SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
ชาคริต สิทธิเวช
• มลพิษและวัตถุอันตราย
• กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
2
มลพิษและวัตถุอันตราย
3
มลพิษ
4
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“มลพิษ” หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวม
ทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่ง
กำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิด
หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็น
พิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความ
รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุ
รำคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย
5
วัตถุอันตราย
6
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิ
ไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุ
กัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุ
กัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็น
เคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช
ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
7
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้
(๑) วัตถุระเบิดได้
(๒) วัตถุไวไฟ
(๓) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์
(๔) วัตถุมีพิษ
(๕) วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
(๖) วัตถุกัมมันตรังสี
(๗) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
(๘) วัตถุกัดกร่อน
(๙) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
(๑๐) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
8
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
9
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
9
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
• นิยาม
• การควบคุมวัตถุอันตราย
• หน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง
10
นิยาม
11
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้
(๑) วัตถุระเบิดได้
(๒) วัตถุไวไฟ
(๓) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์
(๔) วัตถุมีพิษ
(๕) วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
(๖) วัตถุกัมมันตรังสี
(๗) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
(๘) วัตถุกัดกร่อน
(๙) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
(๑๐) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
12
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ผลิต” หมายความว่า ทำ เพาะ ปรุง ผสม แปรสภาพ ปรุงแต่ง แบ่งบรรจุ หรือรวมบรรจุ
“นำเข้า” หมายความว่า นำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรหรือนำผ่าน
“ส่งออก” หมายความว่า ส่งหรือดำเนินการเพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร
“ขาย” หมายความถึง การจำหน่าย จ่ายหรือแจกเพื่อประโยชน์ทางการค้า และให้
หมายความรวมถึงการมีไว้เพื่อขายด้วย
“มีไว้ในครอบครอง” หมายความว่า การมีไว้ในครอบครองไม่ว่าเพื่อตนเองหรือผู้อื่น
และไม่ว่าจะเป็นการมีไว้เพื่อขาย เพื่อขนส่ง เพื่อใช้ หรือเพื่อประการอื่นใด และรวมถึงการ
ทิ้งอยู่ หรือปรากฏอยู่ในบริเวณที่อยู่ในความครอบครองด้วย
13
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ฉลาก” หมายความว่า รูป รอยประดิษฐ์ หรือข้อความใด ๆ ซึ่ง
แสดงไว้ที่วัตถุอันตราย หรือภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุ หรือสอด
แทรก หรือรวมไว้กับวัตถุอันตราย หรือภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุ
และหมายความรวมถึงเอกสาร หรือคู่มือประกอบการใช้วัตถุอันตราย
ด้วย
14
คำถาม???
15
การควบคุมวัตถุอันตราย
16
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ควบคุม ส่ง
เสริมและติดตามดูแลการดำเนินงานของเลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการของคณะกรรมการวัตถุ
อันตรายในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้[if !supportFootnotes][๓][endif]
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตรา
ท้ายพระราชบัญญัตินี้ และยกเว้นค่าธรรมเนียมกับกำหนดกิจการอื่นกับออกประกาศ  ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติ
การตามพระราชบัญญัตินี้
ให้รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบมีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระ
ราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงหรือประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
17
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๑๖ ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่
บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม จะมีการตราพระราชกฤษฎีกา
กำหนดท้องที่เพื่อห้ามการครอบครอง การจำหน่าย หรือการใช้วัตถุ
อันตรายอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้
18
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๑๗ ให้จัดตั้งศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายขึ้นในกระทรวง
อุตสาหกรรม เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานในเรื่องข้อมูลของวัตถุ
อันตรายกับส่วนราชการต่าง ๆ รวมทั้งจากภาคเอกชน เพื่อรวบรวม
และให้บริการข้อมูลทุกชนิดเกี่ยวกับวัตถุอันตรายตั้งแต่การมีอยู่ใน
ต่างประเทศ การนำเข้าหรือการผลิตภายในประเทศ การเคลื่อนย้าย
การใช้สอย การทำลาย และการอื่นใดอันเกี่ยวเนื่อง
19
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕มาตรา ๑๘ วัตถุอันตรายแบ่งออกตามความจำเป็นแก่การควบคุม ดังนี้
(๑) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๑ ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง
ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด
(๒) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง
ต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดด้วย
(๓) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง
ต้องได้รับใบอนุญาต
(๔) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๔ ได้แก่วัตถุอันตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน
ครอบครอง
เพื่อประโยชน์แก่การป้องกันและระงับอันตรายที่อาจมีแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมโดยความเห็นของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุชื่อหรือ
คุณสมบัติของวัตถุอันตราย ชนิดของวัตถุอันตราย กำหนดเวลาการใช้บังคับและหน่วยงานผู้รับผิดชอบในการ
ควบคุมวัตถุอันตรายดังกล่าว
20
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๐ ให้รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๑) กำหนดปริมาณ องค์ประกอบ คุณสมบัติและสิ่งเจือปน ภาชนะบรรจุ วิธีตรวจ และทดสอบภาชนะ ฉลาก การ
ผลิต การนำเข้า การส่งออก การขาย การขนส่ง การเก็บรักษา การกำจัด การทำลาย การปฏิบัติกับภาชนะของวัตถุ
อันตราย การให้แจ้งข้อเท็จจริง การให้ส่งตัวอย่าง หรือการอื่นใดเกี่ยวกับวัตถุอันตรายเพื่อควบคุม ป้องกัน บรรเทา
หรือระงับอันตรายที่จะเกิดแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม โดยคำนึงถึงสนธิสัญญาและข้อผูกพันระหว่าง
ประเทศประกอบด้วย
(๑/๑) กำหนดให้มีการดำเนินการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวัตถุอันตรายและให้มีการประกันความเสียหายที่อาจเกิด
ขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย ชีวิต หรือทรัพย์สินซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการ
(๒) กำหนดให้มีผู้เชี่ยวชาญหรือบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบในการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตาม (๑) และ (๑/๑)
(๓) กำหนดเกณฑ์ค่าคลาดเคลื่อนจากปริมาณที่กำหนดไว้ของสาระสำคัญในวัตถุอันตราย
(๔) กำหนดขั้นตอนการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายดังกล่าว
(๕) ระบุชื่อหรือคุณสมบัติของวัตถุอันตรายและกรณีที่ได้รับการยกเว้นตามมาตรา ๓๖
21
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๐/๑ ผู้เชี่ยวชาญหรือบุคลากรเฉพาะซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ
ในการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธี
การและเงื่อนไขที่รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบกำหนดโดยความเห็นของคณะ
กรรมการโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
22
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๑ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่ง
วัตถุอันตรายชนิดที่ ๑ ต้องปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีผู้รับผิด
ชอบที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑) (๑/๑) (๒) และ (๓)
23
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๒ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๓๖ ห้ามผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่ง
วัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ เว้นแต่จะได้แจ้งความประสงค์จะดำเนินการดังกล่าวให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน
เมื่อได้มีประกาศระบุวัตถุใดเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ ให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบ
ครอง แจ้งการดำเนินการของตนที่กระทำอยู่ในขณะนั้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายในเวลาที่กำหนดใน
ประกาศดังกล่าว
เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกใบรับแจ้งเพื่อ
เป็นหลักฐานการแจ้งให้แก่ผู้แจ้ง โดยใบรับแจ้งให้ใช้ได้ตามระยะเวลาที่กำหนดในใบรับแจ้งระยะเวลาที่
กำหนดต้องไม่เกินสามปีนับแต่วันที่ออกใบรับแจ้ง
การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุ และการต่ออายุใบรับแจ้ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี
การที่หน่วยงานผู้รับผิดชอบกำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ ต้องปฏิบัติตามประกาศของ
รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑) (๑/๑) (๒) และ (๓) ด้วย
24
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๓ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๓๖ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก
หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงาน
เจ้าหน้าที่
การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดใน
กฎกระทรวง โดยในกฎกระทรวงดังกล่าวให้กำหนดกรณีที่พึงอนุญาตได้และกรณีที่จะ
อนุญาตไม่ได้ไว้ให้ชัดเจนเท่าที่จะกระทำได้ เว้นแต่กรณีจำเป็นที่ไม่อาจคาดหมาย
ได้ล่วงหน้าและให้กำหนดระยะเวลาสำหรับการพิจารณาอนุญาตให้ชัดเจนด้วย
ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ ต้อง
ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑) (๑/๑) (๒) และ
(๓) นั้นด้วย
25
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๔ เมื่อได้มีประกาศระบุชื่อวัตถุใดเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่
๓ ให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุ
อันตรายดังกล่าวยื่นคำขอรับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ ภายในเวลา
ที่กำหนดในประกาศดังกล่าว และในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวให้ผู้
นั้นประกอบกิจการไปพลางก่อนได้จนกว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งไม่
อนุญาตตามคำขอนั้น
26
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๕ ใบอนุญาตที่ออกไปแล้วนั้น ถ้าต่อมากฎหมายหรือ
พฤติการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปหรือมีเหตุสำคัญเพื่อคุ้มครองความ
ปลอดภัย ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจออกใบอนุญาตมีอำนาจสั่ง
แก้ไขเพิ่มเติมเงื่อนไขในการอนุญาตได้ตามความจำเป็น
27
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๖ ใบอนุญาตซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้ได้ตาม
ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต แต่มิให้กำหนดเกินสามปีนับแต่
วันออกใบอนุญาต
28
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๗ ผู้ได้รับใบอนุญาตถ้าประสงค์จะขอต่ออายุใบอนุญาต
จะต้องยื่นคำขอเสียก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคำขอดังกล่าว
แล้วให้ถือว่ามีฐานะเสมือนผู้ได้รับอนุญาตและให้ประกอบกิจการต่อ
ไปได้จนกว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งไม่ต่ออายุใบอนุญาตนั้น
การขอต่ออายุใบอนุญาตและการต่ออายุใบอนุญาต ให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
29
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๘ ในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่ต่อ
อายุใบอนุญาต ผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์
ต่อรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือจาก
พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการไม่อนุญาตหรือไม่ต่ออายุใบอนุญาต คำ
วินิจฉัยของรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบให้เป็นที่สุด
30
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมโดยความเห็นของคณะกรรมการประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษากำหนดรายชื่อของวัตถุอันตรายที่กระบวนการผลิตและลักษณะที่อาจก่อให้
เกิดอันตรายเป็นที่ทราบกันแน่ชัดโดยทั่วไป
การผลิต หรือการนำเข้า ซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ หรือชนิดที่ ๓ ที่อยู่นอกรายชื่อของประกาศ
ตามวรรคหนึ่ง จะต้องนำมาขอขึ้นทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนและเมื่อได้รับใบสำคัญการ
ขึ้นทะเบียนแล้ว ให้ผลิตหรือนำเข้าตามมาตรา ๒๒ หรือออกใบอนุญาตให้ผลิตหรือนำเข้าตาม
มาตรา ๒๓ ได้  ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีประกาศของรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบยกเว้นให้ไม่ต้องขึ้นทะเบียนอีก
ถ้ามีผู้ขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายอย่างเดียวกันนั้นไว้แล้วหรือในกรณีอื่นที่มีเหตุอันควร ใบสำคัญ
การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายให้มีอายุไม่เกินหกปีนับแต่วันที่ออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียน
การขอขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย การออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายและการต่ออายุ
ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีผู้รับผิด
ชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
31
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๗ ในกรณีที่การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายจำเป็นต้องผลิตหรือนำเข้า
มาซึ่งตัวอย่างวัตถุอันตรายที่จะขอขึ้นทะเบียนหรือต้องนำเข้ามาซึ่งวัตถุอันตราย
อย่างอื่นเพื่อใช้ในการผลิตวัตถุอันตรายที่จะขอขึ้นทะเบียน และวัตถุอันตราย
นั้นมีกฎหมายบังคับให้การผลิตหรือการนำเข้าต้องได้รับอนุญาตหรือต้องขึ้น
ทะเบียนเสียก่อน ผู้ขอขึ้นทะเบียนอาจขออนุญาตพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อผลิตหรือ
นำเข้าซึ่งวัตถุอันตรายนั้นได้ตามพระราชบัญญัตินี้โดยให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง
ปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการนั้น
การผลิตหรือการนำเข้ามาตามวรรคหนึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี
การที่รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการกำหนดโดยประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา
32
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๘ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่รับขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายเมื่อคณะกรรมการ
เห็นว่า
(๑) วัตถุอันตรายที่ขอขึ้นทะเบียนไม่เป็นที่เชื่อถือได้ว่ามีคุณประโยชน์ตามที่ขอขึ้น
ทะเบียนไว้ หรือหากนำมาใช้แล้วอาจเกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่ง
แวดล้อม โดยไม่มีวิธีปกติตามควรที่จะป้องกันได้
(๒) วัตถุอันตรายที่ขอขึ้นทะเบียนใช้ชื่อในทำนองโอ้อวด ไม่สุภาพ หรืออาจทำให้
เข้าใจผิดจากความเป็นจริง หรือ
(๓) วัตถุอันตรายที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นวัตถุอันตรายปลอม หรือเป็นวัตถุอันตรายที่
พนักงานเจ้าหน้าที่สั่งเพิกถอนทะเบียนแล้ว
คำสั่งไม่รับขึ้นทะเบียนของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นที่สุด
33
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๙ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองบุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์
หรือสิ่งแวดล้อม ให้พนักงานเจ้าหน้าที่โดยคำแนะนำของคณะ
กรรมการมีอำนาจสั่งแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุอันตรายได้ตามความ
จำเป็น
34
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๐ วัตถุอันตรายใดที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ต่อมาปรากฏว่า
ไม่มีประโยชน์ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรือหากนำมาใช้แล้วอาจเกิด
อันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อมโดยไม่มีวิธีปกติ
ตามควรที่จะป้องกันได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ โดยคำแนะนำของคณะ
กรรมการมีอำนาจเพิกถอนทะเบียนวัตถุอันตรายนั้นได้
คำสั่งเพิกถอนทะเบียนของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นที่สุด
เมื่อมีการเพิกถอนทะเบียนวัตถุอันตรายใดแล้ว สิทธิในการผลิต นำ
เข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายนั้นเป็นอันระงับไป
35
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๓ ห้ามผู้ใดผลิต นำเข้า หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย
ชนิดที่ ๔ เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบเฉพาะ
กรณีเพื่อใช้เป็นสารมาตรฐานในการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ การขอ
อนุญาต การอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่
รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบกำหนดโดยความเห็นของคณะกรรมการโดยประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ประกาศระบุวัตถุใดเป็นวัตถุ
อันตรายชนิดที่ ๔ ให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า หรือผู้มีไว้ในครอบครองปฏิบัติตามคำ
สั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ และให้นำมาตรา ๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
36
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๔ ให้รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการมี
อำนาจประกาศให้วัตถุอันตรายดังต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติ
ตามพระราชบัญญัตินี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนตามที่เห็นสมควรได้
(๑) วัตถุอันตรายซึ่งโดยลักษณะหรือปริมาณอาจก่อให้เกิดอันตราย
น้อยหรือซึ่งการบังคับตามมาตรการต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้จะก่อให้
เกิดภาระเกินความสมควร
(๒) วัตถุอันตรายของกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น
รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐ สภากาชาดไทย หรือหน่วยงานอื่นตามที่จะ
เห็นสมควรกำหนด
37
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๕ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่
๑ วัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ หรือวัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ ดังต่อไปนี้
(๑) วัตถุอันตรายปลอม
(๒) วัตถุอันตรายผิดมาตรฐาน
(๓) วัตถุอันตรายเสื่อมคุณภาพ
(๔) วัตถุอันตรายที่ต้องขึ้นทะเบียนแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้
(๕) วัตถุอันตรายที่ถูกสั่งเพิกถอนทะเบียน
การมีไว้ในครอบครองตามวรรคหนึ่งไม่หมายความรวมถึงการครอบครองขณะจะทำลาย
หรือการส่งมอบแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือการครอบครองเพื่อการอย่างอื่นตามหน้าที่ที่กำหนด
ในกฎหมาย
38
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ ผู้ใดรู้ว่าวัตถุอันตรายในความครอบครองของตนเป็น
วัตถุอันตรายตามมาตรา ๔๕ ผู้นั้นต้องทำลาย ต้องแจ้งต่อพนักงานเจ้า
หน้าที่ หรือต้องส่งมอบให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามหลักเกณฑ์และวิธี
การที่กำหนดในประกาศที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑)
39
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๗ วัตถุอันตรายหรือสิ่งดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุอันตรายปลอม
(๑) สิ่งที่ทำเทียมวัตถุอันตรายแท้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
(๒) วัตถุอันตรายที่แสดงชื่อว่าเป็นวัตถุอันตรายอื่น หรือแสดงกำหนดเวลาที่วัตถุอันตราย
หมดอายุการใช้เกินความเป็นจริง
(๓) วัตถุอันตรายที่แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผู้ผลิตหรือที่ตั้งของสถานที่ผลิตซึ่งมิใช่
ความจริง
(๔) วัตถุอันตรายที่แสดงว่าเป็นวัตถุอันตรายที่ขึ้นทะเบียนไว้ซึ่งมิใช่ความจริง
(๕)วัตถุอันตรายที่ผลิตขึ้นโดยมีสารสำคัญน้อยหรือมากกว่าเกณฑ์ค่าคลาดเคลื่อนตาม
มาตรา ๒๐ (๓) ในระดับที่รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการกำหนด โดย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
40
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๘ วัตถุอันตรายดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุอันตรายผิด
มาตรฐาน
(๑) วัตถุอันตรายที่ผลิตขึ้นโดยมีสารสำคัญน้อยหรือมากกว่าเกณฑ์
ค่าคลาดเคลื่อนตามมาตรา ๒๐ (๓) แต่ไม่ถึงระดับที่กำหนดตาม
มาตรา ๔๗ (๕)
(๒) วัตถุอันตรายที่ผลิตขึ้นโดยมีความบริสุทธิ์ สิ่งเจือปน หรือ
ลักษณะอื่นที่มีความสำคัญต่อคุณสมบัติของวัตถุอันตรายผิดไปจาก
เกณฑ์ที่กำหนดหรือที่ขึ้นทะเบียนไว้
41
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๙ วัตถุอันตรายดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุอันตรายเสื่อม
คุณภาพ
(๑) วัตถุอันตรายที่หมดอายุการใช้ตามที่แสดงไว้ในฉลาก
(๒) วัตถุอันตรายที่แปรสภาพจนมีลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุอันตราย
ปลอมตามมาตรา ๔๗ (๕) หรือวัตถุอันตรายผิดมาตรฐาน
42
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๐ เมื่อคณะกรรมการเห็นว่าฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา
๒๐ (๑) คณะกรรมการมีอำนาจสั่งให้ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าเลิกใช้ฉลาก
ดังกล่าว หรือดำเนินการแก้ไขฉลากนั้นให้ถูกต้อง
43
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๑ การควบคุมการโฆษณาวัตถุอันตรายให้เป็นไปตาม
กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค และเพื่อประโยชน์ในการ
ควบคุมโฆษณาให้ถือว่าวัตถุอันตรายที่มีการกำหนดฉลากตามมาตรา
๒๐ (๑) เป็นสินค้าที่มีการควบคุมฉลากโดยคณะกรรมการควบคุม
ฉลากตามกฎหมายดังกล่าวโดยอนุโลม
44
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๒ เมื่อปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายผู้ใด
ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้นั้นระงับการกระทำที่ฝ่าฝืน หรือแก้ไข หรือ
ปรับปรุง หรือปฏิบัติให้ถูกต้องได้ ในการนี้หากเป็นกรณีมีเหตุอันสมควร พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้นั้นส่งออกไปซึ่งวัตถุ
อันตรายนั้นเพื่อคืนให้แก่ผู้ผลิตหรือผู้จัดส่งวัตถุอันตรายนั้นมาให้ หรือเพื่อการอื่นตามความเหมาะสมก็ได้ โดยปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่พนักงานเจ้าหน้าที่กำหนด
เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าปรากฏว่าผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายดังกล่าวไม่
สามารถปฏิบัติให้ถูกต้องได้ ไม่ว่าเพราะไม่มีความสามารถหรือเพราะเหตุอื่นใด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้บุคคล
ดังกล่าวส่งมอบวัตถุอันตรายนั้นแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ที่กำหนด เพื่อทำลายหรือจัดการตามควรแก่กรณี โดยคำนึง
ถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากวัตถุอันตรายดังกล่าวด้วย
ในกรณีที่วัตถุอันตรายนั้นอาจจำหน่ายได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการขายทอดตลาดหรือขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ
ภายในสามเดือนนับแต่วันได้รับมอบ เงินที่ขายได้เมื่อหักค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา การจำหน่าย และค่าภาระที่เกี่ยวข้อง
แล้วให้เก็บไว้เพื่อคืนแก่เจ้าของ แต่ถ้าพ้นกำหนดสามเดือนดังกล่าวแล้วยังจำหน่ายไม่ได้หากพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่าการ
ผ่อนเวลาต่อไปจะเป็นอันตรายหรือภาระเกินควรก็ให้มีอำนาจสั่งให้ทำลายหรือจัดการตามควรแก่กรณี
ในกรณีที่ต้องทำลายหรือจัดการตามควรแก่กรณีหากมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นให้เจ้าของวัตถุอันตรายมีหน้าที่จ่ายหรือชดใช้
เงินจำนวนนั้นแก่ทางราชการ
45
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๒/๑ เมื่อปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้
ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย ประกอบกิจการอันมี
สภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนแก่
บุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในสถานประกอบการหรือที่อยู่ใกล้เคียงกับ
สถานประกอบการ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้นั้นดำเนิน
การแก้ไขการกระทำดังกล่าว โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการและ
เงื่อนไขที่พนักงานเจ้าหน้าที่กำหนด
46
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจดังต่อไปนี้
(๑) เข้าไปในสถานที่ประกอบการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย สถานที่ผลิตวัตถุอันตราย สถานที่เก็บรักษา
วัตถุอันตราย หรือสถานที่ที่สงสัยว่าเป็นสถานที่เช่นว่านั้นในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์
ตกหรือในเวลาทำการของสถานที่ดังกล่าว หรือเข้าไปในพาหนะที่บรรทุกวัตถุอันตรายหรือสงสัยว่า
บรรทุกวัตถุอันตราย เพื่อตรวจสอบวัตถุอันตราย ภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย สมุดบัญชี เอกสาร หรือสิ่ง
ใด ๆ ที่เกี่ยวกับวัตถุอันตราย
(๒) นำวัตถุอันตรายหรือวัตถุที่สงสัยว่าเป็นวัตถุอันตรายในปริมาณพอสมควรไปเป็นตัวอย่างเพื่อ
ตรวจสอบ
(๓) ตรวจค้น กัก ยึด หรืออายัดวัตถุอันตราย ภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย สมุดบัญชี เอกสารหรือสิ่ง
ใด ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่มีเหตุสงสัยว่ามีการกระทำผิดต่อพระราชบัญญัตินี้
(๔) มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ หรือให้ส่งเอกสารหรือวัตถุใด ๆ มาเพื่อประกอบการ
พิจารณาได้
47
คำถาม???
48
หน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง
49
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๗ บทบัญญัติในหมวดนี้ไม่เป็นการลบล้างหรือจำกัดหน้าที่
และความรับผิดทางแพ่งที่บุคคลมีอยู่ตามบทบัญญัติในหมวดอื่นหรือ
ของบทกฎหมายอื่น
50
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๙ ผู้ผลิตวัตถุอันตรายต้องระมัดระวังในการจัดหาวัตถุที่ใช้
ในการผลิต การกำหนดวิธีการและขั้นตอนที่วางใจได้ของการผลิต
การจัดให้มีภาชนะบรรจุที่มั่นคงแข็งแรงและปลอดภัยต่อการใช้ การ
เคลื่อนย้าย และการขนส่ง การจัดให้มีฉลากที่แสดงสภาพอันตราย
ของสิ่งนั้นที่ชัดเจนเพียงพอ ความเหมาะสมของการเก็บรักษา และการ
ตรวจสอบความเหมาะสมของผู้ที่รับมอบวัตถุอันตรายไปจากตนหรือผู้
ที่อาจคาดหมายได้ว่าอาจจะได้รับมอบวัตถุอันตรายดังกล่าว
51
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๐ ผู้นำเข้าวัตถุอันตรายต้องระมัดระวังในการเลือกหาผู้
ผลิต การตรวจสอบคุณภาพของวัตถุอันตราย การตรวจสอบความถูก
ต้องของภาชนะบรรจุและฉลาก การเลือกวิธีการขนส่งและผู้ขนส่ง
ความเหมาะสมของการเก็บรักษา และการตรวจสอบความเหมาะสม
ของผู้ที่รับมอบวัตถุอันตรายไปจากตนหรือผู้ที่อาจคาดหมายได้ว่าอาจ
จะได้รับมอบวัตถุอันตรายดังกล่าว
52
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๑ ผู้ขนส่งต้องระมัดระวังในการตรวจสอบความถูกต้องของ
สิ่งที่ใช้ในการขนส่งหรือยานพาหนะและอุปกรณ์ ความถูกต้องของ
ภาชนะบรรจุและฉลาก ความเหมาะสมของวิธีการขนส่ง ความถูกต้อง
ของการจัดวางบนยานพาหนะ และความไว้วางใจได้ของลูกจ้างหรือผู้
จัดทำการงานให้แก่ตนหรือร่วมกับตน
53
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๒ ผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายต้องระมัดระวังใน
การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าหรือผู้ที่จัดหาวัตถุ
อันตรายนั้นให้แก่ตน ความถูกต้องของภาชนะบรรจุและฉลาก ความ
เหมาะสมของการเก็บรักษาและความไว้วางใจได้ของผู้ที่รับมอบวัตถุ
อันตรายไปจากตนหรืออาจคาดหมายได้ว่าอาจจะได้รับมอบวัตถุ
อันตรายดังกล่าว
54
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๓ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ขนส่ง หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุ
อันตรายต้องรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแต่วัตถุอันตรายที่อยู่
ในความครอบครองของตน เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายนั้น
เกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือเกิดเพราะความผิดของผู้ต้องเสียหายนั้นเอง
55
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๔ ผู้ขายหรือผู้ส่งมอบวัตถุอันตรายให้กับบุคคลใด ต้องรับ
ผิดชอบเพื่อการเสียหายของบุคคลดังกล่าวอันเกิดแต่วัตถุอันตรายนั้น
เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายนั้นเกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือเกิด
เพราะความผิดของผู้ต้องเสียหายนั้นเอง
56
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๕ นายจ้าง ตัวการ ผู้ว่าจ้าง หรือเจ้าของกิจการต้องร่วมรับ
ผิดในผลแห่งละเมิดที่บุคคลตามมาตรา ๖๓ หรือมาตรา ๖๔ ได้กระทำ
ไปในการทำงานให้แก่ตน แต่ชอบที่จะได้ชดใช้จากบุคคลดังกล่าว
เว้นแต่ตนจะมีส่วนผิดในการสั่งให้ทำ การเลือกหาตัวบุคคล การ
ควบคุม หรือการอื่นอันมีผลโดยตรงให้เกิดการละเมิดขึ้นนั้น
57
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๖ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ขายส่ง ผู้ขายปลีก คนกลาง และผู้มี
ส่วนในการจำหน่ายจ่ายแจกทุกช่วงต่อจากผู้ผลิตจนถึงผู้ที่รับผิดชอบ
ขณะเกิดการละเมิดตามมาตรา ๖๓ หรือ มาตรา ๖๔ ต้องร่วมรับผิดใน
ผลแห่งการละเมิดด้วย
58
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๗ สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่วัตถุอันตรายตามพ
ระราชบัญญัตินี้เป็นอันขาดอายุความเมื่อพ้นสามปีนับแต่วันที่ผู้ต้อง
เสียหายรู้ถึงการเสียหายความเป็นวัตถุอันตรายและผู้พึงต้องใช้ค่า
สินไหมทดแทน
ถ้ามีการเจรจาเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทนที่พึงจ่ายระหว่างผู้ที่เข้าใจ
กันว่าต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนและผู้มีสิทธิได้ค่าสินไหม
ทดแทน ให้อายุความสะดุดหยุดอยู่จนกว่าจะปรากฏว่าการเจรจานั้น
ไม่อาจตกลงกันได้
59
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๘ ผู้ที่ต้องรับผิดตามมาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕
หรือมาตรา ๖๖ ที่ได้ชำระค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหายแล้ว ย่อม
มีสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้ที่ส่งมอบวัตถุอันตรายให้แก่ตน หรือแก่ผู้ซึ่ง
ทำงานให้แก่ตน และบรรดาผู้ที่มีส่วนในการส่งมอบวัตถุอันตรายดัง
กล่าวในลำดับต่าง ๆ ถัดขึ้นไปคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนก็ได้ไป
จนถึงผู้ผลิต โดยต้องใช้สิทธิไล่เบี้ยภายในสามปีนับแต่วันที่ตนได้
ชำระค่าสินไหมทดแทน แต่ถ้าผู้ใช้สิทธิไล่เบี้ยนั้นเป็นผู้ที่จงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อทำให้เกิดการละเมิดขึ้น ผู้นั้นจะมีสิทธิไล่เบี้ยเฉพาะ
ส่วนที่เกินจากความรับผิดโดยเฉพาะของตนเท่านั้น
60
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๙ ในกรณีที่วัตถุอันตรายก่อให้เกิดความเสียหายแก่
บุคคล สัตว์ พืช หรือสิ่งแวดล้อม ถ้ารัฐได้รับความเสียหายเพราะต้อง
เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าช่วยเหลือ เคลื่อนย้าย บำบัด บรรเทา หรือ
ขจัดความเสียหายให้เกิดการคืนสู่สภาพเดิมหรือสภาพที่ใกล้เคียงกับ
สภาพเดิม หรือเป็นความเสียหายต่อทรัพย์ไม่มีเจ้าของ หรือ
ทรัพยากรธรรมชาติ หรือเป็นความเสียหายต่อทรัพย์สินของแผ่นดิน
เมื่อได้รับคำร้องขอจากหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบวัตถุ
อันตรายดังกล่าวให้พนักงานอัยการมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหม
ทดแทนเพื่อความเสียหายของรัฐดังกล่าวได้
61
คำถาม???
62
การสอบปลายภาค
การสอบปลายภาค
วันอังคารที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙
เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.
ข้อสอบอัตนัย ๓ ข้อ
คะแนนตามจำนวนที่ปรากฏในตอนท้ายของข้อสอบแต่ละข้อ
นักศึกษาสามารถนำหนังสือ ตำรา บทความและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับ
วิชานี้เข้าไปในห้องสอบและใช้ประกอบการตอบข้อสอบได้
คำถาม???
64
สวัสดี
65

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)Nicha Nichakorn
 
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4pageใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยleemeanshun minzstar
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกพัน พัน
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20mintra_duangsamorn
 

What's hot (20)

เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4pageใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทย
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
หู
หูหู
หู
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 

More from Chacrit Sitdhiwej

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมChacrit Sitdhiwej
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 

กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย

  • 5. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “มลพิษ” หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวม ทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่ง กำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิด หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็น พิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความ รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุ รำคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย 5
  • 7. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิ ไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุ กัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุ กัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็น เคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม 7
  • 8. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้ (๑) วัตถุระเบิดได้ (๒) วัตถุไวไฟ (๓) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ (๔) วัตถุมีพิษ (๕) วัตถุที่ทำให้เกิดโรค (๖) วัตถุกัมมันตรังสี (๗) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (๘) วัตถุกัดกร่อน (๙) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (๑๐) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม 8
  • 11. • นิยาม • การควบคุมวัตถุอันตราย • หน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง 10
  • 13. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้ (๑) วัตถุระเบิดได้ (๒) วัตถุไวไฟ (๓) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ (๔) วัตถุมีพิษ (๕) วัตถุที่ทำให้เกิดโรค (๖) วัตถุกัมมันตรังสี (๗) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (๘) วัตถุกัดกร่อน (๙) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (๑๐) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม 12
  • 14. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ผลิต” หมายความว่า ทำ เพาะ ปรุง ผสม แปรสภาพ ปรุงแต่ง แบ่งบรรจุ หรือรวมบรรจุ “นำเข้า” หมายความว่า นำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรหรือนำผ่าน “ส่งออก” หมายความว่า ส่งหรือดำเนินการเพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร “ขาย” หมายความถึง การจำหน่าย จ่ายหรือแจกเพื่อประโยชน์ทางการค้า และให้ หมายความรวมถึงการมีไว้เพื่อขายด้วย “มีไว้ในครอบครอง” หมายความว่า การมีไว้ในครอบครองไม่ว่าเพื่อตนเองหรือผู้อื่น และไม่ว่าจะเป็นการมีไว้เพื่อขาย เพื่อขนส่ง เพื่อใช้ หรือเพื่อประการอื่นใด และรวมถึงการ ทิ้งอยู่ หรือปรากฏอยู่ในบริเวณที่อยู่ในความครอบครองด้วย 13
  • 15. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ฉลาก” หมายความว่า รูป รอยประดิษฐ์ หรือข้อความใด ๆ ซึ่ง แสดงไว้ที่วัตถุอันตราย หรือภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุ หรือสอด แทรก หรือรวมไว้กับวัตถุอันตราย หรือภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุ และหมายความรวมถึงเอกสาร หรือคู่มือประกอบการใช้วัตถุอันตราย ด้วย 14
  • 18. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ควบคุม ส่ง เสริมและติดตามดูแลการดำเนินงานของเลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการของคณะกรรมการวัตถุ อันตรายในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้[if !supportFootnotes][๓][endif] ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตรา ท้ายพระราชบัญญัตินี้ และยกเว้นค่าธรรมเนียมกับกำหนดกิจการอื่นกับออกประกาศ  ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติ การตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบมีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระ ราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงหรือประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ 17
  • 19. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๖ ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่ บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม จะมีการตราพระราชกฤษฎีกา กำหนดท้องที่เพื่อห้ามการครอบครอง การจำหน่าย หรือการใช้วัตถุ อันตรายอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ 18
  • 20. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๗ ให้จัดตั้งศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายขึ้นในกระทรวง อุตสาหกรรม เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานในเรื่องข้อมูลของวัตถุ อันตรายกับส่วนราชการต่าง ๆ รวมทั้งจากภาคเอกชน เพื่อรวบรวม และให้บริการข้อมูลทุกชนิดเกี่ยวกับวัตถุอันตรายตั้งแต่การมีอยู่ใน ต่างประเทศ การนำเข้าหรือการผลิตภายในประเทศ การเคลื่อนย้าย การใช้สอย การทำลาย และการอื่นใดอันเกี่ยวเนื่อง 19
  • 21. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕มาตรา ๑๘ วัตถุอันตรายแบ่งออกตามความจำเป็นแก่การควบคุม ดังนี้ (๑) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๑ ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด (๒) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง ต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดด้วย (๓) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง ต้องได้รับใบอนุญาต (๔) วัตถุอันตรายชนิดที่ ๔ ได้แก่วัตถุอันตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน ครอบครอง เพื่อประโยชน์แก่การป้องกันและระงับอันตรายที่อาจมีแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมโดยความเห็นของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุชื่อหรือ คุณสมบัติของวัตถุอันตราย ชนิดของวัตถุอันตราย กำหนดเวลาการใช้บังคับและหน่วยงานผู้รับผิดชอบในการ ควบคุมวัตถุอันตรายดังกล่าว 20
  • 22. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๐ ให้รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๑) กำหนดปริมาณ องค์ประกอบ คุณสมบัติและสิ่งเจือปน ภาชนะบรรจุ วิธีตรวจ และทดสอบภาชนะ ฉลาก การ ผลิต การนำเข้า การส่งออก การขาย การขนส่ง การเก็บรักษา การกำจัด การทำลาย การปฏิบัติกับภาชนะของวัตถุ อันตราย การให้แจ้งข้อเท็จจริง การให้ส่งตัวอย่าง หรือการอื่นใดเกี่ยวกับวัตถุอันตรายเพื่อควบคุม ป้องกัน บรรเทา หรือระงับอันตรายที่จะเกิดแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม โดยคำนึงถึงสนธิสัญญาและข้อผูกพันระหว่าง ประเทศประกอบด้วย (๑/๑) กำหนดให้มีการดำเนินการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวัตถุอันตรายและให้มีการประกันความเสียหายที่อาจเกิด ขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย ชีวิต หรือทรัพย์สินซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการ (๒) กำหนดให้มีผู้เชี่ยวชาญหรือบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบในการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตาม (๑) และ (๑/๑) (๓) กำหนดเกณฑ์ค่าคลาดเคลื่อนจากปริมาณที่กำหนดไว้ของสาระสำคัญในวัตถุอันตราย (๔) กำหนดขั้นตอนการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายดังกล่าว (๕) ระบุชื่อหรือคุณสมบัติของวัตถุอันตรายและกรณีที่ได้รับการยกเว้นตามมาตรา ๓๖ 21
  • 23. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๐/๑ ผู้เชี่ยวชาญหรือบุคลากรเฉพาะซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ ในการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธี การและเงื่อนไขที่รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบกำหนดโดยความเห็นของคณะ กรรมการโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22
  • 24. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๑ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่ง วัตถุอันตรายชนิดที่ ๑ ต้องปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีผู้รับผิด ชอบที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑) (๑/๑) (๒) และ (๓) 23
  • 25. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๒ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๓๖ ห้ามผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่ง วัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ เว้นแต่จะได้แจ้งความประสงค์จะดำเนินการดังกล่าวให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน เมื่อได้มีประกาศระบุวัตถุใดเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ ให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบ ครอง แจ้งการดำเนินการของตนที่กระทำอยู่ในขณะนั้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายในเวลาที่กำหนดใน ประกาศดังกล่าว เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกใบรับแจ้งเพื่อ เป็นหลักฐานการแจ้งให้แก่ผู้แจ้ง โดยใบรับแจ้งให้ใช้ได้ตามระยะเวลาที่กำหนดในใบรับแจ้งระยะเวลาที่ กำหนดต้องไม่เกินสามปีนับแต่วันที่ออกใบรับแจ้ง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุ และการต่ออายุใบรับแจ้ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่หน่วยงานผู้รับผิดชอบกำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ ต้องปฏิบัติตามประกาศของ รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑) (๑/๑) (๒) และ (๓) ด้วย 24
  • 26. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๓ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๓๖ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงาน เจ้าหน้าที่ การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดใน กฎกระทรวง โดยในกฎกระทรวงดังกล่าวให้กำหนดกรณีที่พึงอนุญาตได้และกรณีที่จะ อนุญาตไม่ได้ไว้ให้ชัดเจนเท่าที่จะกระทำได้ เว้นแต่กรณีจำเป็นที่ไม่อาจคาดหมาย ได้ล่วงหน้าและให้กำหนดระยะเวลาสำหรับการพิจารณาอนุญาตให้ชัดเจนด้วย ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ ต้อง ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑) (๑/๑) (๒) และ (๓) นั้นด้วย 25
  • 27. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๔ เมื่อได้มีประกาศระบุชื่อวัตถุใดเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ ให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุ อันตรายดังกล่าวยื่นคำขอรับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ ภายในเวลา ที่กำหนดในประกาศดังกล่าว และในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวให้ผู้ นั้นประกอบกิจการไปพลางก่อนได้จนกว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งไม่ อนุญาตตามคำขอนั้น 26
  • 28. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๕ ใบอนุญาตที่ออกไปแล้วนั้น ถ้าต่อมากฎหมายหรือ พฤติการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปหรือมีเหตุสำคัญเพื่อคุ้มครองความ ปลอดภัย ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจออกใบอนุญาตมีอำนาจสั่ง แก้ไขเพิ่มเติมเงื่อนไขในการอนุญาตได้ตามความจำเป็น 27
  • 29. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๖ ใบอนุญาตซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้ได้ตาม ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต แต่มิให้กำหนดเกินสามปีนับแต่ วันออกใบอนุญาต 28
  • 30. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๗ ผู้ได้รับใบอนุญาตถ้าประสงค์จะขอต่ออายุใบอนุญาต จะต้องยื่นคำขอเสียก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคำขอดังกล่าว แล้วให้ถือว่ามีฐานะเสมือนผู้ได้รับอนุญาตและให้ประกอบกิจการต่อ ไปได้จนกว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งไม่ต่ออายุใบอนุญาตนั้น การขอต่ออายุใบอนุญาตและการต่ออายุใบอนุญาต ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง 29
  • 31. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๘ ในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่ต่อ อายุใบอนุญาต ผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์ ต่อรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือจาก พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการไม่อนุญาตหรือไม่ต่ออายุใบอนุญาต คำ วินิจฉัยของรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบให้เป็นที่สุด 30
  • 32. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมโดยความเห็นของคณะกรรมการประกาศ ในราชกิจจานุเบกษากำหนดรายชื่อของวัตถุอันตรายที่กระบวนการผลิตและลักษณะที่อาจก่อให้ เกิดอันตรายเป็นที่ทราบกันแน่ชัดโดยทั่วไป การผลิต หรือการนำเข้า ซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ หรือชนิดที่ ๓ ที่อยู่นอกรายชื่อของประกาศ ตามวรรคหนึ่ง จะต้องนำมาขอขึ้นทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนและเมื่อได้รับใบสำคัญการ ขึ้นทะเบียนแล้ว ให้ผลิตหรือนำเข้าตามมาตรา ๒๒ หรือออกใบอนุญาตให้ผลิตหรือนำเข้าตาม มาตรา ๒๓ ได้  ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีประกาศของรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบยกเว้นให้ไม่ต้องขึ้นทะเบียนอีก ถ้ามีผู้ขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายอย่างเดียวกันนั้นไว้แล้วหรือในกรณีอื่นที่มีเหตุอันควร ใบสำคัญ การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายให้มีอายุไม่เกินหกปีนับแต่วันที่ออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียน การขอขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย การออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายและการต่ออายุ ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีผู้รับผิด ชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา 31
  • 33. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๗ ในกรณีที่การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายจำเป็นต้องผลิตหรือนำเข้า มาซึ่งตัวอย่างวัตถุอันตรายที่จะขอขึ้นทะเบียนหรือต้องนำเข้ามาซึ่งวัตถุอันตราย อย่างอื่นเพื่อใช้ในการผลิตวัตถุอันตรายที่จะขอขึ้นทะเบียน และวัตถุอันตราย นั้นมีกฎหมายบังคับให้การผลิตหรือการนำเข้าต้องได้รับอนุญาตหรือต้องขึ้น ทะเบียนเสียก่อน ผู้ขอขึ้นทะเบียนอาจขออนุญาตพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อผลิตหรือ นำเข้าซึ่งวัตถุอันตรายนั้นได้ตามพระราชบัญญัตินี้โดยให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง ปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการนั้น การผลิตหรือการนำเข้ามาตามวรรคหนึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการกำหนดโดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา 32
  • 34. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๘ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่รับขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายเมื่อคณะกรรมการ เห็นว่า (๑) วัตถุอันตรายที่ขอขึ้นทะเบียนไม่เป็นที่เชื่อถือได้ว่ามีคุณประโยชน์ตามที่ขอขึ้น ทะเบียนไว้ หรือหากนำมาใช้แล้วอาจเกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่ง แวดล้อม โดยไม่มีวิธีปกติตามควรที่จะป้องกันได้ (๒) วัตถุอันตรายที่ขอขึ้นทะเบียนใช้ชื่อในทำนองโอ้อวด ไม่สุภาพ หรืออาจทำให้ เข้าใจผิดจากความเป็นจริง หรือ (๓) วัตถุอันตรายที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นวัตถุอันตรายปลอม หรือเป็นวัตถุอันตรายที่ พนักงานเจ้าหน้าที่สั่งเพิกถอนทะเบียนแล้ว คำสั่งไม่รับขึ้นทะเบียนของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นที่สุด 33
  • 35. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๙ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองบุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม ให้พนักงานเจ้าหน้าที่โดยคำแนะนำของคณะ กรรมการมีอำนาจสั่งแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุอันตรายได้ตามความ จำเป็น 34
  • 36. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๐ วัตถุอันตรายใดที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ต่อมาปรากฏว่า ไม่มีประโยชน์ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรือหากนำมาใช้แล้วอาจเกิด อันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อมโดยไม่มีวิธีปกติ ตามควรที่จะป้องกันได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ โดยคำแนะนำของคณะ กรรมการมีอำนาจเพิกถอนทะเบียนวัตถุอันตรายนั้นได้ คำสั่งเพิกถอนทะเบียนของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นที่สุด เมื่อมีการเพิกถอนทะเบียนวัตถุอันตรายใดแล้ว สิทธิในการผลิต นำ เข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายนั้นเป็นอันระงับไป 35
  • 37. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๓ ห้ามผู้ใดผลิต นำเข้า หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย ชนิดที่ ๔ เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบเฉพาะ กรณีเพื่อใช้เป็นสารมาตรฐานในการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ การขอ อนุญาต การอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบกำหนดโดยความเห็นของคณะกรรมการโดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ประกาศระบุวัตถุใดเป็นวัตถุ อันตรายชนิดที่ ๔ ให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า หรือผู้มีไว้ในครอบครองปฏิบัติตามคำ สั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ และให้นำมาตรา ๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม 36
  • 38. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๔ ให้รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการมี อำนาจประกาศให้วัตถุอันตรายดังต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตินี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนตามที่เห็นสมควรได้ (๑) วัตถุอันตรายซึ่งโดยลักษณะหรือปริมาณอาจก่อให้เกิดอันตราย น้อยหรือซึ่งการบังคับตามมาตรการต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้จะก่อให้ เกิดภาระเกินความสมควร (๒) วัตถุอันตรายของกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐ สภากาชาดไทย หรือหน่วยงานอื่นตามที่จะ เห็นสมควรกำหนด 37
  • 39. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๕ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ ๑ วัตถุอันตรายชนิดที่ ๒ หรือวัตถุอันตรายชนิดที่ ๓ ดังต่อไปนี้ (๑) วัตถุอันตรายปลอม (๒) วัตถุอันตรายผิดมาตรฐาน (๓) วัตถุอันตรายเสื่อมคุณภาพ (๔) วัตถุอันตรายที่ต้องขึ้นทะเบียนแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้ (๕) วัตถุอันตรายที่ถูกสั่งเพิกถอนทะเบียน การมีไว้ในครอบครองตามวรรคหนึ่งไม่หมายความรวมถึงการครอบครองขณะจะทำลาย หรือการส่งมอบแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือการครอบครองเพื่อการอย่างอื่นตามหน้าที่ที่กำหนด ในกฎหมาย 38
  • 40. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ ผู้ใดรู้ว่าวัตถุอันตรายในความครอบครองของตนเป็น วัตถุอันตรายตามมาตรา ๔๕ ผู้นั้นต้องทำลาย ต้องแจ้งต่อพนักงานเจ้า หน้าที่ หรือต้องส่งมอบให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่กำหนดในประกาศที่ออกตามมาตรา ๒๐ (๑) 39
  • 41. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๗ วัตถุอันตรายหรือสิ่งดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุอันตรายปลอม (๑) สิ่งที่ทำเทียมวัตถุอันตรายแท้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน (๒) วัตถุอันตรายที่แสดงชื่อว่าเป็นวัตถุอันตรายอื่น หรือแสดงกำหนดเวลาที่วัตถุอันตราย หมดอายุการใช้เกินความเป็นจริง (๓) วัตถุอันตรายที่แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผู้ผลิตหรือที่ตั้งของสถานที่ผลิตซึ่งมิใช่ ความจริง (๔) วัตถุอันตรายที่แสดงว่าเป็นวัตถุอันตรายที่ขึ้นทะเบียนไว้ซึ่งมิใช่ความจริง (๕)วัตถุอันตรายที่ผลิตขึ้นโดยมีสารสำคัญน้อยหรือมากกว่าเกณฑ์ค่าคลาดเคลื่อนตาม มาตรา ๒๐ (๓) ในระดับที่รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของคณะกรรมการกำหนด โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 40
  • 42. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๘ วัตถุอันตรายดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุอันตรายผิด มาตรฐาน (๑) วัตถุอันตรายที่ผลิตขึ้นโดยมีสารสำคัญน้อยหรือมากกว่าเกณฑ์ ค่าคลาดเคลื่อนตามมาตรา ๒๐ (๓) แต่ไม่ถึงระดับที่กำหนดตาม มาตรา ๔๗ (๕) (๒) วัตถุอันตรายที่ผลิตขึ้นโดยมีความบริสุทธิ์ สิ่งเจือปน หรือ ลักษณะอื่นที่มีความสำคัญต่อคุณสมบัติของวัตถุอันตรายผิดไปจาก เกณฑ์ที่กำหนดหรือที่ขึ้นทะเบียนไว้ 41
  • 43. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๙ วัตถุอันตรายดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุอันตรายเสื่อม คุณภาพ (๑) วัตถุอันตรายที่หมดอายุการใช้ตามที่แสดงไว้ในฉลาก (๒) วัตถุอันตรายที่แปรสภาพจนมีลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุอันตราย ปลอมตามมาตรา ๔๗ (๕) หรือวัตถุอันตรายผิดมาตรฐาน 42
  • 44. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๐ เมื่อคณะกรรมการเห็นว่าฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา ๒๐ (๑) คณะกรรมการมีอำนาจสั่งให้ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าเลิกใช้ฉลาก ดังกล่าว หรือดำเนินการแก้ไขฉลากนั้นให้ถูกต้อง 43
  • 45. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๑ การควบคุมการโฆษณาวัตถุอันตรายให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค และเพื่อประโยชน์ในการ ควบคุมโฆษณาให้ถือว่าวัตถุอันตรายที่มีการกำหนดฉลากตามมาตรา ๒๐ (๑) เป็นสินค้าที่มีการควบคุมฉลากโดยคณะกรรมการควบคุม ฉลากตามกฎหมายดังกล่าวโดยอนุโลม 44
  • 46. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๒ เมื่อปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายผู้ใด ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้นั้นระงับการกระทำที่ฝ่าฝืน หรือแก้ไข หรือ ปรับปรุง หรือปฏิบัติให้ถูกต้องได้ ในการนี้หากเป็นกรณีมีเหตุอันสมควร พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้นั้นส่งออกไปซึ่งวัตถุ อันตรายนั้นเพื่อคืนให้แก่ผู้ผลิตหรือผู้จัดส่งวัตถุอันตรายนั้นมาให้ หรือเพื่อการอื่นตามความเหมาะสมก็ได้ โดยปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่พนักงานเจ้าหน้าที่กำหนด เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าปรากฏว่าผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายดังกล่าวไม่ สามารถปฏิบัติให้ถูกต้องได้ ไม่ว่าเพราะไม่มีความสามารถหรือเพราะเหตุอื่นใด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้บุคคล ดังกล่าวส่งมอบวัตถุอันตรายนั้นแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ที่กำหนด เพื่อทำลายหรือจัดการตามควรแก่กรณี โดยคำนึง ถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากวัตถุอันตรายดังกล่าวด้วย ในกรณีที่วัตถุอันตรายนั้นอาจจำหน่ายได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการขายทอดตลาดหรือขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ ภายในสามเดือนนับแต่วันได้รับมอบ เงินที่ขายได้เมื่อหักค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา การจำหน่าย และค่าภาระที่เกี่ยวข้อง แล้วให้เก็บไว้เพื่อคืนแก่เจ้าของ แต่ถ้าพ้นกำหนดสามเดือนดังกล่าวแล้วยังจำหน่ายไม่ได้หากพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่าการ ผ่อนเวลาต่อไปจะเป็นอันตรายหรือภาระเกินควรก็ให้มีอำนาจสั่งให้ทำลายหรือจัดการตามควรแก่กรณี ในกรณีที่ต้องทำลายหรือจัดการตามควรแก่กรณีหากมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นให้เจ้าของวัตถุอันตรายมีหน้าที่จ่ายหรือชดใช้ เงินจำนวนนั้นแก่ทางราชการ 45
  • 47. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๒/๑ เมื่อปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย ประกอบกิจการอันมี สภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนแก่ บุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในสถานประกอบการหรือที่อยู่ใกล้เคียงกับ สถานประกอบการ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้นั้นดำเนิน การแก้ไขการกระทำดังกล่าว โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่พนักงานเจ้าหน้าที่กำหนด 46
  • 48. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจดังต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานที่ประกอบการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย สถานที่ผลิตวัตถุอันตราย สถานที่เก็บรักษา วัตถุอันตราย หรือสถานที่ที่สงสัยว่าเป็นสถานที่เช่นว่านั้นในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ ตกหรือในเวลาทำการของสถานที่ดังกล่าว หรือเข้าไปในพาหนะที่บรรทุกวัตถุอันตรายหรือสงสัยว่า บรรทุกวัตถุอันตราย เพื่อตรวจสอบวัตถุอันตราย ภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย สมุดบัญชี เอกสาร หรือสิ่ง ใด ๆ ที่เกี่ยวกับวัตถุอันตราย (๒) นำวัตถุอันตรายหรือวัตถุที่สงสัยว่าเป็นวัตถุอันตรายในปริมาณพอสมควรไปเป็นตัวอย่างเพื่อ ตรวจสอบ (๓) ตรวจค้น กัก ยึด หรืออายัดวัตถุอันตราย ภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย สมุดบัญชี เอกสารหรือสิ่ง ใด ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่มีเหตุสงสัยว่ามีการกระทำผิดต่อพระราชบัญญัตินี้ (๔) มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ หรือให้ส่งเอกสารหรือวัตถุใด ๆ มาเพื่อประกอบการ พิจารณาได้ 47
  • 51. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๗ บทบัญญัติในหมวดนี้ไม่เป็นการลบล้างหรือจำกัดหน้าที่ และความรับผิดทางแพ่งที่บุคคลมีอยู่ตามบทบัญญัติในหมวดอื่นหรือ ของบทกฎหมายอื่น 50
  • 52. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๙ ผู้ผลิตวัตถุอันตรายต้องระมัดระวังในการจัดหาวัตถุที่ใช้ ในการผลิต การกำหนดวิธีการและขั้นตอนที่วางใจได้ของการผลิต การจัดให้มีภาชนะบรรจุที่มั่นคงแข็งแรงและปลอดภัยต่อการใช้ การ เคลื่อนย้าย และการขนส่ง การจัดให้มีฉลากที่แสดงสภาพอันตราย ของสิ่งนั้นที่ชัดเจนเพียงพอ ความเหมาะสมของการเก็บรักษา และการ ตรวจสอบความเหมาะสมของผู้ที่รับมอบวัตถุอันตรายไปจากตนหรือผู้ ที่อาจคาดหมายได้ว่าอาจจะได้รับมอบวัตถุอันตรายดังกล่าว 51
  • 53. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๐ ผู้นำเข้าวัตถุอันตรายต้องระมัดระวังในการเลือกหาผู้ ผลิต การตรวจสอบคุณภาพของวัตถุอันตราย การตรวจสอบความถูก ต้องของภาชนะบรรจุและฉลาก การเลือกวิธีการขนส่งและผู้ขนส่ง ความเหมาะสมของการเก็บรักษา และการตรวจสอบความเหมาะสม ของผู้ที่รับมอบวัตถุอันตรายไปจากตนหรือผู้ที่อาจคาดหมายได้ว่าอาจ จะได้รับมอบวัตถุอันตรายดังกล่าว 52
  • 54. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๑ ผู้ขนส่งต้องระมัดระวังในการตรวจสอบความถูกต้องของ สิ่งที่ใช้ในการขนส่งหรือยานพาหนะและอุปกรณ์ ความถูกต้องของ ภาชนะบรรจุและฉลาก ความเหมาะสมของวิธีการขนส่ง ความถูกต้อง ของการจัดวางบนยานพาหนะ และความไว้วางใจได้ของลูกจ้างหรือผู้ จัดทำการงานให้แก่ตนหรือร่วมกับตน 53
  • 55. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๒ ผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายต้องระมัดระวังใน การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าหรือผู้ที่จัดหาวัตถุ อันตรายนั้นให้แก่ตน ความถูกต้องของภาชนะบรรจุและฉลาก ความ เหมาะสมของการเก็บรักษาและความไว้วางใจได้ของผู้ที่รับมอบวัตถุ อันตรายไปจากตนหรืออาจคาดหมายได้ว่าอาจจะได้รับมอบวัตถุ อันตรายดังกล่าว 54
  • 56. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๓ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ขนส่ง หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุ อันตรายต้องรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแต่วัตถุอันตรายที่อยู่ ในความครอบครองของตน เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายนั้น เกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือเกิดเพราะความผิดของผู้ต้องเสียหายนั้นเอง 55
  • 57. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๔ ผู้ขายหรือผู้ส่งมอบวัตถุอันตรายให้กับบุคคลใด ต้องรับ ผิดชอบเพื่อการเสียหายของบุคคลดังกล่าวอันเกิดแต่วัตถุอันตรายนั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายนั้นเกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือเกิด เพราะความผิดของผู้ต้องเสียหายนั้นเอง 56
  • 58. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๕ นายจ้าง ตัวการ ผู้ว่าจ้าง หรือเจ้าของกิจการต้องร่วมรับ ผิดในผลแห่งละเมิดที่บุคคลตามมาตรา ๖๓ หรือมาตรา ๖๔ ได้กระทำ ไปในการทำงานให้แก่ตน แต่ชอบที่จะได้ชดใช้จากบุคคลดังกล่าว เว้นแต่ตนจะมีส่วนผิดในการสั่งให้ทำ การเลือกหาตัวบุคคล การ ควบคุม หรือการอื่นอันมีผลโดยตรงให้เกิดการละเมิดขึ้นนั้น 57
  • 59. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๖ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ขายส่ง ผู้ขายปลีก คนกลาง และผู้มี ส่วนในการจำหน่ายจ่ายแจกทุกช่วงต่อจากผู้ผลิตจนถึงผู้ที่รับผิดชอบ ขณะเกิดการละเมิดตามมาตรา ๖๓ หรือ มาตรา ๖๔ ต้องร่วมรับผิดใน ผลแห่งการละเมิดด้วย 58
  • 60. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๗ สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่วัตถุอันตรายตามพ ระราชบัญญัตินี้เป็นอันขาดอายุความเมื่อพ้นสามปีนับแต่วันที่ผู้ต้อง เสียหายรู้ถึงการเสียหายความเป็นวัตถุอันตรายและผู้พึงต้องใช้ค่า สินไหมทดแทน ถ้ามีการเจรจาเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทนที่พึงจ่ายระหว่างผู้ที่เข้าใจ กันว่าต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนและผู้มีสิทธิได้ค่าสินไหม ทดแทน ให้อายุความสะดุดหยุดอยู่จนกว่าจะปรากฏว่าการเจรจานั้น ไม่อาจตกลงกันได้ 59
  • 61. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๘ ผู้ที่ต้องรับผิดตามมาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ หรือมาตรา ๖๖ ที่ได้ชำระค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหายแล้ว ย่อม มีสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้ที่ส่งมอบวัตถุอันตรายให้แก่ตน หรือแก่ผู้ซึ่ง ทำงานให้แก่ตน และบรรดาผู้ที่มีส่วนในการส่งมอบวัตถุอันตรายดัง กล่าวในลำดับต่าง ๆ ถัดขึ้นไปคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนก็ได้ไป จนถึงผู้ผลิต โดยต้องใช้สิทธิไล่เบี้ยภายในสามปีนับแต่วันที่ตนได้ ชำระค่าสินไหมทดแทน แต่ถ้าผู้ใช้สิทธิไล่เบี้ยนั้นเป็นผู้ที่จงใจหรือ ประมาทเลินเล่อทำให้เกิดการละเมิดขึ้น ผู้นั้นจะมีสิทธิไล่เบี้ยเฉพาะ ส่วนที่เกินจากความรับผิดโดยเฉพาะของตนเท่านั้น 60
  • 62. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๙ ในกรณีที่วัตถุอันตรายก่อให้เกิดความเสียหายแก่ บุคคล สัตว์ พืช หรือสิ่งแวดล้อม ถ้ารัฐได้รับความเสียหายเพราะต้อง เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าช่วยเหลือ เคลื่อนย้าย บำบัด บรรเทา หรือ ขจัดความเสียหายให้เกิดการคืนสู่สภาพเดิมหรือสภาพที่ใกล้เคียงกับ สภาพเดิม หรือเป็นความเสียหายต่อทรัพย์ไม่มีเจ้าของ หรือ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือเป็นความเสียหายต่อทรัพย์สินของแผ่นดิน เมื่อได้รับคำร้องขอจากหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบวัตถุ อันตรายดังกล่าวให้พนักงานอัยการมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหม ทดแทนเพื่อความเสียหายของรัฐดังกล่าวได้ 61
  • 65. การสอบปลายภาค วันอังคารที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. ข้อสอบอัตนัย ๓ ข้อ คะแนนตามจำนวนที่ปรากฏในตอนท้ายของข้อสอบแต่ละข้อ นักศึกษาสามารถนำหนังสือ ตำรา บทความและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับ วิชานี้เข้าไปในห้องสอบและใช้ประกอบการตอบข้อสอบได้