SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
1
บทที่ 1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญ
ข้าว คือพืชอาหารที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาช้านาน เป็นอาหารหลักที่สาคัญของชนชาติต่างๆ
ทั่วโลก ยิ่งปัจจุบันกล่าวได้ว่าเป็นยุคทองของชาวนาไทยก็ว่าได้ ที่ข้าวในตลาดโลก
มีราคาสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ ประเทศไทยผลิตข้าวได้มากเป็นอันดับ 6 ของโลก รองจากจีน
อินเดีย อินโดนีเซีย บังคลาเทศ และเวียดนาม แต่ไทยสามารถส่งออก
ข้าวได้เป็นอันดับหนึ่งของโลก รองลงมา คือ อินเดีย และเวียดนาม ข้อมูลในปี 2549
จากสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระบุว่าไทยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าว
67.05 ล้านไร่ ผลผลิตรวม 29.43 ล้านตัน ผลผลิตเฉลี่ยคือ 439
กิโลกรัมต่อไร่อาชีพเกษตรกรในปัจจุบันถือเป็นอาชีพหลักของประชากรส่วนมากในประเทศไทยแ
ละในขณะเดียวกันประเทศไทยก็เป็นประเทศที่ส่งออกข้าวเป็นอันดับต้นๆของโลกในปีหนึ่งประเท
ศไทยได้ส่งออกข้าวมากกว่า 35
ล้านตันข้าวของไทยได้ขึ้นชื่อว่าเป็นข้าวที่อร่อยที่สุดในโลกซึ่งรากฐานที่ทาให้ได้ข้าวที่มีคุณภาพดีนั้
นก็มาจากเกษตรกว่าที่เกษตรกรจะปลูกข้าวได้ผลผลิตที่ตรงตามจุดประสงค์
ต้องเริ่มจากการจัดเรียงพันธุ์ข้าวการคัดพันธุ์ข้าว การหาซื้อพันธุ์ข้าว
เมื่อได้เมล็ดพันธุ์ข้าวแล้วยังต้องเลือกดินที่เหมาะสมโดยดินที่มีค่า PHอยู่ในระดับที่จะปลูกข้าวได้
ซึ่งดินจะปลูกข้าวได้ดีต้องมีค่า PH ประมาณ 6.5
เมล็ดพันธุ์ข้าวมีความสาคัญในการที่จะปลูกเป็นอย่างมาก
โดยที่ถ้านาเมล็ดพันธุ์ไปปลูกลงดินในดินที่มีสภาพดินไม่เหมาะสมจะทาให้ต้นข้าวเจริญเติบโตช้า
หากเจริญเติบโตแล้วก็จะทาให้มีใบเหลืองและยังก่อให้เกิดโรคของข้าวต่างๆตามมา
เป็นอีกสาเหตุที่ทาให้เกษตรต้องใช้สารเคมีเพื่อที่จะให้ข้าวเจริญเติบโตและไม่มีใบเหลือง
2
แต่ถ้าหากเกษตรมีความรู้เรื่องพันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพดินจะทาให้เกษตรช่วยลดค่าปุ๋ยเคมีและยัง
สามารถได้เมล็ดข้าวที่ปลอดภัยและปลอดภัยและปลอดสารเคมีแถมยังได้ผลผลิตที่ดีอีกด้วย
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความคิดที่จะศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์ข้าวและสภาพดินที่เหมาะสมแล้วนาความรู้ที่ไ
ด้มาเผยแพร่เพื่อเพิ่มรายได้แก่เกษตรที่สนใจต่อไป
วัตถุประสงค์ของงำนวิจัย
1.เพื่อทราบพันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
2.เพื่อที่จะเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
ขอบเขตกำรวิจัย
1.3.1 สถานที่
ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เกษตรอาเภอท่าตูม เกษตรกรหมู่บ้านหนองเรือ
1.3.2 ระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.ได้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
2.ได้นาความรู้จากการศึกษาไปเผยแพร่กับเกษตรกรในแต่ละหมู่บ้านที่ใกล้เคียง
3
บทที่ 2
ทฤษฏีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
1.พันธุ์ข้ำว
พันธุ์ข้าวเป็น
ปัจจัยหนึ่งที่มีความสาคัญอันดับแรกในการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตข้าว
โดยไม่ต้องเพิ่มต้นทุนการผลิต ถ้าหากว่ามีพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ ทั้งข้าวคุณภาพดี
ข้าวคุณภาพปานกลาง ข้าวคุณภาพต่า และข้าวคุณภาพพิเศษ
ที่ตรงกับความต้องการของตลาดและเพื่อทาผลิตภัณฑ์มีความต้านทานต่อโรคแมลง
และมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่นแล้วจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายใน
การผลิตข้าวหรือเป็นการลดต้นทุนการผลิตข้าวได้เป็นอย่างดี
จากอดีต ถึง ปัจจุบัน สานักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว
ได้ดาเนินงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวมาอย่างต่อเนื่องจนได้ข้าวพันธุ์รับรอง พันธุ์แนะนาและพันธุ์ทั่วไป
ให้เกษตรกรปลูกในระบบนิเวศต่างๆ ซึ่งมีทั้งพันธุ์ข้าวนาสวน ข้าวไร่ ข้าวขึ้นน้า ข้าวน้าลึก
ธัญพืชเมืองหนาว และข้าวญี่ปุ่น จานวน 93พันธุ์ ดังนี้
4
ข้าวนาสวน พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 35 พันธุ์
ข้าวนาสวน พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 29 พันธุ์
ข้าวขึ้นน้า พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 5 พันธุ์
ข้าวน้าลึก พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 5 พันธุ์
ข้าวน้าลึก พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์
ข้าวไร่ พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 7 พันธุ์
ข้าวไร่ พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์
ข้าวแดงหอม พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์
ข้าวแดงหอม พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์
ข้าวญี่ปุ่น จานวน 2 พันธุ์
ข้าวสาลี จานวน 4 พันธุ์
ข้าวบาร์เลย์ จานวน 2 พันธุ์
พันธุ์เป็นข้าวหอม พันธุ์ข้าวส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่ให้ีผลผลิตสูง
มีความต้านทานต่อโรคและแมลงที่สาคัญ มีคุณภาพการหุงต้มตามความต้องการของผู้บริโภค
ตลอดจนทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหาสาคัญ
อย่างไรก็ตามงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวยังคงต้องดาเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง
เพราะพันธุ์ที่ออกแนะนาแล้วปัจจุบันบางพันธุ์เกษตรกรอาจจะยังคงนิยมปลูกอยู่
แต่บางพันธุ์เกษตรกรอาจเลิกปลูก เนื่องจากมีข้อด้อยบางประการ
การนาเอาพันธุ์ข้าวเหล่านั้นไปใช้ของเกษตรกรจึงเป็นไปในลักษณะของการแก้
ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะที่ออกพันธุ์ข้าวนั้นเท่านั้น
รวมทั้งบางพันธุ์เมื่อแนะนาให้ปลูกไปในช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้วอาจไม่มีความ
เหมาะสมในระยะเวลาต่อมา เนื่องจากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง หรือโรค
5
แมลงศัตรูข้าวมีการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งต้องหาพันธุ์ที่มีคุณภาพดีตามความต้องการของตลาดโลก
และมีศักยภาพในการแข่งขันกับตลาดโลกได้ จึงต้องดาเนินงานปรับปรุงพันธุ์โดยไม่มีที่สิ้นสุด
ชนิดของพันธุ์ข้ำว
1) แบ่งตามนิเวศน์การปลูก
ข้าวนาสวน
ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้าขังหรือกักเก็บน้าได้ระดับน้าลึกไม่เกิน 50เซนติเมตร
ข้าวนาสวนมีปลูกทุกภาคของประเทศไทย แบ่งออกเป็น ข้าวนาสวนนาน้าฝน
และข้าวนาสวนนาชลประทาน
ข้าวนาสวนนาน้าฝน
ข้าวที่ปลูกในฤดูนาปี และอาศัยน้าฝนตามธรรมชาติ ไม่สามารถควบคุมระดับน้าได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
การกระจายตัวของฝน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาน้าฝนประมาณ 70%
ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด
ข้าวนาสวนนาชลประทาน
ข้าวที่ปลูกได้ตลอดทั้งปีในนาที่สามารถควบคุมระดับน้าได้ โดยอาศัยน้าจากการชลประทาน
ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาชลประทาน 24% ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด
และพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคกลาง
ข้าวขึ้นน้า
ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้าท่วมขังในระหว่างการเจริญเติบโตของข้าว มีระดับน้าลึกตั้งแต่ 1-5 เมตร
เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 เดือน ลักษณะพิเศษของข้าวขึ้นน้าคือ มีความสามารถในการยืดปล้อง
(internode elongation ability) การแตกแขนงและรากที่ข้อเหนือผิวดิน (upper nodal tillering and
rooting ability) และการชูรวง (kneeing ability)
ข้าวน้าลึก
6
ข้าวที่ปลูกในพื้นที่น้าลึก ระดับน้าในนามากกว่า 50เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 100เซนติเมตร
ข้าวไร่
ข้าวที่ปลูกในที่ดอนหรือในสภาพไร่ บริเวณไหล่เขาหรือพื้นที่ซึ่งไม่มีน้าขัง
ไม่มีการทาคันนาเพื่อกักเก็บน้า
ข้าวนาที่สูง
ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้าขังบนที่สูงตั้งแต่ 700เมตรเหนือระดับน้าทะเลขึ้นไป
พันธุ์ข้าวนาที่สูงต้องมีความสามารถทนทานอากาศหนาวเย็นได้ดี
2) แบ่งตำมกำรตอบสนองต่อช่วงแสง
ข้าวไวต่อช่วงแสง
เป็นข้าวที่ออกดอกเฉพาะเมื่อช่วงเวลากลางวันสั้นกว่า 12 ชั่วโมง
โดยพบว่าข้าวไวต่อช่วงแสงในประเทศไทยมักจะออกดอกในเดือนที่มีความยาว
ของกลางวันประมาณ 11 ชั่วโมง 40นาที หรือสั้นกว่านี้
ดังนั้นข้าวที่ออกดอกได้ในเดือนที่มีความยาวของกลางวัน 11ชั่วโมง 40-50นาที
จึงได้ชื่อว่าเป็นข้าวที่มีความไวต่อช่วงแสงน้อย (less sensitive tophotoperiod)
และพันธุ์ที่ออกดอกเฉพาะในเดือนที่มีความยาวของกลางวันประมาณ 11 ชั่วโมง 10-20
นาทีก็ได้ชื่อว่าเป็นพันธุ์ที่มีความไวต่อช่วงแสงมาก (strongly sensitive to photoperiod)
พันธุ์ข้าวประเภทนี้จึงปลูกและให้ผลผลิตได้ปีละหนึ่งครั้ง หรือปลูกได้เฉพาะในฤดูนาปี
บางครั้งจึงเรียกว่า ข้าวนาปี
พันธุ์ข้าวในประเทศไทยที่เป็นพันธุ์พื้นเมืองส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่มีความไวต่อช่วงแสง
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
เป็นข้าวที่ออกดอกเมื่อข้าวมีระยะเวลาการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตตามอายุ
จึงใช้ปลูกและให้ผลผลิตได้ตลอดทั้งปี หรือปลูกได้ในฤดูนาปรัง บางครั้งจึงเรียกว่า ข้าวนาปรัง
7
2.พันธุ์ข้ำวที่ศึกษำ
2.1 ข้ำวหอมมะลิ
ข้าวหอมมะลิ (อังกฤษ: Thai jasmine rice) เป็นสายพันธุ์ข้าวที่มีถิ่นกาเนิดในประเทศไทย
มีลักษณะกลิ่นหอมคล้ายใบเตย เป็นพันธุ์ข้าวที่ทาให้ข้าวไทยเป็นสินค้าส่งออกที่รู้จักไปทั่วโลก
ประวัติ
เรียกอีกอย่างว่าข้าวเสวย เมื่อปี พ.ศ. 2497 นายทรัพธนา เหมพิจิตร
ผู้จัดการบริษัทการส่งออกข้าว จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้รวบรวมพันธุ์ข้าวหอมในเขตอาเภอบางคล้า
ได้จานวน 199 รวง แล้ว ดร.ครุย บุณยสิงห์ (ผู้อานวยการกองบารุงพันธุ์ข้าวในขณะนั้น)
ได้ส่งไปปลูกคัดพันธุ์บริสุทธิ์และเปรียบเทียบพันธุ์ที่ สถานีทดลองข้าวโคกสาโรง
(ขณะนี้เป็นสถานีข้าวลพบุรี) ดาเนินการคัดพันธุ์โดยนักวิชาการเกษตรชื่อนายมังกร จูมทอง
ภายใต้การดูแลของนายโอภาส พลศิลป์ หัวหน้าสถานีทดลองข้าวโคกสาโรงจนกระทั่งปี พ.ศ. 2502
ได้พันธุ์บริสุทธิ์ข้าวขาวดอกมะลิ4-2-105 และคณะกรรมการพิจารณาพันธุ์
ข้าวได้อนุมัติให้เป็นพันธุ์ส่งเสริมแก่เกษตรกรเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502
โดยเกษตรกรทั่วไปเรียกว่า [ขาวดอกมะลิ 105] ต่อมาได้มีการปรับปรุงพันธุ์ข้าว[ขาวดอกมะลิ 105]
จนได้ข้าวพันธุ์ [กข15] ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ประกาศให้ ข้าวทั้ง 2 พันธุ์เป็นข้าวหอมมะลิไทย
ต้นกาเนิดหอมมะลิ ข้าวเป็นอาหารหลักของพลโลกมานานนับพันปี
บางภูมิภาคนาข้าวไปแปรรูปเป็นแป้งเพื่อปรุงแต่งเป็นอาหาร
แต่สาหรับภูมิภาคเอเชียเราบริโภคข้าว ในรูปลักษณ์ดั้งเดิมและเรามีข้าวหลากหลายพันธุ์ให้เลือก
แต่สาหรับประเทศไทยแล้วข้าวหอมมะลิ
ถือว่าเป็นสุดยอดของข้าวและกาลังเป็นที่ต้องการของผู้นิยมบริโภคข้าวทั่วโลกในชื่อ Jasmine Rice
หากย้อนไปในอดีตยังไม่มีใครรู้จักข้าวหอมมะลิ เรารู้จักแต่ข้าวขาวดอกมะลิ
ซึ่งเป็นข้าวพันธุ์เบาเป็นข้าวพื้นเมืองที่พบและรู้จักกันในอ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา
ด้วยคุณลักษณะอันโดดเด่นยามหุง กลิ่นจะหอมชวนให้รับประทานไม่เหมือนพันธุ์ข้าวใดในโลก
ผู้ที่ค้นพบและทาให้ข้าวขาวดอกมะลิเป็นที่รู้จักของโลกคือ ดร.สุนทร สีหะเนิน
8
ข้าวหอมมะลิ ชอบ ดินปนทราย พื้นที่เป็นนาดอน
ใช้น้าฝนในการเพาะเลี้ยงนาที่ไหนเป็นอย่างนี้ จะได้ผลผลิตดีที่สุด เมล็ดข้าวจะยาว เรียว บิดนิดๆ
ขาว ใสพอแกะออกมาเป็นข้าวกล้อง จะเป็นสีขาว ใสที่สาคัญคือที่เมล็ดไม่มีท้องไข่ มีจมูกข้าวเล็ก
แต่นาที่ไหนใช้การเพาะเลี้ยงแบบวิดน้า ก็จะได้แค่ ข้าวหอมปทุม ข้าวหอมเหลือง
ลักษณะจำเพำะของกลิ่นหอม
ข้าวหอมมะลิมีกลิ่นหอมในตนเอง เป็นกลิ่นของธรรมชาติอันบริสุทธิ์ กลิ่นเหมือนดอกมะลิ
เวลาเคี้ยวเมล็ดข้าวจะนุ่มหอมอร่อยมากกว่าข้าวอื่นๆ
ลักษณะของข้าวหอมมะลิไทยจะมีเมล็ดเรียวยาวสวยงาม สีขาวหรือครีมอ่อนๆ
ข้าวหอมมะลิสามารถนามาปรุงอาหารได้หลายเมนู ข้าวผัด ข้าวราดแกง ข้าวมันไก่ข้าวคลุกกะปิ
ข้าวสวย ข้าวต้ม
เกรดในกำรจำหน่ำย
มีเกรดของข้าวอยู่ 4 เกรด คือ 1.เกรดดี 95.5 2.เกรดปานกลาง 70.3 3.เกรดไม่ดี 50.9
4.เกรดการปรับปรุง 20.0
2.2 ข้ำว กข15
ข้าว กข15 หรือ ข้าวหอมมะลิ กข15 หรือ ข้าวดอ
ที่ชาวบ้านเรียกขานกันนั้นเป็นข้าวหอมมะลิพันธุ์เบาที่มีช่วงการเก็บเกี่ยว เร็วกว่า ข้าวหอมมะลิ105
ประมาณ หนึ่งเดือน เป็นข้าวที่เกษตรกรในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นิยมปลูกกัน
เพื่อใช้เงินจากการขายข้าวบางส่วนเป็นค่าใช้จ่ายก่อนที่จะเก็บเกี่ยวข้าวหอมมะลิ105 ในช่วงปลายปี
เพราะใช้เวลานานกว่า
ประวัติพันธุ์
9
ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนาให้เกิดการกลายพันธุ์
โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 15 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในปี พ.ศ. 2508
แล้วนามาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวต่างๆ ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จนได้สายพันธุ์ KDML 105?65G1U-45
กำรรับรองพันธุ์
คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 28
เมษายน 2521
ลักษณะประจำพันธุ์
เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140เซนติเมตร
ไวต่อช่วงแสง
อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 10พฤศจิกายน
ลาต้นและใบสีเขียวอ่อน ใบธงทามุมกับคอรวง รวงอยู่เหนือใบ ใบยาว ค่อนข้างแคบ
เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ปลายบิดงอเล็กน้อย
ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 7 สัปดาห์
เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา=10.7 x2.5 x 1.9 มิลลิเมตร
เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา =7.5 x2.1 x 1.7 มิลลิเมตร
ปริมาณอะมิโลส 14-17%
คุณภาพข้าวสุก นุ่ม มีกลิ่นหอม
ผลผลิต
10
ประมาณ 560 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
ทนแล้งได้ดีพอสมควร
อายุเบา เก็บเกี่ยวได้เร็ว
คุณภาพการหุงต้ม นุ่ม มีกลิ่นหอม
คุณภาพการสีดี เมล็ดข้าวสารใส แกร่ง เรียวยาว
นวดง่าย
ต้านทานโรคใบจุดสีน้าตาล
ข้อควรระวัง
ไม่ต้านทานโรคขอบใบแห้ง โรคไหม้
ไม่ต้านทานแมลงบั่ว เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลและหนอนกอ
ล้มง่าย ฟางอ่อน เมล็ดร่วงง่าย
พื้นที่แนะนำ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.2 ข้ำวชัยนำท 1 (Chai Nat 1)
ชนิด ข้าวเจ้า
คู่ผสม IR13146-158-1/IR15314-43-2-3-3// BKN6995-16-1-1-2
11
ประวัติพันธุ์
ได้จากการผสม 3 ทาง ระหว่างสายพันธุ์ IR13146-158-1และสายพันธุ์ IR15314-43-2-3-3
กับ BKN6995-16-1-1-2ที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท เมื่อ พ.ศ. 2525 ปลุกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์
CNTBR82075-43-2-1 การรับรองพันธุ์ คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร
มีมติให้เป็นพันธุ์รับรองเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2536
ลักษณะประจำพันธุ์
เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 113เซนติเมตร
ไม่ไวต่อช่วงแสง
อายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 121-130 วัน
ทรงกอตั้ง ใบสีเขียว ใบธงค่อนข้างยาวตั้งตรง คอรวงสั้น รวงยาวและแน่น ระแง้ค่อนข้างถี่
ฟางแข็ง
เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง
ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8 สัปดาห์
เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา= 10.4 x2.3 x 1.7 มิลลิเมตร
เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา = 7.7 x 2.1 x1.7 มิลลิเมตร
ปริมาณอมิโลส 26-27 %
คุณภาพข้าวสุก ร่วน แข็ง
ผลผลิต
ประมาณ 740กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
12
ผลผลิตสูง
ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนดี
ต้านทานโรคใบหงิก และโรคไหม้
ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล และเพลี้ยกระโดดหลังขาว
มีท้องไข่น้อย
ข้อควรระวัง
ไม่ต้านทานต่อโรคใบสีส้ม โรคขอบใบแห้ง และโรคใบขีดโปร่งแสง
ในฤดูแล้งควรปลูกไม่เกินเดือนมีนาคม
พื้นที่แนะนำ
ทุกภาคในเขตชลประทาน
2.3 ชัยนำท 2(Chai Nat 2)
ชนิด ข้าวเจ้า
คู่ผสม หอมพม่า (GS.No.3780 ) / IR11418-19-2-3
ประวัติพันธุ์
ได้จากการผสมพันธุ์แบบผสมเดี่ยวระหว่างข้าวเจ้าพันธุ์หอมพม่า (GS.No. 3780)
ซึ่งเป็นข้าวหอมพันธุ์พื้นเมืองจากจังหวัดกาญจนบุรี กับสายพันธุ์ IR11418-19-2-3
จากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI) ที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท ใน พ.ศ.2530
ปลูกคัดเลือกพันธุ์แบบสืบตระกูล จนได้สายพันธุ์ CNT87040-281-1-4
กำรรับรองพันธุ์
13
คณะกรรมการบริหาร กรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม
2547
ลักษณะประจำพันธุ์
เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง สูงประมาณ 83- 95เซนติเมตร
อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 103 –105 วัน
ทรงกอแบะ ใบสีเขียวเข้ม ใบธงเป็นแนวนอน รวงแน่นปานกลาง ระแง้ถี่ คอรวงยาว
ต้นแข็ง ไม่ล้ม ใบค่อนข้างแก่เร็ว
เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง
ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุ์ ประมาณ 5 สัปดาห์
เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา= 10.5 x2.4 x 2.1 มิลลิเมตร
เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา = 7.7 x 2.1 x1.8 มิลลิเมตร
ปริมาณอมิโลสสูง (29.02%)
ข้าวสารมีสีขาว แต่ไม่ค่อยเลื่อมมัน
คุณภาพข้าวสุก ร่วน มีกลิ่นหอม
ผลผลิต
ผลผลิตเฉลี่ย 657 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
เป็นข้าวอายุสั้นกว่าพันธุ์ปทุมธานี 1ประมาณ 7-9วัน
14
คุณภาพการหุงต้ม เป็นข้าวร่วน มีกลิ่นหอม
เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่ชอบข้าวร่วนประเภทข้าวเสาไห้ แต่มีกลิ่นหอม
ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลได้ดีกว่าพันธุ์ปทุมธานี 1
ข้อควรระวัง
อ่อนแอมากต่อบั่ว ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคใบสีส้ม
และอ่อนแอต่อโรคขอบใบแห้งในภาคเหนือตอนล่าง แปลงที่ปลูกข้าวแน่นและใช้ปุ๋ยไนโตรเจนสูง
เมื่อมีความชื้นสูงอาจเกิดการระบาดของโรคไหม้
2.4 ชัยนำท 3 (Chai Nat 3)
ชัยนาท 3, ชัยนาท 80 และกข29 เป็นชื่อข้าวพันธุ์เดียวกัน ไม่ว่าจะเรียกว่ายังไงก็ได้ทั้งนั้น
โดยชื่อ ชัยนาท 3มาจากลาดับของพันธุ์ข้าวที่ออกโดยศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เป็นพันธุ์ที่สาม
ชื่อชัยนาท 80 เป็นชื่อที่เนื่องมาจากรับรอง
ในปีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนม์มายุครบ 80 พรรษา ส่วนชื่อ กข29
กาหนดจากเป็นข้าวพันธุ์แรกที่รับรองพันธุ์ภายหลังมีประกาศจัดตั้งกรมการข้าว ขึ้นใหม่
ต่อจากพันธุ์ข้าว กข27 ซึ่งเป็นข้าวพันธุ์สุดท้ายที่รับรองโดยของกรมการข้าวเดิม
โดยปัจจุบันในหน่วยงานกรมการข้าวกาหนดให้เรียกชื่อ กข29 เหมือนกันทั้งหมด
เพื่อให้ความเข้าใจที่ตรงกัน
เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยว 103 วัน ในฤดูนาปี และ 99วันในฤดูนาปรัง
เมื่อปลูกโดยวิธีหว่านน้าตม กอตั้ง ต้นแข็งไม่ล้มง่าย ความสูงเฉลี่ย 104 เซนติเมตร ใบสีเขียวเข้ม
ใบธงตั้งตรง รวงแน่นปานกลาง คอรวงยาว เปลือกเมล็ดสีฟาง ข้าวกล้องสีขาว เป็นท้องไข่น้อย
รูปร่างเรียว ยาว 7.34 มิลลิเมตร กว้าง 2.23 มิลลิเมตร หนา1.80 มิลลิเมตร มีปริมาณแอมิโลสสูง
(26.6-29.4%) ระยะพักตัวของเมล็ด 4-6สัปดาห์
15
ประวัติ
ได้จากการผสมสามทางระหว่างลูกผสมชั่วที่ 1 ของพันธุ์สุพรรณบุรี 60 และสายพันธุ์
IR29692-99-3-2-1กับสายพันธุ์ IR11418-19-2-3ที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เมื่อ พ.ศ. 2532
คัดเลือกจนได้สายพันธุ์ CNT89098-281-2-1-2-1
ปี พ.ศ. 2533 - 2541 ศึกษาพันธุ์
และเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานีที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทระหว่าง ปี ปี ปี พ.ศ. 2541 - 2547
นาเข้าเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานีที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี
และศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท
ปี พ.ศ. 2542 - 2547 นาเข้าเปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร์ จังหวัดพิษณุโลก ลพบุรี
สิงห์บุรี และชัยนาท
ปี พ.ศ. 2544 - 2548 นาเข้าทดสอบเสถียรภาพผลผลิต ที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก แพร่
อุบลราชธานี สกลนคร สุรินทร์ ปทุมธานี สุพรรณบุรี พัทลุง คลองหลวง ราชบุรี ชัยนาท ลพบุรี
และฉะเชิงเทราคัดเลือกเข้าทดสอบผลผลิตในนาเกษตรกร ในจังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พิจิตร
สุโขทัย ชัยนาท และสิงห์บุรี
คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ กรมการข้าว มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง ชื่อ กข29 (ชัยนาท 80)
เพื่อแนะนาให้เกษตรกรปลูก เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550
ลักษณะเด่น
1. อายุสั้น มีอายุวันเก็บเกี่ยว 99วัน ในฤดูนาปรัง และ103 วันในฤดูนาปี
เมื่อปลูกโดยวิธีหว่านน้าตม
2. ผลผลิตสูง เฉลี่ย 876กิโลกรัมต่อไร่
3. ค่อนข้างต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลในภาคเหนือตอนล่าง และโรคขอบใบแห้ง
16
4.ให้ผลผลิตเฉลี่ยฤดูฝน 725 กก./ไร่ และฤดูแล้ง 754 กก./ไร่
5.คุณภาพการสีดีมาก สามารถสีเป็นข้าวขาว 100 เปอร์เซ็นต์
6. มีปริมาณธาตุเหล็กในข้าวกล้อง 15.7 มิลลิกรัม ต่อ 1 กิโลกรัม ในข้าวสาร 6.7
มิลลิกรัมต่อ 1 กิโลกรัม
พื้นที่แนะนำ
พื้นที่นาชลประทาน ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน ที่ต้องการข้าวอายุสั้น
โดยเริ่มปลูกในเดือนสิงหาคม ธันวาคม และเมษายน
หรือสาหรับปลูกหลังถูกน้าท่วมในฤดูฝนและสามารถปลูกและเก็บเกี่ยวได้ 2
ครั้งในฤดูนาปรังก่อนถูกน้าท่วม
ข้อควรระวัง
1.ไม่ควรปลูกในช่วงกลางเดือนกันยายนถึงปลายเดือนพฤศจิกายน ซึ่งมีอากาศเย็น
ทาให้เมล็ดลีบมาก ผลผลิตต่า
2. กข29 (ชัยนาท80) อ่อนแอต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ในเขตจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี
ราชบุรี และฉะเชิงเทรา
ปัจจุบันข้าวพันธุ์ กข29
หลังจากที่ในระยะแรกมีความยาวของเมล็ดข้าวเปลือกสั้นกว่าเมล็ดข้าวทั่วไปอยู่เล็กน้อย
จนไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก
ปัจจุบันจึงได้มีการคัดเลือกพันธุ์ใหม่อีกครั้งเพื่อให้มีความยาวของเมล็ดมากขึ้น
จนเป็นที่ยอมรับจากโรงสีหรือพ่อค้าข้าว
ซึ่งเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางยังมีการปลูกข้าวพันธุ์นี้อยู่
พื้นที่แนะนำ
17
แนะนาให้ปลูกในพื้นที่การทานาเขตชลประทาน ที่มีการทานาอย่างต่อเนื่อง ในภาคเหนือตอนล่าง
พื้นที่ซึ่งน้าท่วมเร็วในฤดูฝน
มีช่วงระยะเวลาการทานาค่อนข้างจากัดเพื่อสามารถปลูกและเก็บเกี่ยวได้ทันเวลา
2.5 ข้ำวหอมแดง (Red Hawn Rice)
ชนิด ข้าวเจ้า
ประวัติพันธุ์
พ.ศ. 2525– 2526 จากการตรวจสอบความบริสุทธิ์ของข้าวพันธุ์หลัก ขาวดอกมะลิ 105
ที่สถานีทดลองข้าวสุรินทร์ ซึ่งมีนายบุญโฮม ชานาญกุล เป็นผู้อานวยการสถานีในขณะนั้น พบว่า
ในรวงข้าวจานวนหนึ่งมีเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่ จึงแยกเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่
จึงแยกเมล็ดแต่ละรวงไปปลูกศึกษาลักษณะต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527
จากการแยกเมล็ดที่ปนอยู่กับข้าวขาวดอกมะลิ 105 ออกปลูกเป็นกอๆ
และทาการศึกษาลักษณะของเมล็ดข้าวกล้อง พบว่ากอหนึ่งมีเยื่อหุ้มเมล็ด (Pericarp)
ของข้าวกล้องสีแดงเรื่อๆ ซึ่งมีทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้า
ทางสถานีทดลองข้าวสุรินทร์จึงแยกชนิดข้าวเจ้า และข้าวเหนียวไว้
และให้ความสนใจเฉพาะที่เป็นข้าวเจ้า
พ.ศ. 2529– 2530 เมล็ดข้าวแดงที่เชื่อว่ากลายพันธุ์มาจากข้าวขาวดอกมะลิ 105
โดยธรรมชาติ ถูกแบ่งและส่งไปปลูกที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ และสถานีทดลองขาวโคกสาโรง
โดยนักวิชาการที่สนใจใช้เวลาว่างปลูกบริเวณพื้นที่หัว /ท้ายแปลงทดลอง
เพื่อศึกษาคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์ต่อเป็นสายพันธุ์ต่างๆ
พ.ศ. 2531นายบุญโฮม ชานาญกุล ย้ายไปเป็นผู้อานวยการศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก
ได้นาเอาเฉพาะเมล็ดข้าวเจ้าที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงไปปลูกคัดเลือกรวงและปลูกแบบรวงต่อแถว
18
โดยมีข้าวแดงประมาณ 100 กว่าสายพันธุ์ และได้ทาการคัดเลือกสายพันธุ์ข้าวแดงหอมไว้ 50
สายพันธุ์
พ.ศ. 2533มีเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลระบาดรุนแรง ปรากฏว่า มี 5สายพันธุ์
ที่ไม่ถูกเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลทาลาย และได้ทาการคัดเลือกสายพันธุ์ดีเด่นเพียง 2สายพันธุ์ คือ
KDML105R-PSL-1 ซึ่งเป็นข้าวหนักและ KDML105R-PSL-2 ซึ่งเป็นข้าวเบา
พ.ศ. 2535เกษตรกรที่อยู่ใกล้ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกได้นาเมล็ดข้าวสายพันธุ์ดีเด่น
ไปปลูกและแปรรูปเป็นข้าวกล้องข้าวแดง จาหน่ายในชื่อ “ข้าวเสวย”
พ.ศ. 2536พบว่า อายุสุกเก็บเกี่ยวของข้าวแดงหอมในแปลงเกษตรกรยังมีการกระจายตัว
ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกจึงได้นาสายพันธุ์ข้าวเบาและข้าวหนักกลับมาคัดเลือกใหม่
พ.ศ. 2538ได้สายพันธุ์ KDML105R-PSL-E-14
พ.ศ. 2542สถาบันวิจัยข้าวเสนอขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร เป็น พันธุ์ข้าวทั่วไป
โดยใช้ชื่อว่า ข้าวหอมแดง (Red Hawm Rice)
ลักษณะประจำพันธุ์
เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 120– 130เซนติเมตร
ไวต่อช่วงแสง
อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 20พฤศจิกายน
ลาต้นแข็ง กอตั้ง
ใบสีเขียวอ่อน ใบโน้มใบธงตก
เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง
ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8สัปดาห์
ท้องไข่น้อย
19
เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา= 9.6 x3.9 x 2.3 มิลลิเมตร
เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา = 7.5 x 2.1 x1.7 มิลลิเมตร
ปริมาณอมิโลส 16.9 %
ผลผลิต
ประมาณ 643กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
เป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงเข้ม
ข้าวสุกนุ่ม เหนียว และมีกลิ่นหอมเหมือนขาวดอกมะลิ 105
ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ในสภาพธรรมชาติได้ดี
ค่อนข้างต้านทานโรคไหม้
ข้อควรระวัง
อ่อนแอต่อโรคใบสีส้ม โรคขอบใบแห้ง และโรคใบขีดโปร่งแสง
พื้นที่แนะนำ
ควรปลูกในพื้นที่เฉพาะ เพราะเป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดง การนาไปปลูกในแปลงข้าว
ขาวอาจทาให้ปะปนกัน
3.กำรตรวจสอบค่ำ PH
20
ค่ำpH คืออะไร ?
ความเป็นกรด-ด่างของสสาร วัดกันด้วยหน่วย pH ซึ่งโดยปกติจะมีค่าอยู่ที่ 0-14
ดังนั้นหากในดินมีค่า pH เท่ากับ 7ก็แสดงว่ามีความเป็นกรด-ด่างเป็นกลาง แต่ถ้ามีค่า pH ต่ากว่า 7
ก็แสดงว่าดินมีความเป็นกรดมาก กลับกันหากดินมีค่า pH สูงกว่า 7ก็แสดงว่ามีความเป็นด่างสูง
ซึ่งโดยทั่วไปแล้วดินมักจะมีค่าความเป็นกรดอยู่ที่ 3 และมีค่าความเป็นด่างอยู่ที่ 10
โดยมีปัจจัยแวดล้อมอย่างสารอาหารที่ดินได้รับ เช่นซากพืช ซากสัตว์ ที่ทับถม
และปริมาณน้าฝนโดยเฉลี่ยต่อปีเป็นส่วนประกอบ
ซึ่งดินที่มีค่า pH ประมาณ 6.5 จะเป็นดินที่ปลูกต้นไม้ได้ดีที่สุด เพราะมีค่าค่อนข้างเป็นกลาง
แต่จะมีพืชบางชนิด เช่น บลูเบอร์รี่, ชวนชม, ดอกพุด ที่จะเจริญเติบโตได้ดีในค่าความเป็นกรด
จึงต้องใช้ดินที่มีค่า pH อยู่ที่ 4.5-5.5 เป็นต้น เรียกว่าหาก่อนปลูกต้นไม้ มีการศึกษาเรื่องค่า pH
ในดินไว้แต่แรก ต้นไม้ก็จะเจริญเติบโตได้ดีขึ้น
ค่ำpH มีผลต่อพืชอย่ำงไร
ค่า pH ในดินไม่ได้มีผลโดยตรงกับการเจริญเติบโตของพืช
แต่มีส่วนช่วยให้พืชสามารถดูดซับสารอาหารจากดินได้ดีขึ้นเท่านั้น
ซึ่งถ้าหากพืชเจริญเติบโตในดินที่มีค่าความเป็นกรดต่าเกินไป ใบก็จะเหลือง
เนื่องจากไม่สามารถดูดธาตุเหล็กเข้าไปบารุงต้นได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นดินที่จะเหมาะกับการปลูกพืช
จึงต้องมีค่าความเป็นกรดอยู่พอสมควร
เพื่อที่ความเป็นกรดจะได้แปลงธาตุอาหารให้พืชดูดกินได้สะดวก
แต่ถึงอย่างนั้นค่า pH ก็มีผลเสียต่อพืชอยู่เช่นกัน โดยหากดินมีค่า pHต่า
ธาตุแมงกานีสในดินก็จะกลายเป็นพิษต่อพืช เป็นสาเหตุให้พืชมีใบเหลือง ใบแห้ง
และตายได้ในที่สุด และถ้าหากค่า pHในดินต่ามากจนเกินไป
ดินก็จะดูดซับสารอะลูมิเนียมแทนธาตุอาหารจาเป็น ต้นไม้จึงเติบโตช้า
เพราะไม่ได้กินอาหารที่มีประโยชน์ แต่ถ้าดินมีค่า pH อยู่ในระดับที่เหมาะสม
21
ก็จะช่วยให้สารอาหาร และสิ่งมีชีวิตในดินเจริญเติบโตได้ดี
อีกทั้งยังช่วยแปลงธาตุไนโตรเจนให้พืชสามารถดูดซับได้ ส่งผลให้พืชงอกงามสุขภาพดีอีกด้วย
กำรเปลี่ยนค่ำ pH ให้ดิน
หากรู้สึกว่าดินมีปัญหา เราก็สามารถเปลี่ยนแปลงค่า pH ให้ดินได้แต่ก่อนจะเปลี่ยนแปลงค่า
pH ในดิน เราจาเป็นจะต้องรู้ค่า pH ที่มีอยู่ของดินก่อน เพื่อจะได้รู้ว่าควรจะเติม หรือลดค่า pH
ให้ดินดี โดยขั้นตอนการตรวจสอบ อาจจะดูจากลักษณะการเจริญเติบโตของพืช แต่ถ้าจะให้แน่ใจ
ควรจะนาไปตรวจสอบวัดค่าpH ของดินในห้องแล็ปจะดีที่สุด
นอกจากนี้ก็ควรต้องรู้ลักษณะของดินด้วย ว่าจัดเป็นดินทราย หรือดินเหนียว เพราะถ้าเป็นดินเหนียว
จะเปลี่ยนแปลงค่า pH ได้ยากกว่าดินทราย
ซึ่งการแก้ไขค่า pHโดยทั่วไปเรามักจะใช้หินปูนเพิ่มค่า pH ให้ดิน และใช้ซัลเฟอร์ลดค่า pH
ในดิน โดยทั้ง2 ชนิดนี้สามารถหาซื้อได้ในลักษณะผง ซึ่งใช้ง่ายและสะดวก
จะใช้ละลายน้าและและเทราดลงในดินเพื่อปรับค่า pH ในดินอย่างรวดเร็ว
หรือจะเทผงที่ใต้โคนต้นแล้วค่อย ๆให้ดินดูดซับไปอย่างช้าๆ ก็ได้
ทาไมจึงต้องเช็คระดับค่า pH อยู่ตลอด
เนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างทั้งแร่ธาตุในดิน และระดับน้าฝนที่ตกในแต่ละปี
รวมไปถึงปุ๋ยที่เราใส่บารุงพืช จึงทาให้ค่า pHในดินสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
ดังนั้นเราจึงต้องหมั่นตรวจสอบ และสังเกตค่า pH ในดินอยู่เสมอ เพื่อจะได้ปรับระดับค่า pH
ในดินให้มีความเหมาะสมกับพืช และส่งเสริมให้พืชเจริญเติบโตอย่างสวยงาม
ออกดอกออกผลเป็นที่น่าพอใจ
3.ที่ตั้งและอำณำเขต
22
อาเภอท่าตูมตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด
มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอเกษตรวิสัย (จังหวัดร้อยเอ็ด) และอาเภอสุวรรณภูมิ (จังหวัดร้อยเอ็ด)
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอรัตนบุรีและอาเภอสนม
ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอจอมพระ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอสตึก (จังหวัดบุรีรัมย์) และอาเภอชุมพลบุรี
23
บทที่ 3
วิธีกำรดำเนินกำรศึกษำ
ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ทาการศึกษาเรื่องการศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ขอ
งอาเภอท่าตูม ซึ่งมีวิธีดังนี้
ระเบียบวิธีที่ใช้ในกำรศึกษำ
ในการศึกษาใช้รูปแบบการสารวจ สืบค้นข้อมูลอินเตอร์เน็ต
และสอบถามจากเจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูม และเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์
ประชำกรที่ใช้ในกำรศึกษำ
1.ประชำกร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
เป็นเจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูมและศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์
2.กลุ่มตัวอย่ำง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่เจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูม
อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เป็นเจ้าหน้าที่รวมทั้งสิ้น 4
คน เพื่อให้คาปรึกษาเกี่ยวกับโครงงานเรื่องนี้
3.ระยะเวลำที่ใช้ในกำรศึกษำ
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
24
วิธีดำเนินกำรศึกษำ
ผู้ศึกษำได้ดำเนินกำรตำมขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดเรื่องที่จะศึกษา โดยสมาชิกทั้ง 3 คน ประชุมร่วมกัน และร่วมกันคิดและวางแผน
ว่าจะศึกษาเรื่องใด
2. สารวจปัญหาที่พบในนาข้าว ได้แก่ปัญหาข้าวใบสีเหลือง ข้าวเป็นโรค
ในนาข้าวมีเพลี้ย เลือกเรื่องที่จะศึกษา โดยเลือกเรื่องที่สมาชิกมีความสนใจมากที่สุด
เพื่อเป็นแรงจูงใจในการค้นหาคาตอบ
4. ศึกษาแนวคิดในการแก้ปัญหา (ในข้อนี้ยังไม่สามารถดาเนินการได้เนื่องจาก
การเรียนรายวิชา IS 2 เวลามีจากัด ) ผู้ศึกษาจึงทาได้เฉพาะการสารวจความคิดเห็น
ศึกษาเพียงเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องกระบวนการวิจัยเท่านั้น
5. ตั้งชื่อเรื่อง
6. สมาชิกทั้ง 3คนของกลุ่ม พบครูผู้สอนเพื่อปรึกษา วางแผนและรับฟังความคิดเห็น
ปรับปรุงแก้ไข
7. เขียนความสาคัญความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมุติฐาน
ขอบเขตการวิจัยและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โดยศึกษาข้อมูลจากหนังสือ
และสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตและ จด บันทึกในโครงร่างรายงานเชิงวิชาการ
8. สร้างเครื่องมือ หาคาตอบคาถามที่ต้องการรู้
9. นาเครื่องมือที่ปรับปรุงแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
25
10. รวบรวมข้อมูล
11. วิเคราะห์ข้อมูล
12. สรุปการศึกษา
ขั้นตอนวิธีดำเนินกำรศึกษำ
26
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาครั้งนี้ได้ดาเนินการโดยค้นหาข้อมูลที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูมและจากศูนย์วิจัยพันธุ์ข้
าว โดยผู้ศึกษาทั้ง 3คน ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
1.นาข้อมูลที่ได้สอบถามมาวิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่าง
2.สรุปข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้สอบถาม
สถิติที่ใช้ในกำรศึกษำ
-
27
บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง
การศึกษาศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
ได้ผลดังนี้
เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105ปริมาณ 3 ตันต่อศูนย์ต่อปีและพันธุ์ข้าวหอมมะลิ ปริมาณ
5 ตันต่อศูนย์ต่อปี ตามเป้าหมาย เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดเพื่อการปรับปรุงบารุงดิน ปี 2549/50
จานวนศูนย์ที่ได้รับจัดสรรรวม 16 ศูนย์ ปริมาณศูนย์ละ 942 กิโลกรัม จากเป้าหมาย 1,000
กิโลกรัมต่อศูนย์ และปี 2550/51 จานวนศูนย์ที่ได้รับการจัดสรรลดลงเหลือ 13 ศูนย์
และมีปริมาณค่อนข้างน้อยเฉลี่ยเพียง 338กิโลกรัมต่อศูนย์ นอกจากนี้
หน่วยงานสังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร
ได้ดาเนินการให้การถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร
จานวน 6 -7ครั้งต่อศูนย์ มีผู้ทาแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์เข้ารับการอบรมครบทุกหลักสูตรปี 2549/50
ร้อยละ 63.46 เข้าอบรมไม่ครบตามหลักสูตร ร้อยละ 36.54 ส่วนในปี 2550/51 ร้อยละ 66.34 และ
33.66 ตามลาดับ
ผลจากการทาแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิและเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ105 ปี
2549/50 ได้รับผลผลิตเฉลี่ย 363.47 กิโลกรัมต่อไร่ และปี 2550/51 เฉลี่ย 335.89 กิโลกรัมต่อไร่
หรือคิดเป็นปริมาณเฉลี่ย 74.82 และ 70.18 ตันต่อศูนย์
โดยเกษตรกรนาผลผลิตดังกล่าวไปตรวจสอบเพื่อการรับรองคุณภาพ ร้อยละ 64.78 ในปี 2549/50
และเพิ่มเป็นร้อยละ 74.64 ในปี 2550/51 ซึ่งได้รับการรับรองคุณภาพทั้งหมด
หรือคิดเป็นปริมาณเฉลี่ย 48.47 และ 52.38 ตันต่อศูนย์ ตามลาดับ จากเป้าหมายศูนย์ละ 50 ตันต่อปี
ที่ตั้งและอำณำเขตของอำเภอท่ำตูม
28
อาเภอท่าตูมตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด
มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอเกษตรวิสัย (จังหวัดร้อยเอ็ด) และอาเภอสุวรรณภูมิ
(จังหวัดร้อยเอ็ด)
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอรัตนบุรีและอาเภอสนม
ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอจอมพระ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอสตึก (จังหวัดบุรีรัมย์)
และอาเภอชุมพลบุรีภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
สภาพอากาศทั่วไป เป็นสภาพอากาศแบบแห้งแล้ง มีลุ่มแม่น้ามูลไหลผ่านตลอดปี
และมีช่วงหน้าหนาวคือระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม ที่น้ามูลลดลงบ้าง
แต่ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ชาวนาเก็บเกี่ยวผลผลิตพอดีทาให้ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับผลผลิตมากนัก
29
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาครั้งนี้เพื่อ
เพื่อทราบพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูมและเพื่อเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมา
ะสมกับสภาพภูมศาสตร์ให้แก่เกษตรกร ซึ่งสามารถสรุปผล อภิปรายผล
และข้อเสนอแนะได้ดังนี้
1.วัตถุประสงค์ของการศึกษา
2.สมมุตติฐานของการศึกษา
3.ขอบเขตของการศึกษา
4.เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
5.วิเคราะห์ข้อมูล
6.สรุปผลการศึกษา
7.ข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
1.เพื่อทราบพันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
2.เพื่อที่จะเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
สมมุตติฐำนของกำรศึกษำ
1. ได้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
30
2. ได้ความรู้เพื่อที่จะเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ให้แก่เกษตรกร
ขอบเขตของกำรศึกษำ
สถำนที่
ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เกษตรอาเภอท่าตูม เกษตรกรหมู่บ้านหนองเรือ
เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ
-
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
-
สรุปผลกำรศึกษำ
ผลการศึกษาที่มีต่อการศึกษาเรื่อง
การศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม ได้บทสรุปคือ
พันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูมและเหมาะแก่การเผยแพร่ ได้แก่พันธุ์ข้าวมะลิ
105 หรือข้าวหอมมะลิ
กำรอภิปรำยผล
จากการศึกษาเรื่องการศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม พบว่า
พันธุ์ข้าวมะลิ 105 หรือข้าวหอมมะลิ
เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูมเพราะข้าวหอมมะลิหรือมะลิ 105 มีลักษณะลาต้นสูง
ข้าวหอมมะลิชอบดินปนทราย ทนต่อสภาพพื้นที่แห้งแล้ง ทนต่อสภาพดินเค็ม ดินเปรี้ยว
พื้นที่เป็นนาดอนใช้น้าฝนในการเพาะเลี้ยงนาที่ไหนเป็นอย่างนี้ จะได้ผลผลิตดีที่สุด เมล็ดข้าวจะยาว
เรียว บิดนิดๆ ผิวเมล็ดลื่น ขาวใสพอแกะออกมาเป็นข้าวกล้อง จะเป็นสีขาว ใส
31
ที่สาคัญคือที่เมล็ดไม่มีท้องไข่ มีจมูกข้าวเล็ก ข้าวหอมมะลิเป็นพันธุ์ข้าวที่ไวแสง
ซึ่งถือเป็นคุณสมบัติของข้าวพื้นเมืองคาว่าไวแสงคือ ไม่ว่าจะเพาะปลูกในช่วงต้นฤดูเดือนไหนก็ตาม
เช่นคนที่ปลูกเดือนเมษายน กับคนที่ปลูกเดือนสิงหาคม ต้นข้าวมันจะไปออกรวง
พร้อมกันในช่วงกลางเดือนตุลาคม-กลางเดือนพฤศจิกายน
เพราะมันต้องอาศัยช่วงแสงแดดที่กลางวันสั้นกว่ากลางคืน คือมืดเร็วกว่า
ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกในอาเภอท่าตูมคือ อาเภอท่าตูมมีลักษณะดินเป็นดินทราย และดินเค็ม
พื้นนาแห้งแล้ง และในช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม จะเป็นช่วงที่น้าลด
แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อผลผลิต เพราะเป็นช่วงที่ชาวนาเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จแล้ว
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในกำรศึกษำครั้งนี้
1.สามารถนาไปศึกษากับกลุ่มตัวอย่างอื่น
2.ควรมีเวลาศึกษามากขึ้น
32
บรรณำนุกรม
เว็บไซต์
สานักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว ทีมงานรักบ้านเกิด .คอม สืบค้นเมื่อวันที่
http://www.brrd.in.th/rvdb/index.php?option=com สืบค้นเมื่อ วันที่ 3 สิงหาคม 2557
http://www.thaisiamboonphong.com/index.php?lay=show&ac=cat_show_pro_detail&pid=92975
เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2557
http://www.hommali.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538856187&Ntype=1
สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2557
http://www.hommali.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538839492&Ntype=1
สืบค้นเมื่อวันที่ 9กันยายน 2557
http://www.surinnanasinpan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=459817&Ntype=1
สืบค้นเมื่อวันที่ 19ตุลาคม 2557
http://www.acfs.go.th/warning/view_Knowledge.php?id=97
สืบค้นเมื่อวันที่ 26ตุลาคม 2557
http://blog.janthai.com
33
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557
http://www.brrd.in.th/rkb/varieties/index.php-file=content.php&id=65.htm
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557
http://cnt-rsc.ricethailand.go.th/
สืบค้นเมื่อวันที่ 23พฤศจิกายน 2557
http://cntrice-istore.blogspot.com/2011/10/3-chai-nat-3-29-rd29-80-chai-nat-80.html
http://www.brrd.in.th/rvdb/index.php?option=com
สืบค้นเมิ่อวันที่ 12ธันวาคม 2557
http://www.websanom.com/sanom_info_rice_thailand_02.php
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2557
http://pantip.com/topic/31399548
สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2557
http://www.amnatcharoenrice.com/index.php/eco-store/4
สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2557
34
ภาคผนวก
35
ภาคผนวก
ข้าวหอมมะลิ
36
ข้าวหอมมะลิ 105
37
ข้าวปทุม
38
ข้าวชัยนาถ 1
39
40
ข้าวชัยนาถ 2
41
ข้าวหอมแดง
42
ข้าวชัยนาถ 3
43
ประวัติผู้ศึกษา
ชื่อ –นามสกุล นางสาว สุนัทดา สุววรณหอม
วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 29 มกราคม 2542 ที่โรงพยาบาลบ้านบึง
ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6จากโรงเรียนบ้านกุดมะโน
และเข้าศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ต่อที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ และจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่ โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
44
ประวัติผู้ศึกษา
ชื่อ –นามสกุล นางสาวพรไพลิน กิติ
วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 20 ตุลาคม 2541 ที่โรงพยาบาลจังหวัดสุรินทร์
ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่6 จากโรงเรียนบ้านบัวโคก ตาบลบัวโคก
อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่4
ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์
45
ประวัติผู้ศึกษำ
ชื่อ –นามสกุล นางสาว บัณฑิตา ชนะชัย
วัน เดือน ปี สถานที่เกิด วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2541 ที่โรงพยาบาลสุรินทร์
ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6จากโรงเรียนบ้านสะเอิง
และเข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
ปัจจุบันศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
46
ประวัติผู้ศึกษำ
ชื่อ –นามสกุล นางสาว วรดา วงษ์สุนทร
วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 12 กุมพาพันธุ์ 2541 โรงพยาบาลสุริทรื
ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนท่าตูมสนิทราษฏ์วิทยาคม
และเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
และจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปัจจุบันศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมwarijung2012
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนามkroojaja
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)ทับทิม เจริญตา
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionjarunee4
 
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุดชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุดทับทิม เจริญตา
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้Ploykarn Lamdual
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนkanjana2536
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
แบบทดสอบคิดเร็วป5 6
แบบทดสอบคิดเร็วป5 6แบบทดสอบคิดเร็วป5 6
แบบทดสอบคิดเร็วป5 6
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
 
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุดชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
 

Similar to การศึกษาพันธุ์ข้าวต่างๆที่เหมาะสมกับภูมิศษสตร์ของอำเภอท่าตูม

โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to การศึกษาพันธุ์ข้าวต่างๆที่เหมาะสมกับภูมิศษสตร์ของอำเภอท่าตูม (7)

ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
 
งานพี่มอส
งานพี่มอสงานพี่มอส
งานพี่มอส
 

การศึกษาพันธุ์ข้าวต่างๆที่เหมาะสมกับภูมิศษสตร์ของอำเภอท่าตูม

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ ข้าว คือพืชอาหารที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาช้านาน เป็นอาหารหลักที่สาคัญของชนชาติต่างๆ ทั่วโลก ยิ่งปัจจุบันกล่าวได้ว่าเป็นยุคทองของชาวนาไทยก็ว่าได้ ที่ข้าวในตลาดโลก มีราคาสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ ประเทศไทยผลิตข้าวได้มากเป็นอันดับ 6 ของโลก รองจากจีน อินเดีย อินโดนีเซีย บังคลาเทศ และเวียดนาม แต่ไทยสามารถส่งออก ข้าวได้เป็นอันดับหนึ่งของโลก รองลงมา คือ อินเดีย และเวียดนาม ข้อมูลในปี 2549 จากสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระบุว่าไทยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าว 67.05 ล้านไร่ ผลผลิตรวม 29.43 ล้านตัน ผลผลิตเฉลี่ยคือ 439 กิโลกรัมต่อไร่อาชีพเกษตรกรในปัจจุบันถือเป็นอาชีพหลักของประชากรส่วนมากในประเทศไทยแ ละในขณะเดียวกันประเทศไทยก็เป็นประเทศที่ส่งออกข้าวเป็นอันดับต้นๆของโลกในปีหนึ่งประเท ศไทยได้ส่งออกข้าวมากกว่า 35 ล้านตันข้าวของไทยได้ขึ้นชื่อว่าเป็นข้าวที่อร่อยที่สุดในโลกซึ่งรากฐานที่ทาให้ได้ข้าวที่มีคุณภาพดีนั้ นก็มาจากเกษตรกว่าที่เกษตรกรจะปลูกข้าวได้ผลผลิตที่ตรงตามจุดประสงค์ ต้องเริ่มจากการจัดเรียงพันธุ์ข้าวการคัดพันธุ์ข้าว การหาซื้อพันธุ์ข้าว เมื่อได้เมล็ดพันธุ์ข้าวแล้วยังต้องเลือกดินที่เหมาะสมโดยดินที่มีค่า PHอยู่ในระดับที่จะปลูกข้าวได้ ซึ่งดินจะปลูกข้าวได้ดีต้องมีค่า PH ประมาณ 6.5 เมล็ดพันธุ์ข้าวมีความสาคัญในการที่จะปลูกเป็นอย่างมาก โดยที่ถ้านาเมล็ดพันธุ์ไปปลูกลงดินในดินที่มีสภาพดินไม่เหมาะสมจะทาให้ต้นข้าวเจริญเติบโตช้า หากเจริญเติบโตแล้วก็จะทาให้มีใบเหลืองและยังก่อให้เกิดโรคของข้าวต่างๆตามมา เป็นอีกสาเหตุที่ทาให้เกษตรต้องใช้สารเคมีเพื่อที่จะให้ข้าวเจริญเติบโตและไม่มีใบเหลือง
  • 2. 2 แต่ถ้าหากเกษตรมีความรู้เรื่องพันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพดินจะทาให้เกษตรช่วยลดค่าปุ๋ยเคมีและยัง สามารถได้เมล็ดข้าวที่ปลอดภัยและปลอดภัยและปลอดสารเคมีแถมยังได้ผลผลิตที่ดีอีกด้วย กลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความคิดที่จะศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์ข้าวและสภาพดินที่เหมาะสมแล้วนาความรู้ที่ไ ด้มาเผยแพร่เพื่อเพิ่มรายได้แก่เกษตรที่สนใจต่อไป วัตถุประสงค์ของงำนวิจัย 1.เพื่อทราบพันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม 2.เพื่อที่จะเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม ขอบเขตกำรวิจัย 1.3.1 สถานที่ ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เกษตรอาเภอท่าตูม เกษตรกรหมู่บ้านหนองเรือ 1.3.2 ระยะเวลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1.ได้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม 2.ได้นาความรู้จากการศึกษาไปเผยแพร่กับเกษตรกรในแต่ละหมู่บ้านที่ใกล้เคียง
  • 3. 3 บทที่ 2 ทฤษฏีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 1.พันธุ์ข้ำว พันธุ์ข้าวเป็น ปัจจัยหนึ่งที่มีความสาคัญอันดับแรกในการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตข้าว โดยไม่ต้องเพิ่มต้นทุนการผลิต ถ้าหากว่ามีพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ ทั้งข้าวคุณภาพดี ข้าวคุณภาพปานกลาง ข้าวคุณภาพต่า และข้าวคุณภาพพิเศษ ที่ตรงกับความต้องการของตลาดและเพื่อทาผลิตภัณฑ์มีความต้านทานต่อโรคแมลง และมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่นแล้วจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายใน การผลิตข้าวหรือเป็นการลดต้นทุนการผลิตข้าวได้เป็นอย่างดี จากอดีต ถึง ปัจจุบัน สานักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว ได้ดาเนินงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวมาอย่างต่อเนื่องจนได้ข้าวพันธุ์รับรอง พันธุ์แนะนาและพันธุ์ทั่วไป ให้เกษตรกรปลูกในระบบนิเวศต่างๆ ซึ่งมีทั้งพันธุ์ข้าวนาสวน ข้าวไร่ ข้าวขึ้นน้า ข้าวน้าลึก ธัญพืชเมืองหนาว และข้าวญี่ปุ่น จานวน 93พันธุ์ ดังนี้
  • 4. 4 ข้าวนาสวน พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 35 พันธุ์ ข้าวนาสวน พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 29 พันธุ์ ข้าวขึ้นน้า พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 5 พันธุ์ ข้าวน้าลึก พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 5 พันธุ์ ข้าวน้าลึก พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์ ข้าวไร่ พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 7 พันธุ์ ข้าวไร่ พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์ ข้าวแดงหอม พันธุ์ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์ ข้าวแดงหอม พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง จานวน 1 พันธุ์ ข้าวญี่ปุ่น จานวน 2 พันธุ์ ข้าวสาลี จานวน 4 พันธุ์ ข้าวบาร์เลย์ จานวน 2 พันธุ์ พันธุ์เป็นข้าวหอม พันธุ์ข้าวส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่ให้ีผลผลิตสูง มีความต้านทานต่อโรคและแมลงที่สาคัญ มีคุณภาพการหุงต้มตามความต้องการของผู้บริโภค ตลอดจนทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหาสาคัญ อย่างไรก็ตามงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวยังคงต้องดาเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพราะพันธุ์ที่ออกแนะนาแล้วปัจจุบันบางพันธุ์เกษตรกรอาจจะยังคงนิยมปลูกอยู่ แต่บางพันธุ์เกษตรกรอาจเลิกปลูก เนื่องจากมีข้อด้อยบางประการ การนาเอาพันธุ์ข้าวเหล่านั้นไปใช้ของเกษตรกรจึงเป็นไปในลักษณะของการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะที่ออกพันธุ์ข้าวนั้นเท่านั้น รวมทั้งบางพันธุ์เมื่อแนะนาให้ปลูกไปในช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้วอาจไม่มีความ เหมาะสมในระยะเวลาต่อมา เนื่องจากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง หรือโรค
  • 5. 5 แมลงศัตรูข้าวมีการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งต้องหาพันธุ์ที่มีคุณภาพดีตามความต้องการของตลาดโลก และมีศักยภาพในการแข่งขันกับตลาดโลกได้ จึงต้องดาเนินงานปรับปรุงพันธุ์โดยไม่มีที่สิ้นสุด ชนิดของพันธุ์ข้ำว 1) แบ่งตามนิเวศน์การปลูก ข้าวนาสวน ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้าขังหรือกักเก็บน้าได้ระดับน้าลึกไม่เกิน 50เซนติเมตร ข้าวนาสวนมีปลูกทุกภาคของประเทศไทย แบ่งออกเป็น ข้าวนาสวนนาน้าฝน และข้าวนาสวนนาชลประทาน ข้าวนาสวนนาน้าฝน ข้าวที่ปลูกในฤดูนาปี และอาศัยน้าฝนตามธรรมชาติ ไม่สามารถควบคุมระดับน้าได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ การกระจายตัวของฝน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาน้าฝนประมาณ 70% ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด ข้าวนาสวนนาชลประทาน ข้าวที่ปลูกได้ตลอดทั้งปีในนาที่สามารถควบคุมระดับน้าได้ โดยอาศัยน้าจากการชลประทาน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาชลประทาน 24% ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด และพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคกลาง ข้าวขึ้นน้า ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้าท่วมขังในระหว่างการเจริญเติบโตของข้าว มีระดับน้าลึกตั้งแต่ 1-5 เมตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 เดือน ลักษณะพิเศษของข้าวขึ้นน้าคือ มีความสามารถในการยืดปล้อง (internode elongation ability) การแตกแขนงและรากที่ข้อเหนือผิวดิน (upper nodal tillering and rooting ability) และการชูรวง (kneeing ability) ข้าวน้าลึก
  • 6. 6 ข้าวที่ปลูกในพื้นที่น้าลึก ระดับน้าในนามากกว่า 50เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 100เซนติเมตร ข้าวไร่ ข้าวที่ปลูกในที่ดอนหรือในสภาพไร่ บริเวณไหล่เขาหรือพื้นที่ซึ่งไม่มีน้าขัง ไม่มีการทาคันนาเพื่อกักเก็บน้า ข้าวนาที่สูง ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้าขังบนที่สูงตั้งแต่ 700เมตรเหนือระดับน้าทะเลขึ้นไป พันธุ์ข้าวนาที่สูงต้องมีความสามารถทนทานอากาศหนาวเย็นได้ดี 2) แบ่งตำมกำรตอบสนองต่อช่วงแสง ข้าวไวต่อช่วงแสง เป็นข้าวที่ออกดอกเฉพาะเมื่อช่วงเวลากลางวันสั้นกว่า 12 ชั่วโมง โดยพบว่าข้าวไวต่อช่วงแสงในประเทศไทยมักจะออกดอกในเดือนที่มีความยาว ของกลางวันประมาณ 11 ชั่วโมง 40นาที หรือสั้นกว่านี้ ดังนั้นข้าวที่ออกดอกได้ในเดือนที่มีความยาวของกลางวัน 11ชั่วโมง 40-50นาที จึงได้ชื่อว่าเป็นข้าวที่มีความไวต่อช่วงแสงน้อย (less sensitive tophotoperiod) และพันธุ์ที่ออกดอกเฉพาะในเดือนที่มีความยาวของกลางวันประมาณ 11 ชั่วโมง 10-20 นาทีก็ได้ชื่อว่าเป็นพันธุ์ที่มีความไวต่อช่วงแสงมาก (strongly sensitive to photoperiod) พันธุ์ข้าวประเภทนี้จึงปลูกและให้ผลผลิตได้ปีละหนึ่งครั้ง หรือปลูกได้เฉพาะในฤดูนาปี บางครั้งจึงเรียกว่า ข้าวนาปี พันธุ์ข้าวในประเทศไทยที่เป็นพันธุ์พื้นเมืองส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่มีความไวต่อช่วงแสง ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง เป็นข้าวที่ออกดอกเมื่อข้าวมีระยะเวลาการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตตามอายุ จึงใช้ปลูกและให้ผลผลิตได้ตลอดทั้งปี หรือปลูกได้ในฤดูนาปรัง บางครั้งจึงเรียกว่า ข้าวนาปรัง
  • 7. 7 2.พันธุ์ข้ำวที่ศึกษำ 2.1 ข้ำวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิ (อังกฤษ: Thai jasmine rice) เป็นสายพันธุ์ข้าวที่มีถิ่นกาเนิดในประเทศไทย มีลักษณะกลิ่นหอมคล้ายใบเตย เป็นพันธุ์ข้าวที่ทาให้ข้าวไทยเป็นสินค้าส่งออกที่รู้จักไปทั่วโลก ประวัติ เรียกอีกอย่างว่าข้าวเสวย เมื่อปี พ.ศ. 2497 นายทรัพธนา เหมพิจิตร ผู้จัดการบริษัทการส่งออกข้าว จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้รวบรวมพันธุ์ข้าวหอมในเขตอาเภอบางคล้า ได้จานวน 199 รวง แล้ว ดร.ครุย บุณยสิงห์ (ผู้อานวยการกองบารุงพันธุ์ข้าวในขณะนั้น) ได้ส่งไปปลูกคัดพันธุ์บริสุทธิ์และเปรียบเทียบพันธุ์ที่ สถานีทดลองข้าวโคกสาโรง (ขณะนี้เป็นสถานีข้าวลพบุรี) ดาเนินการคัดพันธุ์โดยนักวิชาการเกษตรชื่อนายมังกร จูมทอง ภายใต้การดูแลของนายโอภาส พลศิลป์ หัวหน้าสถานีทดลองข้าวโคกสาโรงจนกระทั่งปี พ.ศ. 2502 ได้พันธุ์บริสุทธิ์ข้าวขาวดอกมะลิ4-2-105 และคณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ข้าวได้อนุมัติให้เป็นพันธุ์ส่งเสริมแก่เกษตรกรเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 โดยเกษตรกรทั่วไปเรียกว่า [ขาวดอกมะลิ 105] ต่อมาได้มีการปรับปรุงพันธุ์ข้าว[ขาวดอกมะลิ 105] จนได้ข้าวพันธุ์ [กข15] ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ประกาศให้ ข้าวทั้ง 2 พันธุ์เป็นข้าวหอมมะลิไทย ต้นกาเนิดหอมมะลิ ข้าวเป็นอาหารหลักของพลโลกมานานนับพันปี บางภูมิภาคนาข้าวไปแปรรูปเป็นแป้งเพื่อปรุงแต่งเป็นอาหาร แต่สาหรับภูมิภาคเอเชียเราบริโภคข้าว ในรูปลักษณ์ดั้งเดิมและเรามีข้าวหลากหลายพันธุ์ให้เลือก แต่สาหรับประเทศไทยแล้วข้าวหอมมะลิ ถือว่าเป็นสุดยอดของข้าวและกาลังเป็นที่ต้องการของผู้นิยมบริโภคข้าวทั่วโลกในชื่อ Jasmine Rice หากย้อนไปในอดีตยังไม่มีใครรู้จักข้าวหอมมะลิ เรารู้จักแต่ข้าวขาวดอกมะลิ ซึ่งเป็นข้าวพันธุ์เบาเป็นข้าวพื้นเมืองที่พบและรู้จักกันในอ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ด้วยคุณลักษณะอันโดดเด่นยามหุง กลิ่นจะหอมชวนให้รับประทานไม่เหมือนพันธุ์ข้าวใดในโลก ผู้ที่ค้นพบและทาให้ข้าวขาวดอกมะลิเป็นที่รู้จักของโลกคือ ดร.สุนทร สีหะเนิน
  • 8. 8 ข้าวหอมมะลิ ชอบ ดินปนทราย พื้นที่เป็นนาดอน ใช้น้าฝนในการเพาะเลี้ยงนาที่ไหนเป็นอย่างนี้ จะได้ผลผลิตดีที่สุด เมล็ดข้าวจะยาว เรียว บิดนิดๆ ขาว ใสพอแกะออกมาเป็นข้าวกล้อง จะเป็นสีขาว ใสที่สาคัญคือที่เมล็ดไม่มีท้องไข่ มีจมูกข้าวเล็ก แต่นาที่ไหนใช้การเพาะเลี้ยงแบบวิดน้า ก็จะได้แค่ ข้าวหอมปทุม ข้าวหอมเหลือง ลักษณะจำเพำะของกลิ่นหอม ข้าวหอมมะลิมีกลิ่นหอมในตนเอง เป็นกลิ่นของธรรมชาติอันบริสุทธิ์ กลิ่นเหมือนดอกมะลิ เวลาเคี้ยวเมล็ดข้าวจะนุ่มหอมอร่อยมากกว่าข้าวอื่นๆ ลักษณะของข้าวหอมมะลิไทยจะมีเมล็ดเรียวยาวสวยงาม สีขาวหรือครีมอ่อนๆ ข้าวหอมมะลิสามารถนามาปรุงอาหารได้หลายเมนู ข้าวผัด ข้าวราดแกง ข้าวมันไก่ข้าวคลุกกะปิ ข้าวสวย ข้าวต้ม เกรดในกำรจำหน่ำย มีเกรดของข้าวอยู่ 4 เกรด คือ 1.เกรดดี 95.5 2.เกรดปานกลาง 70.3 3.เกรดไม่ดี 50.9 4.เกรดการปรับปรุง 20.0 2.2 ข้ำว กข15 ข้าว กข15 หรือ ข้าวหอมมะลิ กข15 หรือ ข้าวดอ ที่ชาวบ้านเรียกขานกันนั้นเป็นข้าวหอมมะลิพันธุ์เบาที่มีช่วงการเก็บเกี่ยว เร็วกว่า ข้าวหอมมะลิ105 ประมาณ หนึ่งเดือน เป็นข้าวที่เกษตรกรในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นิยมปลูกกัน เพื่อใช้เงินจากการขายข้าวบางส่วนเป็นค่าใช้จ่ายก่อนที่จะเก็บเกี่ยวข้าวหอมมะลิ105 ในช่วงปลายปี เพราะใช้เวลานานกว่า ประวัติพันธุ์
  • 9. 9 ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนาให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 15 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในปี พ.ศ. 2508 แล้วนามาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวต่างๆ ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนได้สายพันธุ์ KDML 105?65G1U-45 กำรรับรองพันธุ์ คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2521 ลักษณะประจำพันธุ์ เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140เซนติเมตร ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 10พฤศจิกายน ลาต้นและใบสีเขียวอ่อน ใบธงทามุมกับคอรวง รวงอยู่เหนือใบ ใบยาว ค่อนข้างแคบ เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ปลายบิดงอเล็กน้อย ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 7 สัปดาห์ เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา=10.7 x2.5 x 1.9 มิลลิเมตร เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา =7.5 x2.1 x 1.7 มิลลิเมตร ปริมาณอะมิโลส 14-17% คุณภาพข้าวสุก นุ่ม มีกลิ่นหอม ผลผลิต
  • 10. 10 ประมาณ 560 กิโลกรัมต่อไร่ ลักษณะเด่น ทนแล้งได้ดีพอสมควร อายุเบา เก็บเกี่ยวได้เร็ว คุณภาพการหุงต้ม นุ่ม มีกลิ่นหอม คุณภาพการสีดี เมล็ดข้าวสารใส แกร่ง เรียวยาว นวดง่าย ต้านทานโรคใบจุดสีน้าตาล ข้อควรระวัง ไม่ต้านทานโรคขอบใบแห้ง โรคไหม้ ไม่ต้านทานแมลงบั่ว เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลและหนอนกอ ล้มง่าย ฟางอ่อน เมล็ดร่วงง่าย พื้นที่แนะนำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2.2 ข้ำวชัยนำท 1 (Chai Nat 1) ชนิด ข้าวเจ้า คู่ผสม IR13146-158-1/IR15314-43-2-3-3// BKN6995-16-1-1-2
  • 11. 11 ประวัติพันธุ์ ได้จากการผสม 3 ทาง ระหว่างสายพันธุ์ IR13146-158-1และสายพันธุ์ IR15314-43-2-3-3 กับ BKN6995-16-1-1-2ที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท เมื่อ พ.ศ. 2525 ปลุกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ CNTBR82075-43-2-1 การรับรองพันธุ์ คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรองเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2536 ลักษณะประจำพันธุ์ เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 113เซนติเมตร ไม่ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 121-130 วัน ทรงกอตั้ง ใบสีเขียว ใบธงค่อนข้างยาวตั้งตรง คอรวงสั้น รวงยาวและแน่น ระแง้ค่อนข้างถี่ ฟางแข็ง เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8 สัปดาห์ เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา= 10.4 x2.3 x 1.7 มิลลิเมตร เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา = 7.7 x 2.1 x1.7 มิลลิเมตร ปริมาณอมิโลส 26-27 % คุณภาพข้าวสุก ร่วน แข็ง ผลผลิต ประมาณ 740กิโลกรัมต่อไร่ ลักษณะเด่น
  • 12. 12 ผลผลิตสูง ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนดี ต้านทานโรคใบหงิก และโรคไหม้ ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล และเพลี้ยกระโดดหลังขาว มีท้องไข่น้อย ข้อควรระวัง ไม่ต้านทานต่อโรคใบสีส้ม โรคขอบใบแห้ง และโรคใบขีดโปร่งแสง ในฤดูแล้งควรปลูกไม่เกินเดือนมีนาคม พื้นที่แนะนำ ทุกภาคในเขตชลประทาน 2.3 ชัยนำท 2(Chai Nat 2) ชนิด ข้าวเจ้า คู่ผสม หอมพม่า (GS.No.3780 ) / IR11418-19-2-3 ประวัติพันธุ์ ได้จากการผสมพันธุ์แบบผสมเดี่ยวระหว่างข้าวเจ้าพันธุ์หอมพม่า (GS.No. 3780) ซึ่งเป็นข้าวหอมพันธุ์พื้นเมืองจากจังหวัดกาญจนบุรี กับสายพันธุ์ IR11418-19-2-3 จากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI) ที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท ใน พ.ศ.2530 ปลูกคัดเลือกพันธุ์แบบสืบตระกูล จนได้สายพันธุ์ CNT87040-281-1-4 กำรรับรองพันธุ์
  • 13. 13 คณะกรรมการบริหาร กรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2547 ลักษณะประจำพันธุ์ เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง สูงประมาณ 83- 95เซนติเมตร อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 103 –105 วัน ทรงกอแบะ ใบสีเขียวเข้ม ใบธงเป็นแนวนอน รวงแน่นปานกลาง ระแง้ถี่ คอรวงยาว ต้นแข็ง ไม่ล้ม ใบค่อนข้างแก่เร็ว เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุ์ ประมาณ 5 สัปดาห์ เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา= 10.5 x2.4 x 2.1 มิลลิเมตร เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา = 7.7 x 2.1 x1.8 มิลลิเมตร ปริมาณอมิโลสสูง (29.02%) ข้าวสารมีสีขาว แต่ไม่ค่อยเลื่อมมัน คุณภาพข้าวสุก ร่วน มีกลิ่นหอม ผลผลิต ผลผลิตเฉลี่ย 657 กิโลกรัมต่อไร่ ลักษณะเด่น เป็นข้าวอายุสั้นกว่าพันธุ์ปทุมธานี 1ประมาณ 7-9วัน
  • 14. 14 คุณภาพการหุงต้ม เป็นข้าวร่วน มีกลิ่นหอม เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่ชอบข้าวร่วนประเภทข้าวเสาไห้ แต่มีกลิ่นหอม ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลได้ดีกว่าพันธุ์ปทุมธานี 1 ข้อควรระวัง อ่อนแอมากต่อบั่ว ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคใบสีส้ม และอ่อนแอต่อโรคขอบใบแห้งในภาคเหนือตอนล่าง แปลงที่ปลูกข้าวแน่นและใช้ปุ๋ยไนโตรเจนสูง เมื่อมีความชื้นสูงอาจเกิดการระบาดของโรคไหม้ 2.4 ชัยนำท 3 (Chai Nat 3) ชัยนาท 3, ชัยนาท 80 และกข29 เป็นชื่อข้าวพันธุ์เดียวกัน ไม่ว่าจะเรียกว่ายังไงก็ได้ทั้งนั้น โดยชื่อ ชัยนาท 3มาจากลาดับของพันธุ์ข้าวที่ออกโดยศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เป็นพันธุ์ที่สาม ชื่อชัยนาท 80 เป็นชื่อที่เนื่องมาจากรับรอง ในปีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนม์มายุครบ 80 พรรษา ส่วนชื่อ กข29 กาหนดจากเป็นข้าวพันธุ์แรกที่รับรองพันธุ์ภายหลังมีประกาศจัดตั้งกรมการข้าว ขึ้นใหม่ ต่อจากพันธุ์ข้าว กข27 ซึ่งเป็นข้าวพันธุ์สุดท้ายที่รับรองโดยของกรมการข้าวเดิม โดยปัจจุบันในหน่วยงานกรมการข้าวกาหนดให้เรียกชื่อ กข29 เหมือนกันทั้งหมด เพื่อให้ความเข้าใจที่ตรงกัน เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยว 103 วัน ในฤดูนาปี และ 99วันในฤดูนาปรัง เมื่อปลูกโดยวิธีหว่านน้าตม กอตั้ง ต้นแข็งไม่ล้มง่าย ความสูงเฉลี่ย 104 เซนติเมตร ใบสีเขียวเข้ม ใบธงตั้งตรง รวงแน่นปานกลาง คอรวงยาว เปลือกเมล็ดสีฟาง ข้าวกล้องสีขาว เป็นท้องไข่น้อย รูปร่างเรียว ยาว 7.34 มิลลิเมตร กว้าง 2.23 มิลลิเมตร หนา1.80 มิลลิเมตร มีปริมาณแอมิโลสสูง (26.6-29.4%) ระยะพักตัวของเมล็ด 4-6สัปดาห์
  • 15. 15 ประวัติ ได้จากการผสมสามทางระหว่างลูกผสมชั่วที่ 1 ของพันธุ์สุพรรณบุรี 60 และสายพันธุ์ IR29692-99-3-2-1กับสายพันธุ์ IR11418-19-2-3ที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เมื่อ พ.ศ. 2532 คัดเลือกจนได้สายพันธุ์ CNT89098-281-2-1-2-1 ปี พ.ศ. 2533 - 2541 ศึกษาพันธุ์ และเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานีที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทระหว่าง ปี ปี ปี พ.ศ. 2541 - 2547 นาเข้าเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานีที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี และศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2542 - 2547 นาเข้าเปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร์ จังหวัดพิษณุโลก ลพบุรี สิงห์บุรี และชัยนาท ปี พ.ศ. 2544 - 2548 นาเข้าทดสอบเสถียรภาพผลผลิต ที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก แพร่ อุบลราชธานี สกลนคร สุรินทร์ ปทุมธานี สุพรรณบุรี พัทลุง คลองหลวง ราชบุรี ชัยนาท ลพบุรี และฉะเชิงเทราคัดเลือกเข้าทดสอบผลผลิตในนาเกษตรกร ในจังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พิจิตร สุโขทัย ชัยนาท และสิงห์บุรี คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ กรมการข้าว มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง ชื่อ กข29 (ชัยนาท 80) เพื่อแนะนาให้เกษตรกรปลูก เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550 ลักษณะเด่น 1. อายุสั้น มีอายุวันเก็บเกี่ยว 99วัน ในฤดูนาปรัง และ103 วันในฤดูนาปี เมื่อปลูกโดยวิธีหว่านน้าตม 2. ผลผลิตสูง เฉลี่ย 876กิโลกรัมต่อไร่ 3. ค่อนข้างต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลในภาคเหนือตอนล่าง และโรคขอบใบแห้ง
  • 16. 16 4.ให้ผลผลิตเฉลี่ยฤดูฝน 725 กก./ไร่ และฤดูแล้ง 754 กก./ไร่ 5.คุณภาพการสีดีมาก สามารถสีเป็นข้าวขาว 100 เปอร์เซ็นต์ 6. มีปริมาณธาตุเหล็กในข้าวกล้อง 15.7 มิลลิกรัม ต่อ 1 กิโลกรัม ในข้าวสาร 6.7 มิลลิกรัมต่อ 1 กิโลกรัม พื้นที่แนะนำ พื้นที่นาชลประทาน ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน ที่ต้องการข้าวอายุสั้น โดยเริ่มปลูกในเดือนสิงหาคม ธันวาคม และเมษายน หรือสาหรับปลูกหลังถูกน้าท่วมในฤดูฝนและสามารถปลูกและเก็บเกี่ยวได้ 2 ครั้งในฤดูนาปรังก่อนถูกน้าท่วม ข้อควรระวัง 1.ไม่ควรปลูกในช่วงกลางเดือนกันยายนถึงปลายเดือนพฤศจิกายน ซึ่งมีอากาศเย็น ทาให้เมล็ดลีบมาก ผลผลิตต่า 2. กข29 (ชัยนาท80) อ่อนแอต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ในเขตจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี และฉะเชิงเทรา ปัจจุบันข้าวพันธุ์ กข29 หลังจากที่ในระยะแรกมีความยาวของเมล็ดข้าวเปลือกสั้นกว่าเมล็ดข้าวทั่วไปอยู่เล็กน้อย จนไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก ปัจจุบันจึงได้มีการคัดเลือกพันธุ์ใหม่อีกครั้งเพื่อให้มีความยาวของเมล็ดมากขึ้น จนเป็นที่ยอมรับจากโรงสีหรือพ่อค้าข้าว ซึ่งเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางยังมีการปลูกข้าวพันธุ์นี้อยู่ พื้นที่แนะนำ
  • 17. 17 แนะนาให้ปลูกในพื้นที่การทานาเขตชลประทาน ที่มีการทานาอย่างต่อเนื่อง ในภาคเหนือตอนล่าง พื้นที่ซึ่งน้าท่วมเร็วในฤดูฝน มีช่วงระยะเวลาการทานาค่อนข้างจากัดเพื่อสามารถปลูกและเก็บเกี่ยวได้ทันเวลา 2.5 ข้ำวหอมแดง (Red Hawn Rice) ชนิด ข้าวเจ้า ประวัติพันธุ์ พ.ศ. 2525– 2526 จากการตรวจสอบความบริสุทธิ์ของข้าวพันธุ์หลัก ขาวดอกมะลิ 105 ที่สถานีทดลองข้าวสุรินทร์ ซึ่งมีนายบุญโฮม ชานาญกุล เป็นผู้อานวยการสถานีในขณะนั้น พบว่า ในรวงข้าวจานวนหนึ่งมีเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่ จึงแยกเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่ จึงแยกเมล็ดแต่ละรวงไปปลูกศึกษาลักษณะต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 จากการแยกเมล็ดที่ปนอยู่กับข้าวขาวดอกมะลิ 105 ออกปลูกเป็นกอๆ และทาการศึกษาลักษณะของเมล็ดข้าวกล้อง พบว่ากอหนึ่งมีเยื่อหุ้มเมล็ด (Pericarp) ของข้าวกล้องสีแดงเรื่อๆ ซึ่งมีทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ทางสถานีทดลองข้าวสุรินทร์จึงแยกชนิดข้าวเจ้า และข้าวเหนียวไว้ และให้ความสนใจเฉพาะที่เป็นข้าวเจ้า พ.ศ. 2529– 2530 เมล็ดข้าวแดงที่เชื่อว่ากลายพันธุ์มาจากข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยธรรมชาติ ถูกแบ่งและส่งไปปลูกที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ และสถานีทดลองขาวโคกสาโรง โดยนักวิชาการที่สนใจใช้เวลาว่างปลูกบริเวณพื้นที่หัว /ท้ายแปลงทดลอง เพื่อศึกษาคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์ต่อเป็นสายพันธุ์ต่างๆ พ.ศ. 2531นายบุญโฮม ชานาญกุล ย้ายไปเป็นผู้อานวยการศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ได้นาเอาเฉพาะเมล็ดข้าวเจ้าที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงไปปลูกคัดเลือกรวงและปลูกแบบรวงต่อแถว
  • 18. 18 โดยมีข้าวแดงประมาณ 100 กว่าสายพันธุ์ และได้ทาการคัดเลือกสายพันธุ์ข้าวแดงหอมไว้ 50 สายพันธุ์ พ.ศ. 2533มีเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลระบาดรุนแรง ปรากฏว่า มี 5สายพันธุ์ ที่ไม่ถูกเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลทาลาย และได้ทาการคัดเลือกสายพันธุ์ดีเด่นเพียง 2สายพันธุ์ คือ KDML105R-PSL-1 ซึ่งเป็นข้าวหนักและ KDML105R-PSL-2 ซึ่งเป็นข้าวเบา พ.ศ. 2535เกษตรกรที่อยู่ใกล้ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกได้นาเมล็ดข้าวสายพันธุ์ดีเด่น ไปปลูกและแปรรูปเป็นข้าวกล้องข้าวแดง จาหน่ายในชื่อ “ข้าวเสวย” พ.ศ. 2536พบว่า อายุสุกเก็บเกี่ยวของข้าวแดงหอมในแปลงเกษตรกรยังมีการกระจายตัว ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกจึงได้นาสายพันธุ์ข้าวเบาและข้าวหนักกลับมาคัดเลือกใหม่ พ.ศ. 2538ได้สายพันธุ์ KDML105R-PSL-E-14 พ.ศ. 2542สถาบันวิจัยข้าวเสนอขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร เป็น พันธุ์ข้าวทั่วไป โดยใช้ชื่อว่า ข้าวหอมแดง (Red Hawm Rice) ลักษณะประจำพันธุ์ เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 120– 130เซนติเมตร ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 20พฤศจิกายน ลาต้นแข็ง กอตั้ง ใบสีเขียวอ่อน ใบโน้มใบธงตก เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8สัปดาห์ ท้องไข่น้อย
  • 19. 19 เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา= 9.6 x3.9 x 2.3 มิลลิเมตร เมล็ดข้าวกล้อง ยาว xกว้าง xหนา = 7.5 x 2.1 x1.7 มิลลิเมตร ปริมาณอมิโลส 16.9 % ผลผลิต ประมาณ 643กิโลกรัมต่อไร่ ลักษณะเด่น เป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงเข้ม ข้าวสุกนุ่ม เหนียว และมีกลิ่นหอมเหมือนขาวดอกมะลิ 105 ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ในสภาพธรรมชาติได้ดี ค่อนข้างต้านทานโรคไหม้ ข้อควรระวัง อ่อนแอต่อโรคใบสีส้ม โรคขอบใบแห้ง และโรคใบขีดโปร่งแสง พื้นที่แนะนำ ควรปลูกในพื้นที่เฉพาะ เพราะเป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดง การนาไปปลูกในแปลงข้าว ขาวอาจทาให้ปะปนกัน 3.กำรตรวจสอบค่ำ PH
  • 20. 20 ค่ำpH คืออะไร ? ความเป็นกรด-ด่างของสสาร วัดกันด้วยหน่วย pH ซึ่งโดยปกติจะมีค่าอยู่ที่ 0-14 ดังนั้นหากในดินมีค่า pH เท่ากับ 7ก็แสดงว่ามีความเป็นกรด-ด่างเป็นกลาง แต่ถ้ามีค่า pH ต่ากว่า 7 ก็แสดงว่าดินมีความเป็นกรดมาก กลับกันหากดินมีค่า pH สูงกว่า 7ก็แสดงว่ามีความเป็นด่างสูง ซึ่งโดยทั่วไปแล้วดินมักจะมีค่าความเป็นกรดอยู่ที่ 3 และมีค่าความเป็นด่างอยู่ที่ 10 โดยมีปัจจัยแวดล้อมอย่างสารอาหารที่ดินได้รับ เช่นซากพืช ซากสัตว์ ที่ทับถม และปริมาณน้าฝนโดยเฉลี่ยต่อปีเป็นส่วนประกอบ ซึ่งดินที่มีค่า pH ประมาณ 6.5 จะเป็นดินที่ปลูกต้นไม้ได้ดีที่สุด เพราะมีค่าค่อนข้างเป็นกลาง แต่จะมีพืชบางชนิด เช่น บลูเบอร์รี่, ชวนชม, ดอกพุด ที่จะเจริญเติบโตได้ดีในค่าความเป็นกรด จึงต้องใช้ดินที่มีค่า pH อยู่ที่ 4.5-5.5 เป็นต้น เรียกว่าหาก่อนปลูกต้นไม้ มีการศึกษาเรื่องค่า pH ในดินไว้แต่แรก ต้นไม้ก็จะเจริญเติบโตได้ดีขึ้น ค่ำpH มีผลต่อพืชอย่ำงไร ค่า pH ในดินไม่ได้มีผลโดยตรงกับการเจริญเติบโตของพืช แต่มีส่วนช่วยให้พืชสามารถดูดซับสารอาหารจากดินได้ดีขึ้นเท่านั้น ซึ่งถ้าหากพืชเจริญเติบโตในดินที่มีค่าความเป็นกรดต่าเกินไป ใบก็จะเหลือง เนื่องจากไม่สามารถดูดธาตุเหล็กเข้าไปบารุงต้นได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นดินที่จะเหมาะกับการปลูกพืช จึงต้องมีค่าความเป็นกรดอยู่พอสมควร เพื่อที่ความเป็นกรดจะได้แปลงธาตุอาหารให้พืชดูดกินได้สะดวก แต่ถึงอย่างนั้นค่า pH ก็มีผลเสียต่อพืชอยู่เช่นกัน โดยหากดินมีค่า pHต่า ธาตุแมงกานีสในดินก็จะกลายเป็นพิษต่อพืช เป็นสาเหตุให้พืชมีใบเหลือง ใบแห้ง และตายได้ในที่สุด และถ้าหากค่า pHในดินต่ามากจนเกินไป ดินก็จะดูดซับสารอะลูมิเนียมแทนธาตุอาหารจาเป็น ต้นไม้จึงเติบโตช้า เพราะไม่ได้กินอาหารที่มีประโยชน์ แต่ถ้าดินมีค่า pH อยู่ในระดับที่เหมาะสม
  • 21. 21 ก็จะช่วยให้สารอาหาร และสิ่งมีชีวิตในดินเจริญเติบโตได้ดี อีกทั้งยังช่วยแปลงธาตุไนโตรเจนให้พืชสามารถดูดซับได้ ส่งผลให้พืชงอกงามสุขภาพดีอีกด้วย กำรเปลี่ยนค่ำ pH ให้ดิน หากรู้สึกว่าดินมีปัญหา เราก็สามารถเปลี่ยนแปลงค่า pH ให้ดินได้แต่ก่อนจะเปลี่ยนแปลงค่า pH ในดิน เราจาเป็นจะต้องรู้ค่า pH ที่มีอยู่ของดินก่อน เพื่อจะได้รู้ว่าควรจะเติม หรือลดค่า pH ให้ดินดี โดยขั้นตอนการตรวจสอบ อาจจะดูจากลักษณะการเจริญเติบโตของพืช แต่ถ้าจะให้แน่ใจ ควรจะนาไปตรวจสอบวัดค่าpH ของดินในห้องแล็ปจะดีที่สุด นอกจากนี้ก็ควรต้องรู้ลักษณะของดินด้วย ว่าจัดเป็นดินทราย หรือดินเหนียว เพราะถ้าเป็นดินเหนียว จะเปลี่ยนแปลงค่า pH ได้ยากกว่าดินทราย ซึ่งการแก้ไขค่า pHโดยทั่วไปเรามักจะใช้หินปูนเพิ่มค่า pH ให้ดิน และใช้ซัลเฟอร์ลดค่า pH ในดิน โดยทั้ง2 ชนิดนี้สามารถหาซื้อได้ในลักษณะผง ซึ่งใช้ง่ายและสะดวก จะใช้ละลายน้าและและเทราดลงในดินเพื่อปรับค่า pH ในดินอย่างรวดเร็ว หรือจะเทผงที่ใต้โคนต้นแล้วค่อย ๆให้ดินดูดซับไปอย่างช้าๆ ก็ได้ ทาไมจึงต้องเช็คระดับค่า pH อยู่ตลอด เนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างทั้งแร่ธาตุในดิน และระดับน้าฝนที่ตกในแต่ละปี รวมไปถึงปุ๋ยที่เราใส่บารุงพืช จึงทาให้ค่า pHในดินสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงต้องหมั่นตรวจสอบ และสังเกตค่า pH ในดินอยู่เสมอ เพื่อจะได้ปรับระดับค่า pH ในดินให้มีความเหมาะสมกับพืช และส่งเสริมให้พืชเจริญเติบโตอย่างสวยงาม ออกดอกออกผลเป็นที่น่าพอใจ 3.ที่ตั้งและอำณำเขต
  • 22. 22 อาเภอท่าตูมตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอเกษตรวิสัย (จังหวัดร้อยเอ็ด) และอาเภอสุวรรณภูมิ (จังหวัดร้อยเอ็ด) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอรัตนบุรีและอาเภอสนม ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอจอมพระ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอสตึก (จังหวัดบุรีรัมย์) และอาเภอชุมพลบุรี
  • 23. 23 บทที่ 3 วิธีกำรดำเนินกำรศึกษำ ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ทาการศึกษาเรื่องการศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ขอ งอาเภอท่าตูม ซึ่งมีวิธีดังนี้ ระเบียบวิธีที่ใช้ในกำรศึกษำ ในการศึกษาใช้รูปแบบการสารวจ สืบค้นข้อมูลอินเตอร์เน็ต และสอบถามจากเจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูม และเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ ประชำกรที่ใช้ในกำรศึกษำ 1.ประชำกร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูมและศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ 2.กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่เจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูม อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เป็นเจ้าหน้าที่รวมทั้งสิ้น 4 คน เพื่อให้คาปรึกษาเกี่ยวกับโครงงานเรื่องนี้ 3.ระยะเวลำที่ใช้ในกำรศึกษำ ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
  • 24. 24 วิธีดำเนินกำรศึกษำ ผู้ศึกษำได้ดำเนินกำรตำมขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดเรื่องที่จะศึกษา โดยสมาชิกทั้ง 3 คน ประชุมร่วมกัน และร่วมกันคิดและวางแผน ว่าจะศึกษาเรื่องใด 2. สารวจปัญหาที่พบในนาข้าว ได้แก่ปัญหาข้าวใบสีเหลือง ข้าวเป็นโรค ในนาข้าวมีเพลี้ย เลือกเรื่องที่จะศึกษา โดยเลือกเรื่องที่สมาชิกมีความสนใจมากที่สุด เพื่อเป็นแรงจูงใจในการค้นหาคาตอบ 4. ศึกษาแนวคิดในการแก้ปัญหา (ในข้อนี้ยังไม่สามารถดาเนินการได้เนื่องจาก การเรียนรายวิชา IS 2 เวลามีจากัด ) ผู้ศึกษาจึงทาได้เฉพาะการสารวจความคิดเห็น ศึกษาเพียงเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องกระบวนการวิจัยเท่านั้น 5. ตั้งชื่อเรื่อง 6. สมาชิกทั้ง 3คนของกลุ่ม พบครูผู้สอนเพื่อปรึกษา วางแผนและรับฟังความคิดเห็น ปรับปรุงแก้ไข 7. เขียนความสาคัญความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมุติฐาน ขอบเขตการวิจัยและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โดยศึกษาข้อมูลจากหนังสือ และสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตและ จด บันทึกในโครงร่างรายงานเชิงวิชาการ 8. สร้างเครื่องมือ หาคาตอบคาถามที่ต้องการรู้ 9. นาเครื่องมือที่ปรับปรุงแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
  • 25. 25 10. รวบรวมข้อมูล 11. วิเคราะห์ข้อมูล 12. สรุปการศึกษา ขั้นตอนวิธีดำเนินกำรศึกษำ
  • 26. 26 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ได้ดาเนินการโดยค้นหาข้อมูลที่สานักงานเกษตรอาเภอท่าตูมและจากศูนย์วิจัยพันธุ์ข้ าว โดยผู้ศึกษาทั้ง 3คน ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง กำรวิเครำะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1.นาข้อมูลที่ได้สอบถามมาวิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่าง 2.สรุปข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้สอบถาม สถิติที่ใช้ในกำรศึกษำ -
  • 27. 27 บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง การศึกษาศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม ได้ผลดังนี้ เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105ปริมาณ 3 ตันต่อศูนย์ต่อปีและพันธุ์ข้าวหอมมะลิ ปริมาณ 5 ตันต่อศูนย์ต่อปี ตามเป้าหมาย เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดเพื่อการปรับปรุงบารุงดิน ปี 2549/50 จานวนศูนย์ที่ได้รับจัดสรรรวม 16 ศูนย์ ปริมาณศูนย์ละ 942 กิโลกรัม จากเป้าหมาย 1,000 กิโลกรัมต่อศูนย์ และปี 2550/51 จานวนศูนย์ที่ได้รับการจัดสรรลดลงเหลือ 13 ศูนย์ และมีปริมาณค่อนข้างน้อยเฉลี่ยเพียง 338กิโลกรัมต่อศูนย์ นอกจากนี้ หน่วยงานสังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร ได้ดาเนินการให้การถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร จานวน 6 -7ครั้งต่อศูนย์ มีผู้ทาแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์เข้ารับการอบรมครบทุกหลักสูตรปี 2549/50 ร้อยละ 63.46 เข้าอบรมไม่ครบตามหลักสูตร ร้อยละ 36.54 ส่วนในปี 2550/51 ร้อยละ 66.34 และ 33.66 ตามลาดับ ผลจากการทาแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิและเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ105 ปี 2549/50 ได้รับผลผลิตเฉลี่ย 363.47 กิโลกรัมต่อไร่ และปี 2550/51 เฉลี่ย 335.89 กิโลกรัมต่อไร่ หรือคิดเป็นปริมาณเฉลี่ย 74.82 และ 70.18 ตันต่อศูนย์ โดยเกษตรกรนาผลผลิตดังกล่าวไปตรวจสอบเพื่อการรับรองคุณภาพ ร้อยละ 64.78 ในปี 2549/50 และเพิ่มเป็นร้อยละ 74.64 ในปี 2550/51 ซึ่งได้รับการรับรองคุณภาพทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณเฉลี่ย 48.47 และ 52.38 ตันต่อศูนย์ ตามลาดับ จากเป้าหมายศูนย์ละ 50 ตันต่อปี ที่ตั้งและอำณำเขตของอำเภอท่ำตูม
  • 28. 28 อาเภอท่าตูมตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอเกษตรวิสัย (จังหวัดร้อยเอ็ด) และอาเภอสุวรรณภูมิ (จังหวัดร้อยเอ็ด) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอรัตนบุรีและอาเภอสนม ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอจอมพระ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอสตึก (จังหวัดบุรีรัมย์) และอาเภอชุมพลบุรีภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม สภาพอากาศทั่วไป เป็นสภาพอากาศแบบแห้งแล้ง มีลุ่มแม่น้ามูลไหลผ่านตลอดปี และมีช่วงหน้าหนาวคือระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม ที่น้ามูลลดลงบ้าง แต่ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ชาวนาเก็บเกี่ยวผลผลิตพอดีทาให้ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับผลผลิตมากนัก
  • 29. 29 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ จากการศึกษาครั้งนี้เพื่อ เพื่อทราบพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูมและเพื่อเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมา ะสมกับสภาพภูมศาสตร์ให้แก่เกษตรกร ซึ่งสามารถสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะได้ดังนี้ 1.วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.สมมุตติฐานของการศึกษา 3.ขอบเขตของการศึกษา 4.เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 5.วิเคราะห์ข้อมูล 6.สรุปผลการศึกษา 7.ข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ 1.เพื่อทราบพันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม 2.เพื่อที่จะเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม สมมุตติฐำนของกำรศึกษำ 1. ได้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม
  • 30. 30 2. ได้ความรู้เพื่อที่จะเผยแพร่พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ให้แก่เกษตรกร ขอบเขตของกำรศึกษำ สถำนที่ ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เกษตรอาเภอท่าตูม เกษตรกรหมู่บ้านหนองเรือ เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ - กำรวิเครำะห์ข้อมูล - สรุปผลกำรศึกษำ ผลการศึกษาที่มีต่อการศึกษาเรื่อง การศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม ได้บทสรุปคือ พันธุ์ข้าวที่เหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูมและเหมาะแก่การเผยแพร่ ได้แก่พันธุ์ข้าวมะลิ 105 หรือข้าวหอมมะลิ กำรอภิปรำยผล จากการศึกษาเรื่องการศึกษาพันธ์ข้าวต่างๆเหมาะกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูม พบว่า พันธุ์ข้าวมะลิ 105 หรือข้าวหอมมะลิ เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ของอาเภอท่าตูมเพราะข้าวหอมมะลิหรือมะลิ 105 มีลักษณะลาต้นสูง ข้าวหอมมะลิชอบดินปนทราย ทนต่อสภาพพื้นที่แห้งแล้ง ทนต่อสภาพดินเค็ม ดินเปรี้ยว พื้นที่เป็นนาดอนใช้น้าฝนในการเพาะเลี้ยงนาที่ไหนเป็นอย่างนี้ จะได้ผลผลิตดีที่สุด เมล็ดข้าวจะยาว เรียว บิดนิดๆ ผิวเมล็ดลื่น ขาวใสพอแกะออกมาเป็นข้าวกล้อง จะเป็นสีขาว ใส
  • 31. 31 ที่สาคัญคือที่เมล็ดไม่มีท้องไข่ มีจมูกข้าวเล็ก ข้าวหอมมะลิเป็นพันธุ์ข้าวที่ไวแสง ซึ่งถือเป็นคุณสมบัติของข้าวพื้นเมืองคาว่าไวแสงคือ ไม่ว่าจะเพาะปลูกในช่วงต้นฤดูเดือนไหนก็ตาม เช่นคนที่ปลูกเดือนเมษายน กับคนที่ปลูกเดือนสิงหาคม ต้นข้าวมันจะไปออกรวง พร้อมกันในช่วงกลางเดือนตุลาคม-กลางเดือนพฤศจิกายน เพราะมันต้องอาศัยช่วงแสงแดดที่กลางวันสั้นกว่ากลางคืน คือมืดเร็วกว่า ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกในอาเภอท่าตูมคือ อาเภอท่าตูมมีลักษณะดินเป็นดินทราย และดินเค็ม พื้นนาแห้งแล้ง และในช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม จะเป็นช่วงที่น้าลด แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อผลผลิต เพราะเป็นช่วงที่ชาวนาเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จแล้ว ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในกำรศึกษำครั้งนี้ 1.สามารถนาไปศึกษากับกลุ่มตัวอย่างอื่น 2.ควรมีเวลาศึกษามากขึ้น
  • 32. 32 บรรณำนุกรม เว็บไซต์ สานักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว ทีมงานรักบ้านเกิด .คอม สืบค้นเมื่อวันที่ http://www.brrd.in.th/rvdb/index.php?option=com สืบค้นเมื่อ วันที่ 3 สิงหาคม 2557 http://www.thaisiamboonphong.com/index.php?lay=show&ac=cat_show_pro_detail&pid=92975 เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2557 http://www.hommali.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538856187&Ntype=1 สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2557 http://www.hommali.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538839492&Ntype=1 สืบค้นเมื่อวันที่ 9กันยายน 2557 http://www.surinnanasinpan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=459817&Ntype=1 สืบค้นเมื่อวันที่ 19ตุลาคม 2557 http://www.acfs.go.th/warning/view_Knowledge.php?id=97 สืบค้นเมื่อวันที่ 26ตุลาคม 2557 http://blog.janthai.com
  • 33. 33 สืบค้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 http://www.brrd.in.th/rkb/varieties/index.php-file=content.php&id=65.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 http://cnt-rsc.ricethailand.go.th/ สืบค้นเมื่อวันที่ 23พฤศจิกายน 2557 http://cntrice-istore.blogspot.com/2011/10/3-chai-nat-3-29-rd29-80-chai-nat-80.html http://www.brrd.in.th/rvdb/index.php?option=com สืบค้นเมิ่อวันที่ 12ธันวาคม 2557 http://www.websanom.com/sanom_info_rice_thailand_02.php สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2557 http://pantip.com/topic/31399548 สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2557 http://www.amnatcharoenrice.com/index.php/eco-store/4 สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2557
  • 39. 39
  • 43. 43 ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ –นามสกุล นางสาว สุนัทดา สุววรณหอม วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 29 มกราคม 2542 ที่โรงพยาบาลบ้านบึง ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6จากโรงเรียนบ้านกุดมะโน และเข้าศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ต่อที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ และจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่ โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  • 44. 44 ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ –นามสกุล นางสาวพรไพลิน กิติ วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 20 ตุลาคม 2541 ที่โรงพยาบาลจังหวัดสุรินทร์ ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่6 จากโรงเรียนบ้านบัวโคก ตาบลบัวโคก อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่4 ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์
  • 45. 45 ประวัติผู้ศึกษำ ชื่อ –นามสกุล นางสาว บัณฑิตา ชนะชัย วัน เดือน ปี สถานที่เกิด วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2541 ที่โรงพยาบาลสุรินทร์ ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6จากโรงเรียนบ้านสะเอิง และเข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ปัจจุบันศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
  • 46. 46 ประวัติผู้ศึกษำ ชื่อ –นามสกุล นางสาว วรดา วงษ์สุนทร วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 12 กุมพาพันธุ์ 2541 โรงพยาบาลสุริทรื ประวัติการศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนท่าตูมสนิทราษฏ์วิทยาคม และเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ และจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปัจจุบันศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์