผิว
อย่างสม่าเสมอ และความคงทนของวัสดุ ดังนั้นจึงมีความจาเป้ นอย่างยิ่งที่จะต้องเลือกใช้ด้วยความระมัดระวังและเลือกใช้
อย่างเหมาะสมตามความต้องการของวัสดุที่ทาต่างชนิดกันไปตามชนิดของยางและน้ามันซักแห้งที่ผสมอยู่
ตัวชักแห้ง (Driers)
ตัวชักแห้งมีหน้าที่ช่วยเร่งการเติมออกซิเจนของน้ามันหรือตัวประสานที่ใช้เป็นพาหะของวัสดุทาส่วนใหญ่จะอยู่ใน
รูปของสบู่โลหะ (Metallic soap) เพื่อที่จะละลายและกระจายตัวได้ดีภายในเนื้อและสีน้ามันวาร์นิช การทาปฏิกิริยาดังกล่าวจะ
กระทาอย่างต่อเนื่องไปจนตลอดอายุของวัสดุทา ดังนั้นการเติมตัวชักแห้งจึงต้องให้มีสัดส่วนพอดี เพื่อที่จะทาให้แผ่นฟิล์ม
ของสีหรือวาร์นิชแข็งตัวพอที่จะป้ องกันอันตรายจากฝุ่น หรือจากการสัมผัส และไม่ทาให้ตัวประสานในตัวโลหะเสียหายเร็ว
จนเกินไป การเติมตัวชักแห้งในปริมาณที่มากเกินไปก็อาจทาให้แผ่นฟิล์มแตกร้าวได้เช่นกัน
วัสดุตกแต่งงานสี
1. เบนซิน
2. แอลกอฮอล์
3. น้ามันสน
4. น้ามันลินสีด
5. ผงพัมอิซ
เอกสารอ้างอิง
ใบเนื้อหา แผ่นที่ 8
หน่วยที่ 1
จานวนชั่วโมง 1-2
ชั้นปีที่ 2
แผนก ช่างเชื่อมโลหะ
วิชา งานผลิตภัณฑ์และโลหะแผ่น 2
ชื่อเรื่อง 1.2 งานสีอุตสาหกรรม
หน่วยการสอนที่ 1. การออกแบบระบบท่อระบายอากาศ
และงานสีอุตสาหกรรม
1.2.3 อุปกรณ์เครื่องมือในงานสี
เครื่องมืองานสี ได้แก่ เครื่องมือที่จาเป็นจะต้องใช้เพื่อให้งานสีบรรลุผลตามเป้ าหมาย ส่วนอุปกรณ์งานสีได้แก่
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยให้งานทาสี หรือพ่นสีง่าย สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น ดังนั้นงานสีจึงจะต้องมีทั้งเครื่องมือและอุปกรณ์
ประกอบกัน
เครื่องมือและอุปกรณ์งานสีที่เป็นหลักและจาเป็นโดยทั่วๆไปมีดังต่อไปนี้คือ
1. แปรงทาสี
ในการเลือกใช้แปรงทาสีโดยทั่วๆไปนั้น สิ่งที่นามาพิจารณาก็คือ คุณภาพของแปรง ทั้งนี้เนื่องจากแปลงคุณภาพดีจะ
กักเนื้อสีได้มากทาให้สีไม่หยดหรือกระเด็นมากในขณะทางาน แปรงทาสีดังรูปที่ 1.1 ยังจาแนกออกตามชนิดของวัสดุที่ใช้
ทาได้เป็น 3 ชนิดคือ
1.1 แปรงทาสีน้ามัน
แปรงชนิดนี้มีทั้งชนิดขนแปรงทามาจากขนหมู ปัจจุบันใช้ขนแปรงที่ทาจากไนลอน เนื่องจากมีความทนทานต่อการ
สึกหรอมากกว่าขนแปรงที่ทามาจากขนสัตว์แปรงชนิดนี้มีคุณภาพดีขนแปรงจะต้องแข็งเป็นเส้นตรงไม่แตกกระจาย แน่นไม่
หลุดออกจากด้ามได้โดยง่าย
1.2 แปรงทาน้ามันชักเงา
แปรงชนิดนี้ใช้กับการทาไข แชลแล็ค วานิช แล็คเกอร์ และน้ามันเคลือบเงาชนิดต่างๆ ขนแปรงอ่อนนุ่ม ส่วนมากทา
มาจากขนอูฐ ด้ามแปรงจะเป็นไม้ไผ่เล็กๆติดกันเป็นแฝง มีหลายขนาด แปรงชนิดนี้มีหลายเกรด แต่ควรจะเลือกใช้เกรดสูงๆ
เพราะถ้าขนแปรงคุณภาพต่าๆ ขนแปรงจะหลุดร่วงได้ง่าย จึงไม่สะดวกต่อการทางาน
1.3 แปรงดอกหญ้า
แปรงชนิดนี้ทาจากดอกหญ้าชนิดเดียวกันกับที่ใช้ทาไม้กวาด เป็นแปรงที่ใช้กับงานทาสีทุกชนิดที่ไม่มีน้ามันผสมอยู่
เช่น สีน้าปูน สีน้า และสีพลาสติก แปรงชนิดนี้มีทั้งชนิดสาเร็จรูปและชนิดที่ต้องนามามัดเอง จะต้องเลือกใช้ขนแปรงที่มี
คุณภาพดีเพราะขนแปรงไม่ค่อยหลุด
รูปที่ 1.1 แสดงแปรงทาสีชนิดต่างๆ
1. ลูกกลิ้งทาสี
ลูกกลิ้งทาสีดังรูปที่ 1.2 จะสามารถใช้ได้กับงานทาสีทุกชนิด ทั้งที่มีน้ามันผสมอยู่หรือไม่มีน้ามันผสมอยู่ก็ได้
สามารถทางานได้รวดเร็วมากกว่าการทาด้วยแปรงและทาได้เรียบกว่า เหมาะกับการทาพื้นที่บริเวณกว้างๆ แต่ไม่สะดวกต่อ
การทาบริเวณซอกมุมต่างๆ ดังนั้น การทาด้วยลูกกลิ้งยังจาเป็นที่จะต้องใช้แปรงร่วมในการทาด้วย วัสดุที่ใช้ทาลูกกลิ้งมีทั้ง
ชนิดที่เป็นโฟม ชนิดผ้าโมแฮร์ ชนิดขนแกะ และชนิดกรุลาย
รูปที่ 1.2 แสดงลูกกลิ้งทาสีชนิดต่างๆ
3. ปืนพ่นสี
ปืนพ่นสี (spray gun) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พ่นสี ทางานโดยอาศัยแรงดันของลมหรืออากาศทาให้สีแตกตัวเป็นฝอย
ละอองเล็กๆ จากนั้นจึงละอองสีที่เกิดขึ้นดังกล่าวเข้าสู่พื้นผิวที่ทาการพ่น
รูปที่ 1.3 แสดงส่วนประกอบปืนพ่นสี
ปืนพ่นสีดังรูปที่ 1.3 มีส่วนประกอบดังนี้
หัวลม (air nozzle) เป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของปืนพ่นสี ใช้ทาหน้าที่บังคับทิศทางและความเร็วของอากาศ
อัดที่ทาให้สีแตกตัวเป็นฝอยละอองที่เกิดขึ้นเข้าสู่พื้นผิวที่ทาการพ่นหัวลมที่ใช้กันในปัจจุบันยังจาแนกได้ 2 แบบ คือ หัวลม
แบบผสมภายนอก และหัวลมแบบผสมภายใน
หัวจ่ายสี (fluid nozzle) เป็นวนประกอบที่สาคัญเป็นอันดับ 2 ใช้ทาหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของสี หัวจ่ายสีมี
ลักษณะเป็นเบาะรองรับเข็มปรับปริมาณสีและเป็นช่องทางให้สีไหลออกเมื่อไกปืนถูกเหนี่ยวเข้ามา และจะปิดเมื่อไกปืนถูก
ปล่อยออกไป
เข็มปรับปริมาณสี (fluid needle) เข็มนี้จะประกอบเข้ากับหัวจ่ายสีและจะทางานร่วมกันโดยจะทาหน้าที่เป็นลิ้นปิด-
เปิด ช่องทางของสีที่จะไหลออกจกหัวจ่ายสี
ไกปืน (trigger) เป็นตัวที่ทาให้ปืนพ่นสีทางาน โดยจะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของลิ้นลม และลิ้นสี ที่อยู่ภายใน
ตัวปืน โดยเปิดโอกาสและสีไหลออกมาจากตัวลิ้นเมื่อไกปืนถูกเหนี่ยวเข้าเข้ามา และจะปิดไม่ให้อากาศและสีไหลออกมาจก
ตัวลิ้นเมื่อไกปืนถูกปล่อยออกไป
ตัวควบคุมปริมาณการจ่ายสี ( fliud control ) ตัวควบคุมนี้จะมีลักษณะเป็นลูกปิดที่ใช้สาหรับหมุนปรับความตึงของ
สปริงปรับปริมารสี จึงสามารถปรับปริมาณการจ่ายสีของเข็มได้
ตัวควบคุมลิ้นลม (air valve control ) ตัวควบคุมนี้จะทาหน้าที่ควบคุมการไหลของอากาศอัดที่จะเข้าสู่หัวลม ปกติ
จะทางานร่วมกับไกปืน
ตัวควบคุมรูปแบบการพ่น (side port or fan control ) ตัวควบคุมนี้จะทาหน้าที่ปรับความกว้างของแบบของสีที่พ่น
ด้ามปืนพ่นสี (body handle) ด้ามปืนโดยทั่วไปจะออกแบบมาให้จับได้ถนัดมือ มีความสมดุลย์ในขณะที่พ่น
ช่องลมเข้า ( air inlet ) เป็นจุดต่อเข้ากับท่อลม ปกติจะมีขนาดโต ¾ นิ้ว
ช่องสีเข้า ( fluid inlet ) เป็นจุดต่อเข้ากับท่อดูดสี ซึ่งอาจเป็นท่อโลหะที่ยื่นลงไปในกาพ่นสี หรือท่อสายยางในกรณี
ที่กาหรือกระป๋ องสีแยกออกจากตัวปืน
แบบของหัวลม
หัวลมของปืนพ่นสีที่ใช้ในปัจจุบัน จาแนกตามลักษณะการผสมกันระหว่างสีกับอากาศอัดได้เป็น 2 แบบคือ แบบ
ผสมภายนอก และแบบผสมภายใน
แบบผสมภายนอก ( external mix ) หัวลมแบบนี้ ดังรูปที่1.6 ก. การผสมกันระหว่างสีกับอากาศจะเกิดขึ้นภายอกหัว
ลม หัวลมชนิดนี้จะถูกนาไปใช้กับปืนพ่นสีทั้งแบบดูดและแบบแรงดัน โดยที่ปืนพ่นสีแบบดูดจะใช้หัวลมชนิดนี้ ลักษณะที่
สาคัญที่สังเกตได้ก็คือ หัวจ่ายสีจะยื่นออกเลยหัวลมไปเล็กน้อย
แบบผสมภายใน ( internal mix ) หัวลมแบบนี้ดังรูป1.6 ข การผสมกันระหว่างอากาศกับสีจะเกิดขึ้นภายในก่อนที่
จะพ่นผ่านรูหรือรอยผ่าที่หัวลมออกมา หัวลมชนิดนี้จะใช้กับปืนพ่นสีแบบแรงดันเท่านั้น
4. เครื่องอัดอากาศ
เครื่องอัดอากาศเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างแรงดันให้กับปืนพ่นสี มีหลายขนาด หลายแบบ ส่วนประกอบที่สาคัญ
ของเครื่องอัดอากาศขนาดใหญ่ ได้แก่ เครื่องต้นกาลัง ชุดอัดอากาศและถังเก็บอากาศอัด ดังรูปที่ 1.4
เครื่องต้นกาลัง
เครื่องต้นกาลังที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบันได้แก่ มอเตอร์ไฟฟ้า หรือในที่ที่กระแสไฟ เข้าไม่ถึงก็อาจใช้
เครื่องยนต์ก๊าซโซลีนขนาดเล็กเป็นเครื่องต้นกาลังก็มี
รูปที่ 1.4 เครื่องอัดอากาศ
ชุดอัดอากาศ
ชุดอัดอากาศจะทาหน้าที่ดูดอากาศจากภายนอกเข้ามา แล้วอัดให้มีแรงดันสูงขึ้นให้เหมาะกับการใช้งาน ชุดอัดอากาศ
นี้จะเป็นแบบอัดครั้งเดียว ซึ่งจะมีสูบเดียวซึ่งจะเหมาะกับงานที่ไม่ต้องการแรงดันสูงมาก ปกติจะไม่เกิน 100 ปอนด์ต่อ
ตารางนิ้วส่วนแบบอัดอากาศ 2 ครั้ง จะมีตั้งแต่ 2 สูบ ขึ้นไป ซึ่งจะประกอบด้วยลูกสูบใหญ่หนึ่งลูก และลูกสูบเล็กอีก 1ลูก จะ
ทาการอัด 2 ครั้ง ทาให้ชุดอัดอากาศแบบนี้มีแรงดันสูงกว่าแบบแรก ปกติจะมีแรงดันมากกว่า 100 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ถังเก็บอากาศอัด
ทาหน้าที่เก็บอากาศเพื่อรอการใช้งาน ถังเก็บอากาศอัดนี้มีหลายขนาดแต่นิยมใช้กันโดยทั่วไปได้แก่ ขนาด 60-80
แกลลอน โดยทั่วไปจะมีทั้งสวิตช์อัตโนมัติติดตั้งอยู่ จึงสามารถป้ องกันอันตรายจากแรงดันที่สูงกินพิกัดได้
5. ท่อลม
ท่อลมที่นิยมใช้กับงานพ่นสี มีทั้งท่อแข็งและท่ออ่อน สาหรับงานขนาดใหญ่หรือขนาดกลาง เช่น ในโรงงานพ่นสีจะ
ใช้ทั้งท่อแข็งและท่ออ่อน แต่กับงานเล็กจะใช้ท่ออ่อนเพียงอย่างเดียว สาหรับท่อแข็งนิยมใช้กันจะเป็นท่ออาบสังกะสี ใช้ต่อ
ระหว่างเครื่องอดอากาศกับจุดที่ต้องการใช้งาน ส่วนท่ออ่อนจะนาไปต่อระหว่างจุดที่นาไปใช้งานกับปืนพ่นสี
6. เกรียงขูด-โป๊วสี
เกรียงขูด-โป๊ วสีที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ดังรูปที่ 1.5 เป็นเกรียงเหล็กที่ไม่เพียงแต่จะใช้ขูด แต่ยังสามารถใช้ในการอุด
โป๊ วตามรอยร้าวหรือรูพรุนต่างๆก่อนการทาสี
รูปที่ 1.5 เกรียงขูด-โป๊วสีชนิดต่างๆ
7. กระป๋ องผสมสี
กระผสมสี ดังรูปที่ 1.6 ส่วนใหญ่จะใช้กระป๋ องที่สะอาดแล้วและไม่เป็นสนิม ใช้สาหรับผสมสีต่างๆตามที่ต้องการ
การใช้กระป๋ องผสมสีแยกต่างหากจากกระป๋ องสีก็เพื่อจะผสมได้อย่างอิสระ สามารถวัดหรือกาหนดส่วนผสมได้อย่างถูกต้อง
แน่นอนและเพื่อที่จะผสมสีให้เข้ากันก่อนที่จะนาไปทา
รูปที่ 1.6 แสดงกระป๋ องผสมสี และการคนสีที่ถูกวิธี
8. บันได
บันได ดังรูปที่ 1.7 เป็นสิ่งจาเป็นมากกับงานสี โดยเฉพาะในที่สูงๆ บันไดที่ใช้อาจจะเป็นไม้หรือโลหะก็ได้แต่ควร
จะมีที่วางหรือแขวนกระป๋ องสีได้ ในบางครั้งต้องใช้ไม้พาดเพื่อเดินทาสี ดังนั้นไม้ที่นามาพาดต้องมีความแข็งแรงอย่าง
เพียงพอ
รูปที่ 1.7 แสดงบันไดแบบต่างๆ และวิธีการทาสีบนบันได
9. นั่งร้าน
นั่งร้าน ดังรูปที่ 1.8 จาเป็นมากในการทางานขนาดใหญ่หรืองานทาสีอาคารสู.ๆ ในบ้านเรานิยมทานั่งร้านชนิดไม้ไผ่
แต่ในปัจจุบันใช้เหล็กมาใช้ในการผลิตเพื่อความแข็งแรง
รูปที่ 1.8 แสดงนั่งร้านแบบต่างๆ และการใช้นั่งร้าน

More Related Content

Viewers also liked

UF1 Los seres vivos: composición y función
UF1 Los seres vivos: composición y función UF1 Los seres vivos: composición y función
UF1 Los seres vivos: composición y función Mónica
 
Morphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notesMorphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notesSamah Ab
 
Història geologica de catalunya
Història geologica de catalunyaHistòria geologica de catalunya
Història geologica de catalunyaAnna Giro
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編なべ
 
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編なべ
 
Unit 5 Ecosystems
Unit 5  EcosystemsUnit 5  Ecosystems
Unit 5 EcosystemsMónica
 
EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3evans payne
 

Viewers also liked (9)

UF1 Los seres vivos: composición y función
UF1 Los seres vivos: composición y función UF1 Los seres vivos: composición y función
UF1 Los seres vivos: composición y función
 
Morphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notesMorphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notes
 
For impact culture code
For impact culture codeFor impact culture code
For impact culture code
 
Història geologica de catalunya
Història geologica de catalunyaHistòria geologica de catalunya
Història geologica de catalunya
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編
 
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
 
Unit 5 Ecosystems
Unit 5  EcosystemsUnit 5  Ecosystems
Unit 5 Ecosystems
 
EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น1 6

  • 1. 1.2.2 ชนิดของสารผสมสี ตัวทาละลายและทินเนอร์ (Solvents and Thinner) ตัวทาละลายและทินเนอร์หมายถึง ของเหลวที่ใช้ในการลดความหนืด วัสดุทาหรือวัสดุตกแต่งขั้นสุดท้ายลงถึงจุดที่ สะดวกต่อการนาไปใช้ทา ตัวทาละลายและทินเนอร์จะมีผลต่อความคงที่และเข้มข้น ความเรียบ การแห้งตัวการเกาะยึดผิว อย่างสม่าเสมอ และความคงทนของวัสดุ ดังนั้นจึงมีความจาเป้ นอย่างยิ่งที่จะต้องเลือกใช้ด้วยความระมัดระวังและเลือกใช้ อย่างเหมาะสมตามความต้องการของวัสดุที่ทาต่างชนิดกันไปตามชนิดของยางและน้ามันซักแห้งที่ผสมอยู่ ตัวชักแห้ง (Driers) ตัวชักแห้งมีหน้าที่ช่วยเร่งการเติมออกซิเจนของน้ามันหรือตัวประสานที่ใช้เป็นพาหะของวัสดุทาส่วนใหญ่จะอยู่ใน รูปของสบู่โลหะ (Metallic soap) เพื่อที่จะละลายและกระจายตัวได้ดีภายในเนื้อและสีน้ามันวาร์นิช การทาปฏิกิริยาดังกล่าวจะ กระทาอย่างต่อเนื่องไปจนตลอดอายุของวัสดุทา ดังนั้นการเติมตัวชักแห้งจึงต้องให้มีสัดส่วนพอดี เพื่อที่จะทาให้แผ่นฟิล์ม ของสีหรือวาร์นิชแข็งตัวพอที่จะป้ องกันอันตรายจากฝุ่น หรือจากการสัมผัส และไม่ทาให้ตัวประสานในตัวโลหะเสียหายเร็ว จนเกินไป การเติมตัวชักแห้งในปริมาณที่มากเกินไปก็อาจทาให้แผ่นฟิล์มแตกร้าวได้เช่นกัน วัสดุตกแต่งงานสี 1. เบนซิน 2. แอลกอฮอล์ 3. น้ามันสน 4. น้ามันลินสีด 5. ผงพัมอิซ เอกสารอ้างอิง ใบเนื้อหา แผ่นที่ 8 หน่วยที่ 1 จานวนชั่วโมง 1-2 ชั้นปีที่ 2 แผนก ช่างเชื่อมโลหะ วิชา งานผลิตภัณฑ์และโลหะแผ่น 2 ชื่อเรื่อง 1.2 งานสีอุตสาหกรรม หน่วยการสอนที่ 1. การออกแบบระบบท่อระบายอากาศ และงานสีอุตสาหกรรม
  • 2. 1.2.3 อุปกรณ์เครื่องมือในงานสี เครื่องมืองานสี ได้แก่ เครื่องมือที่จาเป็นจะต้องใช้เพื่อให้งานสีบรรลุผลตามเป้ าหมาย ส่วนอุปกรณ์งานสีได้แก่ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยให้งานทาสี หรือพ่นสีง่าย สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น ดังนั้นงานสีจึงจะต้องมีทั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบกัน เครื่องมือและอุปกรณ์งานสีที่เป็นหลักและจาเป็นโดยทั่วๆไปมีดังต่อไปนี้คือ 1. แปรงทาสี ในการเลือกใช้แปรงทาสีโดยทั่วๆไปนั้น สิ่งที่นามาพิจารณาก็คือ คุณภาพของแปรง ทั้งนี้เนื่องจากแปลงคุณภาพดีจะ กักเนื้อสีได้มากทาให้สีไม่หยดหรือกระเด็นมากในขณะทางาน แปรงทาสีดังรูปที่ 1.1 ยังจาแนกออกตามชนิดของวัสดุที่ใช้ ทาได้เป็น 3 ชนิดคือ 1.1 แปรงทาสีน้ามัน แปรงชนิดนี้มีทั้งชนิดขนแปรงทามาจากขนหมู ปัจจุบันใช้ขนแปรงที่ทาจากไนลอน เนื่องจากมีความทนทานต่อการ สึกหรอมากกว่าขนแปรงที่ทามาจากขนสัตว์แปรงชนิดนี้มีคุณภาพดีขนแปรงจะต้องแข็งเป็นเส้นตรงไม่แตกกระจาย แน่นไม่ หลุดออกจากด้ามได้โดยง่าย 1.2 แปรงทาน้ามันชักเงา แปรงชนิดนี้ใช้กับการทาไข แชลแล็ค วานิช แล็คเกอร์ และน้ามันเคลือบเงาชนิดต่างๆ ขนแปรงอ่อนนุ่ม ส่วนมากทา มาจากขนอูฐ ด้ามแปรงจะเป็นไม้ไผ่เล็กๆติดกันเป็นแฝง มีหลายขนาด แปรงชนิดนี้มีหลายเกรด แต่ควรจะเลือกใช้เกรดสูงๆ เพราะถ้าขนแปรงคุณภาพต่าๆ ขนแปรงจะหลุดร่วงได้ง่าย จึงไม่สะดวกต่อการทางาน 1.3 แปรงดอกหญ้า แปรงชนิดนี้ทาจากดอกหญ้าชนิดเดียวกันกับที่ใช้ทาไม้กวาด เป็นแปรงที่ใช้กับงานทาสีทุกชนิดที่ไม่มีน้ามันผสมอยู่ เช่น สีน้าปูน สีน้า และสีพลาสติก แปรงชนิดนี้มีทั้งชนิดสาเร็จรูปและชนิดที่ต้องนามามัดเอง จะต้องเลือกใช้ขนแปรงที่มี คุณภาพดีเพราะขนแปรงไม่ค่อยหลุด รูปที่ 1.1 แสดงแปรงทาสีชนิดต่างๆ
  • 3. 1. ลูกกลิ้งทาสี ลูกกลิ้งทาสีดังรูปที่ 1.2 จะสามารถใช้ได้กับงานทาสีทุกชนิด ทั้งที่มีน้ามันผสมอยู่หรือไม่มีน้ามันผสมอยู่ก็ได้ สามารถทางานได้รวดเร็วมากกว่าการทาด้วยแปรงและทาได้เรียบกว่า เหมาะกับการทาพื้นที่บริเวณกว้างๆ แต่ไม่สะดวกต่อ การทาบริเวณซอกมุมต่างๆ ดังนั้น การทาด้วยลูกกลิ้งยังจาเป็นที่จะต้องใช้แปรงร่วมในการทาด้วย วัสดุที่ใช้ทาลูกกลิ้งมีทั้ง ชนิดที่เป็นโฟม ชนิดผ้าโมแฮร์ ชนิดขนแกะ และชนิดกรุลาย รูปที่ 1.2 แสดงลูกกลิ้งทาสีชนิดต่างๆ 3. ปืนพ่นสี ปืนพ่นสี (spray gun) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พ่นสี ทางานโดยอาศัยแรงดันของลมหรืออากาศทาให้สีแตกตัวเป็นฝอย ละอองเล็กๆ จากนั้นจึงละอองสีที่เกิดขึ้นดังกล่าวเข้าสู่พื้นผิวที่ทาการพ่น รูปที่ 1.3 แสดงส่วนประกอบปืนพ่นสี
  • 4. ปืนพ่นสีดังรูปที่ 1.3 มีส่วนประกอบดังนี้ หัวลม (air nozzle) เป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของปืนพ่นสี ใช้ทาหน้าที่บังคับทิศทางและความเร็วของอากาศ อัดที่ทาให้สีแตกตัวเป็นฝอยละอองที่เกิดขึ้นเข้าสู่พื้นผิวที่ทาการพ่นหัวลมที่ใช้กันในปัจจุบันยังจาแนกได้ 2 แบบ คือ หัวลม แบบผสมภายนอก และหัวลมแบบผสมภายใน หัวจ่ายสี (fluid nozzle) เป็นวนประกอบที่สาคัญเป็นอันดับ 2 ใช้ทาหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของสี หัวจ่ายสีมี ลักษณะเป็นเบาะรองรับเข็มปรับปริมาณสีและเป็นช่องทางให้สีไหลออกเมื่อไกปืนถูกเหนี่ยวเข้ามา และจะปิดเมื่อไกปืนถูก ปล่อยออกไป เข็มปรับปริมาณสี (fluid needle) เข็มนี้จะประกอบเข้ากับหัวจ่ายสีและจะทางานร่วมกันโดยจะทาหน้าที่เป็นลิ้นปิด- เปิด ช่องทางของสีที่จะไหลออกจกหัวจ่ายสี ไกปืน (trigger) เป็นตัวที่ทาให้ปืนพ่นสีทางาน โดยจะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของลิ้นลม และลิ้นสี ที่อยู่ภายใน ตัวปืน โดยเปิดโอกาสและสีไหลออกมาจากตัวลิ้นเมื่อไกปืนถูกเหนี่ยวเข้าเข้ามา และจะปิดไม่ให้อากาศและสีไหลออกมาจก ตัวลิ้นเมื่อไกปืนถูกปล่อยออกไป ตัวควบคุมปริมาณการจ่ายสี ( fliud control ) ตัวควบคุมนี้จะมีลักษณะเป็นลูกปิดที่ใช้สาหรับหมุนปรับความตึงของ สปริงปรับปริมารสี จึงสามารถปรับปริมาณการจ่ายสีของเข็มได้ ตัวควบคุมลิ้นลม (air valve control ) ตัวควบคุมนี้จะทาหน้าที่ควบคุมการไหลของอากาศอัดที่จะเข้าสู่หัวลม ปกติ จะทางานร่วมกับไกปืน ตัวควบคุมรูปแบบการพ่น (side port or fan control ) ตัวควบคุมนี้จะทาหน้าที่ปรับความกว้างของแบบของสีที่พ่น ด้ามปืนพ่นสี (body handle) ด้ามปืนโดยทั่วไปจะออกแบบมาให้จับได้ถนัดมือ มีความสมดุลย์ในขณะที่พ่น ช่องลมเข้า ( air inlet ) เป็นจุดต่อเข้ากับท่อลม ปกติจะมีขนาดโต ¾ นิ้ว ช่องสีเข้า ( fluid inlet ) เป็นจุดต่อเข้ากับท่อดูดสี ซึ่งอาจเป็นท่อโลหะที่ยื่นลงไปในกาพ่นสี หรือท่อสายยางในกรณี ที่กาหรือกระป๋ องสีแยกออกจากตัวปืน แบบของหัวลม หัวลมของปืนพ่นสีที่ใช้ในปัจจุบัน จาแนกตามลักษณะการผสมกันระหว่างสีกับอากาศอัดได้เป็น 2 แบบคือ แบบ ผสมภายนอก และแบบผสมภายใน แบบผสมภายนอก ( external mix ) หัวลมแบบนี้ ดังรูปที่1.6 ก. การผสมกันระหว่างสีกับอากาศจะเกิดขึ้นภายอกหัว ลม หัวลมชนิดนี้จะถูกนาไปใช้กับปืนพ่นสีทั้งแบบดูดและแบบแรงดัน โดยที่ปืนพ่นสีแบบดูดจะใช้หัวลมชนิดนี้ ลักษณะที่ สาคัญที่สังเกตได้ก็คือ หัวจ่ายสีจะยื่นออกเลยหัวลมไปเล็กน้อย แบบผสมภายใน ( internal mix ) หัวลมแบบนี้ดังรูป1.6 ข การผสมกันระหว่างอากาศกับสีจะเกิดขึ้นภายในก่อนที่ จะพ่นผ่านรูหรือรอยผ่าที่หัวลมออกมา หัวลมชนิดนี้จะใช้กับปืนพ่นสีแบบแรงดันเท่านั้น 4. เครื่องอัดอากาศ เครื่องอัดอากาศเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างแรงดันให้กับปืนพ่นสี มีหลายขนาด หลายแบบ ส่วนประกอบที่สาคัญ ของเครื่องอัดอากาศขนาดใหญ่ ได้แก่ เครื่องต้นกาลัง ชุดอัดอากาศและถังเก็บอากาศอัด ดังรูปที่ 1.4 เครื่องต้นกาลัง เครื่องต้นกาลังที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบันได้แก่ มอเตอร์ไฟฟ้า หรือในที่ที่กระแสไฟ เข้าไม่ถึงก็อาจใช้ เครื่องยนต์ก๊าซโซลีนขนาดเล็กเป็นเครื่องต้นกาลังก็มี
  • 5. รูปที่ 1.4 เครื่องอัดอากาศ ชุดอัดอากาศ ชุดอัดอากาศจะทาหน้าที่ดูดอากาศจากภายนอกเข้ามา แล้วอัดให้มีแรงดันสูงขึ้นให้เหมาะกับการใช้งาน ชุดอัดอากาศ นี้จะเป็นแบบอัดครั้งเดียว ซึ่งจะมีสูบเดียวซึ่งจะเหมาะกับงานที่ไม่ต้องการแรงดันสูงมาก ปกติจะไม่เกิน 100 ปอนด์ต่อ ตารางนิ้วส่วนแบบอัดอากาศ 2 ครั้ง จะมีตั้งแต่ 2 สูบ ขึ้นไป ซึ่งจะประกอบด้วยลูกสูบใหญ่หนึ่งลูก และลูกสูบเล็กอีก 1ลูก จะ ทาการอัด 2 ครั้ง ทาให้ชุดอัดอากาศแบบนี้มีแรงดันสูงกว่าแบบแรก ปกติจะมีแรงดันมากกว่า 100 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ถังเก็บอากาศอัด ทาหน้าที่เก็บอากาศเพื่อรอการใช้งาน ถังเก็บอากาศอัดนี้มีหลายขนาดแต่นิยมใช้กันโดยทั่วไปได้แก่ ขนาด 60-80 แกลลอน โดยทั่วไปจะมีทั้งสวิตช์อัตโนมัติติดตั้งอยู่ จึงสามารถป้ องกันอันตรายจากแรงดันที่สูงกินพิกัดได้ 5. ท่อลม ท่อลมที่นิยมใช้กับงานพ่นสี มีทั้งท่อแข็งและท่ออ่อน สาหรับงานขนาดใหญ่หรือขนาดกลาง เช่น ในโรงงานพ่นสีจะ ใช้ทั้งท่อแข็งและท่ออ่อน แต่กับงานเล็กจะใช้ท่ออ่อนเพียงอย่างเดียว สาหรับท่อแข็งนิยมใช้กันจะเป็นท่ออาบสังกะสี ใช้ต่อ ระหว่างเครื่องอดอากาศกับจุดที่ต้องการใช้งาน ส่วนท่ออ่อนจะนาไปต่อระหว่างจุดที่นาไปใช้งานกับปืนพ่นสี 6. เกรียงขูด-โป๊วสี เกรียงขูด-โป๊ วสีที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ดังรูปที่ 1.5 เป็นเกรียงเหล็กที่ไม่เพียงแต่จะใช้ขูด แต่ยังสามารถใช้ในการอุด โป๊ วตามรอยร้าวหรือรูพรุนต่างๆก่อนการทาสี รูปที่ 1.5 เกรียงขูด-โป๊วสีชนิดต่างๆ
  • 6. 7. กระป๋ องผสมสี กระผสมสี ดังรูปที่ 1.6 ส่วนใหญ่จะใช้กระป๋ องที่สะอาดแล้วและไม่เป็นสนิม ใช้สาหรับผสมสีต่างๆตามที่ต้องการ การใช้กระป๋ องผสมสีแยกต่างหากจากกระป๋ องสีก็เพื่อจะผสมได้อย่างอิสระ สามารถวัดหรือกาหนดส่วนผสมได้อย่างถูกต้อง แน่นอนและเพื่อที่จะผสมสีให้เข้ากันก่อนที่จะนาไปทา รูปที่ 1.6 แสดงกระป๋ องผสมสี และการคนสีที่ถูกวิธี 8. บันได บันได ดังรูปที่ 1.7 เป็นสิ่งจาเป็นมากกับงานสี โดยเฉพาะในที่สูงๆ บันไดที่ใช้อาจจะเป็นไม้หรือโลหะก็ได้แต่ควร จะมีที่วางหรือแขวนกระป๋ องสีได้ ในบางครั้งต้องใช้ไม้พาดเพื่อเดินทาสี ดังนั้นไม้ที่นามาพาดต้องมีความแข็งแรงอย่าง เพียงพอ รูปที่ 1.7 แสดงบันไดแบบต่างๆ และวิธีการทาสีบนบันได
  • 7. 9. นั่งร้าน นั่งร้าน ดังรูปที่ 1.8 จาเป็นมากในการทางานขนาดใหญ่หรืองานทาสีอาคารสู.ๆ ในบ้านเรานิยมทานั่งร้านชนิดไม้ไผ่ แต่ในปัจจุบันใช้เหล็กมาใช้ในการผลิตเพื่อความแข็งแรง รูปที่ 1.8 แสดงนั่งร้านแบบต่างๆ และการใช้นั่งร้าน