SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ความหมายของจริยธรรม
คาว่าจริยธรรมมีความหมายใกล้เคียงกับคาว่าจริยศาสตร์ นอกจากนี้ ยังมีคาที่มีความหมายใกล้เคียงกัน
อีกหลายคา บางครั้งก็มีการนามาใช้แทนกัน ซึ่งให้ความหมายทั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนั้น การ
ทาความเข้าใจความหมายและขอบข่ายของจริยธรรมกับศัพท์เกี่ยวข้องในหลายมุมมอง ทาให้ทราบถึง
ทรรศนะมุมมองของผู้รู้ต่าง ๆ ที่พยายามศึกษาแนวคิดจริยธรรมในด้านที่แตกต่างกันออกไป
โดยทั่วไปเมื่อกล่าวถึงคาว่าจริยธรรม ผู้ฟังหรือผู้อ่านมักจะพิจารณาอยู่ในกรอบคิดเกี่ยวกับศาสนา ทั้งนี้
เพราะคาสอนทางศาสนามีส่วนสร้างระบบจริยธรรมให้สังคม ดังคากล่าวของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ที่ว่า
“จริยธรรมของสังคมไทยขึ้นอยู่กับระบบศีลธรรมของพุทธศาสนาว่า กาหนดหลักในการปฏิบัติในชีวิต
ประจาไว้อย่างไร หลักจริยธรรมก็จะกาหนดให้ปฏิบัติตามนั้น”
ทั้งนี้ จริยธรรมมาจากคาว่า จริย กับ ธรรมะ จริย หมายถึง ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ ธรรมะ
หมายถึง คุณความดี คาสั่งสอนในศาสนา หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความ
ถูกต้อง กฎเกณฑ์ กฎหมาย สิ่งของทั้งหลาย เมื่อพิจารณาตามรูปคาจากพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้คานิยามว่า “จริยธรรม” คือ ธรรมที่เป็น ข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม
กฎศีลธรรม
จากความหมายดังกล่าวหากมีการจัดระดับจริยธรรม สาโรช บัวศรี ได้ให้ความเห็นว่า จริยธรรมมีหลาย
ระดับ ซึ่งสามารถจาแนกตามระดับกว้าง ๆ ได้ ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับของผู้ครองเรือน คือ โลกีย์ธรรม กับ
ระดับของผู้ที่สละบ้านเรือนแล้ว คือ โลกุตตรธรรม
ในความหมายที่เฉพาะเจาะจงนั้น ศาสตราจารย์ ดร. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ เห็นว่า จริยธรรม หมายถึง
ความถูกต้องดีงาม สังคมทุกสังคมจะกาหนดกฎเกณฑ์กติกา บรรทัดฐานของตนเองว่า อะไรเป็นสิ่งที่ดีงาม
และอะไรคือความถูกต้อง โดยทั่วไปมิได้มีการเขียนเป็นกฎข้อบังคับให้สมาชิกทุกคนต้องยึดถือปฏิบัติตาม
ซึ่งหากมีการละเมิดจะถูกลงโทษโดยสังคมในขณะเดียวกัน
จริยธรรมกับสังคมยุคสารสนเทศ
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
หมายถึง สิทธิส่วนตัวของบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรที่จะคงไว้ซึ่งสารสนเทศที่มีอยู่นั้น เพื่อตัดสินใจได้ว่า
จะสามารถเปิดเผยให้ผู้อื่นนาไปใช้ประโยชน์ต่อหรือเผยแพร่ได้หรือไม่ เราอาจจะพบการละเมิดความเป็น
ส่วนตัว เช่น
-ใช้โปรแกรมติดตามและพฤติกรรมผู้ที่ใช้งานบนเว็บไซท์
-การเอาฐานข้อมูลส่วนตัวรวมถึงอีเมล์ของสมาชิกส่งไปให้กับบริษัทผู้รับทาโฆษณา
2. ความถูกต้องแม่นยา (Information Accuracy)
-สารสนเทศที่นาเสนอ ควรเป็นข้อมูลที่มีการกลั่นกรองและตรวจสอบความถูกต้องและสามารถนาเอาไปใช้
ประโยชน์ได้โดยไม่ส่งผลกระทบกับผู้ใช้งาน
-ผู้ใช้งานสารสนเทศจึงควรเลือกรับข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และตรวจสอบที่มาได้โดยง่าย
3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
-สังคมยุคสารสนเทศมีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างง่ายดาย มีเครื่องมือและอุปกรณ์สนับสนุนมากขึ้น
-ก่อให้เกิดการลอกเลียนแบบ ทาซ้าหรือละเมิดลิขสิทธิ์ (copyright) โดยเจ้าของผลงานได้รับผลกระทบทั้ง
โดยตรงและโดยอ้อม
4. การเข้าถึงข้อมูล (Information Accessibility)
-ผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลระบบ จะเป็นผู้ที่กาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน
-บางแห่งอาจให้บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น
ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลาพัง และเป็นสิทธิที่
เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจก
บุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆ
ปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้
1. การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในกเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง
การบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร
2. การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้
คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็น
การติดตามการทางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็
ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทาเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม
3. การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด
4. การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนาไป
สร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนาไปขายให้กับบริษัทอื่น
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จีงควรจะต้อง
ระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้
บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล
ความถูกต้อง (Information Accuracy)
ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สาคัญประการหนึ่ง คือ
ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ทั้งนี้ ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องใน
การบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่า
ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกค้า
ลงทะเบียนด้วยตนเอง หรือกรณีของข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ อีกประเด็นหนึ่ง คือ จะทรายได้
อย่างไรว่าข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดจากความจงใจ และผู้ใดจะเป็นผู้รับผิดชอบหากเกิด
ข้อผิดพลาด
ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้
เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น
ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้ซอฟต์แวร์นั้น
สาหรับท่านเองหลังจากที่ท่านเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าท่านได้ยอมรับข้อตกลงเกี่ยวกับ
ลิขสิทธิ์ในการใช้สินค้านั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรม
คอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดตั้งได้เพียงครั้งเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ
ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้
ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ท่านยังเป็นบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมา
การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกาหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดาเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการ
รักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ
เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการ
เข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมนั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรม
เช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว
ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตาม
ระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังที่กล่าวมา
ข้างต้นก็คงจะไม่เกิดขึ้น
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น
“อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความ
เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง
ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The
Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่ง
จัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทาง
คอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูล
หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่
ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
การลักลอบเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต (Unauthorized Access and Use)
ผู้ไม่ประสงค์ดีเจ้ามาลักลอบอ่านข้อมูลและนาไปใช้ในทางที่เสียหายต่อองค์กรนั้นๆ โดยที่เป้าหมายมิอาจ
รู้ตัวได้
กลุ่มคนที่ลักลอบแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม
1. แฮกเกอร์ (Hacker) เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้ ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์แและระบบเครือข่ายเป็อ
ย่างดี บางครั้งจึงมักนิยมเรียกว่า กลุ่มคนหมวกขาว หรือ White hat
2. แครกเกอร์ (Cracker) เป็นกลุ่มที่สร้างความเสียหายที่รุนแรงกว่าแฮกเกอร์ นิยมเรียกคนกลุ่มนี้ว่ากลุ่ม
คนหมวกดา หรือ black hat
3. สคริปต์คิดตี้ (Script Kiddy) กลุ่มผู้ที่ชอบเจาะข้อมูล และก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์ผู้อื่นให้เกิดความ
เสียหายได้แล้ว เช่น การลอบอ่านอีเมล์ การขโมยรหัสผ่านผู้อื่น
การขโมยและทาลายอุปกรณ์ (Hardware Theft and Vandalism)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เสี่ยงต่อการลักลอบขอโมยไปใช้งานเช่นเดียวกับการลักลอบโจรกรรม โดยเฉพาะ
กลุ่มคนประเภทที่เคยทางานกับองค์กรนั้นมาก่อน อาจเกิดความไม่พอใจและมีการทาลายอุปกรณ์ต่างๆ
เพื่อจงใจให้องค์กรได้รับความเสียหาย
การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software Theft)
เป็นการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ที่กระทาเพื่อขโมยเอาข้อมูลของโปรแกรม รวมถึงคัดลอก
ข้อมูลโปรแกรมโดยผิดกฏหมาย โดยเฉพาะการทาซ้าหรือการละเมิดลิขสิทธิ์ข้อมูล
การก่อกวนระบบด้วยโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Code)
เป็นโปรแกรมที่มุ่งเน้นการก่อกวนและทาลายระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งยกตัวอย่างกลุ่มโปรแกรมได้
ดังนี้
- ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) โดยอาศัยคนกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งกับพาหนะที่
โปรแกรม
ไวรัสนั้นแฝงตัวอยู่เพื่อแพร่กระจาย
- เวิร์มหรือหนอนอินเตอร์เน็ต (Worm) เป็นโปรแกรมที่มีความรุนแรงกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์ สามารถเจาะ
ไชไปยังคอมพิวเตอร์ต่างๆได้เอง
- ม้าโทรจัน (Trojan horses) ทางานโดยอาศัยการฝังตัวอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ และจะไม่มีการแพร่
กระจายตัวแต่อย่างใด
การก่อกวนระบบด้วยสปายแวร์ (Spyware)
โปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาใช้งานบนอินเตอร์เน็ตเป็นหลัก ไม่ทาการร้ายแรงต่อคอมพิวเตอร์เป้าหมาย
เท่ากับโปรแกรมประสงค์ร้าย แต่บางครั้งอาจสร้างความราคาญให้กับผู้ใช้
การก่อกวนระบบด้วยสแปมเมล์ (Spam mail)
รูปแบบของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เราไม่ต้องการ อาศัยการส่งอีเมล์แบบหว่านแห และส่งต่อให้กับ
ผู้รับจานวนมากให้ได้รับข้อมูลข่าวสารประเภทเชิญชวนให้ซื้อสินค้า
การหลอกลวงเหยื่อเพื่อล้วงเอาข้อมูลส่วนตัว (Phishing)
ธรุกรรมที่จาเป็นต้องใช้ข้อมูลส่วนตัวป้อนเข้าไป เช่น รายละเอียดหมายเลขบัตรเครดิต อาจถูกไม่
ประสงค์ดีด้วยการส่งอีเมล์หลอกไปยังสมาชิก โดยใช้คากล่าวอ้างที่เขียนขึ้นมาเองให้เหยื่อตายใจและ
หลงเชื่อในที่สุด
การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์
- การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus Program)
- การใช้ระบบไฟร์วอลล์ (Firewall System)
- การเข้ารหัสเข้ามูล (Encryption)
- การสารองข้อมูล (Back up)
การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus Program)
โปรแกรมป้องกันไวรัส ( Anti Virus Program ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกับบุคคลอื่นหลาย ๆ คน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่าย สิ่งที่เป็นปัญหาและพบบ่อยมากที่สุดก็คือไวรัส
คอมพิวเตอร์ ( computer virus ) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งประเภทหนึ่งที่มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีเขียนขึ้นมาเพื่อทาให้
ประสิทธิภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ลดลงหรือไม่สามารถทางานต่าง ๆ ได้ จึงมีผู้พัฒนาโปรแกรม
ไว้ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวเรียกว่า โปรแกรมป้องกันไวรัส (anti virus program )การใช้คอมพิวเตอร์
โดยทั่วไปควรจะมีการติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ภายในเครื่องด้วย อย่างไรก็ดีไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดขึ้นใหม่อยู่
ตลอดเวลา โปรแกรมบางรุ่นอาจไม่สามารถตรวจพบไวรัสบางตัวได้ซึ่งเป็นเพราะว่าผลิตขึ้นมาก่อนที่ไวรัส
ตัวนั้นจะแพร่กระจาย ผู้ใช้จึงจาเป็นต้องอัพเดทข้อมูลบอกให้กับโปรแกรมเหล่านี้ทราบด้วยเพื่อให้ทางานได้
อย่างสมบูรณ์นั่นเอง (โปรแกรมป้องกันไวรัสจะมีส่วนของการอัพเดทข้อมูลแบบออนไลน์จากเว็บของ
เจ้าของโปรแกรมให้กับผู้ใช้ไว้ด้วยเสมอ)
การใช้ระบบไฟร์วอลล์ (Firewall System)
ระบบไฟร์วอลล์ (Firewall) ศัพท์อีกคาหนึ่งในวงการไอที ที่หลายๆคนคงเคยได้ยิน และรู้ว่าเป็นระบบที่ช่วย
ป้องกันการบุกรุก แต่อาจไม่รู้ว่าว่ามันทางานอย่างไร แล้วที่สาคัญเวลาเลือกซื้อไฟร์วอลล์มาใช้งาน คง
สับสนว่าจะมีหลักเกณฑ์ในการเลือกซื้ออย่างไร เพราะมีให้เลือกตั้งแต่ราคาหลักพัน จนถึงหลักล้านกันเลย
ทีเดียว ! (ใช่ครับ “หลักล้าน” ไม่ได้เขียนผิด)
ผมเคยสัมภาษณ์รับคนไอทีเข้าทางานจานวนมาก พบว่าที่น่าตกใจก็คือ แม้แต่พนักงานไอทีที่มา
สัมภาษณ์งาน หลายๆคนก็ยังไม่ค่อยเข้าใจว่าไฟร์วอลล์ทางานยังไง แล้วนับประสาอะไรกับผู้บริหารที่ไม่ได้
อยู่ในวงการนี้ จะสามารถเข้าใจได้เมื่อถึงเวลาต้องเซ็นต์อนุมัติให้จัดซื้อ ก็คงต้องหลับหูหลับตาเซ็นต์ไป
อย่างนั้น ทางฝ่ายไอทีเองก็อาจไม่กล้าชงเรื่องซื้อไฟร์วอลล์ดีๆ ราคาแพงๆ เพราะไม่รู้จะไปอธิบายเหตุผลให้
ผู้บริหารเข้าใจได้อย่างไร
ไฟร์วอลล์ก็เปรียบเสมือนกาแพงบ้าน ที่กั้นเอาไว้ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราที่อยู่ในบ้าน
กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆที่อยู่นอกบ้าน แต่ถ้ากั้นไว้ทั้งหมดก็จะทาให้ไม่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
ดังนั้นจึงจาเป็นต้องเลือกเจาะกาแพงเพื่อทาเป็นประตูไว้ โดยประตูที่ทาไว้นี้จะมีเบอร์ประจาตัว และเอาไว้
ใช้งานเฉพาะเรื่อง อย่างเช่นประตูเบอร์ 80 เอาไว้รับข้อมูลจากเว็บไซต์ เบอร์ 25 เอาไว้ส่งอีเมล์ เบอร์ 21
เอาไว้รับส่งไฟล์ข้อมูล ฯลฯ ประตูพวกนี้ไฟร์วอลล์จะเรียกว่า “พอร์ต (Port)” ซึ่งระบบไฟร์วอลล์ขั้นพื้นฐาน
ราคาหลักพันทั่วๆไป จะสามารถทางานดังกล่าวเพื่อป้องกันการบุกรุกขั้นต้นได้ โดยใช้วิธีการเลือกเปิดปิด
พอร์ตและโดยทั่วไปก็นิยมที่จะเปิดพอร์ตเบอร์ 80 เอาไว้เพื่อให้สามารถเล่นเว็บได้
การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) หมายถึง วิธีการที่ทาเปลี่ยนแปลงข้อมูลเพื่อไม่ให้สามารถแปลความได้
จากบุคคลที่เราไม่ต้องการให้เขาเข้าใจข้อมูล ส่วนการถอดรหัสข้อมูล นั้นจะมีวิธีการที่ตรงกันข้ามกับการ
เข้ารหัสข้อมูล กล่าวคือการถอดรหัส (Decryption) หมายถึง วิธีการที่ทาการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่ได้จาก
การเข้ารหัสข้อมูล เป็นข้อมูลก่อนที่จะถูกทาการเข้ารหัส การที่จะทาให้ข้อมูลเป็นความลับ จุดหลักคือ ต้อง
ไม่ให้ข้อมูลความลับนี้ถูกอ่านโดยบุคคลอื่น แต่ให้ถูกอ่านได้โดยบุคคลที่เราต้องการให้อ่านได้เท่านั้น โดย
การนาเอาข้อความเดิมที่สามารถอ่านได้ (Plain text,Clear Text) มาทาการเข้ารหัสก่อน เพื่อเปลี่ยนแปลง
ข้อความเดิมให้ไปเป็นข้อความที่เราเข้ารหัส (Ciphertext) ก่อนที่จะส่งต่อไปให้บุคคลที่เราต้องการที่จะ
ติดต่อด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้บุคคลอื่นสามารถที่จะแอบอ่านข้อความที่ส่งมาโดยที่ข้อความที่เราเข้ารหัส
แล้ว
การสารองข้อมูล (Back up)
Backup คือ การสารองข้อมูล เป็นการคัดลอกแฟ้มข้อมูลเพื่อทาสาเนา เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะ
เกิดขึ้นหากข้อมูลเกิดการเสียหายหรือสูญหาย โดยสามารถนาข้อมูลที่สารองไว้มาใช้งานได้ทันที เช่น
แฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บไว้
ในแผ่น Diskette และเก็บข้อมูลเดียวกันไว้ใน Harddisk ด้วย แถมยังเขียนลง CD-RW เก็บไว้ที่บ้านอีกที
หนึ่งก็คือ การสารองข้อมูลหลายครั้ง เป็นการลดความเสี่ยงในการสูญเสียต่อข้อมูลในแฟ้มข้อมูลนั้น
ประโยชน์ของการสารองข้อมูล
1.เพื่อป้องกันทั้งการ ลบ หรือ ทาข้อมูลสูญหาย ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ
2.?กู้ข้อมูลเก่า เพราะดันไปแก้ไขข้อมูลปัจจุบันแล้วมีปัญหา หรือไฟล์ที่มีใช้งานไม่ได้ต้องการกลับไปใช้
ต้นฉบับก่อนหน้านี้
3.ป้องกัน อุปกรณ์เก็บข้อมูลเสียหาย หรือ โดนขโมย หากอุปกรณ์สาหรับเก็บข้อมูลหายไป เราก็สามารถใช้
ข้อมูลที่เราสารองไว้จากอุปกรณ์เก็บข้อมูลตัวอื่นแทนได้
การ Backup ข้อมูลสามารถทาได้หลายวิธี เช่น
1.ใช้โปรแกรม System Restore หนึ่งในโปรแกรมแบ็กอัพและรียกข้อมูลกลับคืน หากวินโดวส์มีปัญหาคุณ
ก็สามารถใช้การ Restore ได้ทันที
2.ใช้โปรแกรม Backup Utility เมื่อต้องการใช้โปรแกรม Backup Utility ให้ไปที่ Start->All Programs ->
Accessories -> System Tools ->Backup
3.แบ็กอัพข้อมูลด้วยอุปกรณ์ฮาร์แวร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์แบบติดตั้งภายนอกผ่านพอร์ต USB เทปแบ็กอัพ ที่
มักจะใช้กับการสารองข้อมูลขนาดใหญ่ ซิปไดรฟ์ (Zip Drive) เครื่องบันทึก DVD/CD นอกจากนั้นยังมีการ
ใช้แฟลชเมโมรี่ความจุสูง รวมทั้งไมโครไดรฟ์ที่ใช้กับอุปกรณ์โมบายมาแบ็กอัพข้อมูลด้วยเช่นกัน
4.ใช้ backup program เช่น Symantec NetBackup, Symantec BackupExec,norton ghost,Microsoft
DPM เป็นต้น
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
“ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทางาน
เข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์
หรือชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึง
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา
ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น
โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือ
เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
it-13-21

More Related Content

Similar to it-13-21

จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅWatinee Poksup
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kawinna2538
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดSatapon Yosakonkun
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Nontt' Panich
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ0804000803
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมNattapon
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550Arrat Krupeach
 

Similar to it-13-21 (20)

จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
 
Social network
Social networkSocial network
Social network
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
 

it-13-21

  • 2. ความหมายของจริยธรรม คาว่าจริยธรรมมีความหมายใกล้เคียงกับคาว่าจริยศาสตร์ นอกจากนี้ ยังมีคาที่มีความหมายใกล้เคียงกัน อีกหลายคา บางครั้งก็มีการนามาใช้แทนกัน ซึ่งให้ความหมายทั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนั้น การ ทาความเข้าใจความหมายและขอบข่ายของจริยธรรมกับศัพท์เกี่ยวข้องในหลายมุมมอง ทาให้ทราบถึง ทรรศนะมุมมองของผู้รู้ต่าง ๆ ที่พยายามศึกษาแนวคิดจริยธรรมในด้านที่แตกต่างกันออกไป โดยทั่วไปเมื่อกล่าวถึงคาว่าจริยธรรม ผู้ฟังหรือผู้อ่านมักจะพิจารณาอยู่ในกรอบคิดเกี่ยวกับศาสนา ทั้งนี้ เพราะคาสอนทางศาสนามีส่วนสร้างระบบจริยธรรมให้สังคม ดังคากล่าวของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ที่ว่า “จริยธรรมของสังคมไทยขึ้นอยู่กับระบบศีลธรรมของพุทธศาสนาว่า กาหนดหลักในการปฏิบัติในชีวิต ประจาไว้อย่างไร หลักจริยธรรมก็จะกาหนดให้ปฏิบัติตามนั้น” ทั้งนี้ จริยธรรมมาจากคาว่า จริย กับ ธรรมะ จริย หมายถึง ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ ธรรมะ หมายถึง คุณความดี คาสั่งสอนในศาสนา หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความ ถูกต้อง กฎเกณฑ์ กฎหมาย สิ่งของทั้งหลาย เมื่อพิจารณาตามรูปคาจากพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้คานิยามว่า “จริยธรรม” คือ ธรรมที่เป็น ข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม จากความหมายดังกล่าวหากมีการจัดระดับจริยธรรม สาโรช บัวศรี ได้ให้ความเห็นว่า จริยธรรมมีหลาย ระดับ ซึ่งสามารถจาแนกตามระดับกว้าง ๆ ได้ ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับของผู้ครองเรือน คือ โลกีย์ธรรม กับ ระดับของผู้ที่สละบ้านเรือนแล้ว คือ โลกุตตรธรรม ในความหมายที่เฉพาะเจาะจงนั้น ศาสตราจารย์ ดร. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ เห็นว่า จริยธรรม หมายถึง ความถูกต้องดีงาม สังคมทุกสังคมจะกาหนดกฎเกณฑ์กติกา บรรทัดฐานของตนเองว่า อะไรเป็นสิ่งที่ดีงาม และอะไรคือความถูกต้อง โดยทั่วไปมิได้มีการเขียนเป็นกฎข้อบังคับให้สมาชิกทุกคนต้องยึดถือปฏิบัติตาม ซึ่งหากมีการละเมิดจะถูกลงโทษโดยสังคมในขณะเดียวกัน
  • 3. จริยธรรมกับสังคมยุคสารสนเทศ 1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) หมายถึง สิทธิส่วนตัวของบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรที่จะคงไว้ซึ่งสารสนเทศที่มีอยู่นั้น เพื่อตัดสินใจได้ว่า จะสามารถเปิดเผยให้ผู้อื่นนาไปใช้ประโยชน์ต่อหรือเผยแพร่ได้หรือไม่ เราอาจจะพบการละเมิดความเป็น ส่วนตัว เช่น -ใช้โปรแกรมติดตามและพฤติกรรมผู้ที่ใช้งานบนเว็บไซท์ -การเอาฐานข้อมูลส่วนตัวรวมถึงอีเมล์ของสมาชิกส่งไปให้กับบริษัทผู้รับทาโฆษณา 2. ความถูกต้องแม่นยา (Information Accuracy) -สารสนเทศที่นาเสนอ ควรเป็นข้อมูลที่มีการกลั่นกรองและตรวจสอบความถูกต้องและสามารถนาเอาไปใช้ ประโยชน์ได้โดยไม่ส่งผลกระทบกับผู้ใช้งาน -ผู้ใช้งานสารสนเทศจึงควรเลือกรับข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และตรวจสอบที่มาได้โดยง่าย 3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) -สังคมยุคสารสนเทศมีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างง่ายดาย มีเครื่องมือและอุปกรณ์สนับสนุนมากขึ้น -ก่อให้เกิดการลอกเลียนแบบ ทาซ้าหรือละเมิดลิขสิทธิ์ (copyright) โดยเจ้าของผลงานได้รับผลกระทบทั้ง โดยตรงและโดยอ้อม 4. การเข้าถึงข้อมูล (Information Accessibility) -ผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลระบบ จะเป็นผู้ที่กาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน -บางแห่งอาจให้บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น
  • 4. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลาพัง และเป็นสิทธิที่ เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจก บุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆ ปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้ 1. การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในกเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง การบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร 2. การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้ คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็น การติดตามการทางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทาเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม 3. การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด 4. การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนาไป สร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนาไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จีงควรจะต้อง ระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้ บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล
  • 5. ความถูกต้อง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สาคัญประการหนึ่ง คือ ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ทั้งนี้ ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องใน การบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่า ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกค้า ลงทะเบียนด้วยตนเอง หรือกรณีของข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ อีกประเด็นหนึ่ง คือ จะทรายได้ อย่างไรว่าข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดจากความจงใจ และผู้ใดจะเป็นผู้รับผิดชอบหากเกิด ข้อผิดพลาด ความเป็นเจ้าของ (Information Property) สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้ซอฟต์แวร์นั้น สาหรับท่านเองหลังจากที่ท่านเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าท่านได้ยอมรับข้อตกลงเกี่ยวกับ ลิขสิทธิ์ในการใช้สินค้านั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรม คอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดตั้งได้เพียงครั้งเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้ ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ท่านยังเป็นบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมา
  • 6. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกาหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดาเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการ รักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการ เข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมนั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรม เช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตาม ระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังที่กล่าวมา ข้างต้นก็คงจะไม่เกิดขึ้น อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความ เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่ง จัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูล หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
  • 7. การลักลอบเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต (Unauthorized Access and Use) ผู้ไม่ประสงค์ดีเจ้ามาลักลอบอ่านข้อมูลและนาไปใช้ในทางที่เสียหายต่อองค์กรนั้นๆ โดยที่เป้าหมายมิอาจ รู้ตัวได้ กลุ่มคนที่ลักลอบแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม 1. แฮกเกอร์ (Hacker) เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้ ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์แและระบบเครือข่ายเป็อ ย่างดี บางครั้งจึงมักนิยมเรียกว่า กลุ่มคนหมวกขาว หรือ White hat 2. แครกเกอร์ (Cracker) เป็นกลุ่มที่สร้างความเสียหายที่รุนแรงกว่าแฮกเกอร์ นิยมเรียกคนกลุ่มนี้ว่ากลุ่ม คนหมวกดา หรือ black hat 3. สคริปต์คิดตี้ (Script Kiddy) กลุ่มผู้ที่ชอบเจาะข้อมูล และก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์ผู้อื่นให้เกิดความ เสียหายได้แล้ว เช่น การลอบอ่านอีเมล์ การขโมยรหัสผ่านผู้อื่น การขโมยและทาลายอุปกรณ์ (Hardware Theft and Vandalism) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เสี่ยงต่อการลักลอบขอโมยไปใช้งานเช่นเดียวกับการลักลอบโจรกรรม โดยเฉพาะ กลุ่มคนประเภทที่เคยทางานกับองค์กรนั้นมาก่อน อาจเกิดความไม่พอใจและมีการทาลายอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อจงใจให้องค์กรได้รับความเสียหาย การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software Theft) เป็นการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ที่กระทาเพื่อขโมยเอาข้อมูลของโปรแกรม รวมถึงคัดลอก ข้อมูลโปรแกรมโดยผิดกฏหมาย โดยเฉพาะการทาซ้าหรือการละเมิดลิขสิทธิ์ข้อมูล
  • 8. การก่อกวนระบบด้วยโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Code) เป็นโปรแกรมที่มุ่งเน้นการก่อกวนและทาลายระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งยกตัวอย่างกลุ่มโปรแกรมได้ ดังนี้ - ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) โดยอาศัยคนกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งกับพาหนะที่ โปรแกรม ไวรัสนั้นแฝงตัวอยู่เพื่อแพร่กระจาย - เวิร์มหรือหนอนอินเตอร์เน็ต (Worm) เป็นโปรแกรมที่มีความรุนแรงกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์ สามารถเจาะ ไชไปยังคอมพิวเตอร์ต่างๆได้เอง - ม้าโทรจัน (Trojan horses) ทางานโดยอาศัยการฝังตัวอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ และจะไม่มีการแพร่ กระจายตัวแต่อย่างใด การก่อกวนระบบด้วยสปายแวร์ (Spyware) โปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาใช้งานบนอินเตอร์เน็ตเป็นหลัก ไม่ทาการร้ายแรงต่อคอมพิวเตอร์เป้าหมาย เท่ากับโปรแกรมประสงค์ร้าย แต่บางครั้งอาจสร้างความราคาญให้กับผู้ใช้ การก่อกวนระบบด้วยสแปมเมล์ (Spam mail) รูปแบบของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เราไม่ต้องการ อาศัยการส่งอีเมล์แบบหว่านแห และส่งต่อให้กับ ผู้รับจานวนมากให้ได้รับข้อมูลข่าวสารประเภทเชิญชวนให้ซื้อสินค้า การหลอกลวงเหยื่อเพื่อล้วงเอาข้อมูลส่วนตัว (Phishing) ธรุกรรมที่จาเป็นต้องใช้ข้อมูลส่วนตัวป้อนเข้าไป เช่น รายละเอียดหมายเลขบัตรเครดิต อาจถูกไม่ ประสงค์ดีด้วยการส่งอีเมล์หลอกไปยังสมาชิก โดยใช้คากล่าวอ้างที่เขียนขึ้นมาเองให้เหยื่อตายใจและ หลงเชื่อในที่สุด
  • 9. การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ - การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus Program) - การใช้ระบบไฟร์วอลล์ (Firewall System) - การเข้ารหัสเข้ามูล (Encryption) - การสารองข้อมูล (Back up) การติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus Program) โปรแกรมป้องกันไวรัส ( Anti Virus Program ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกับบุคคลอื่นหลาย ๆ คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่าย สิ่งที่เป็นปัญหาและพบบ่อยมากที่สุดก็คือไวรัส คอมพิวเตอร์ ( computer virus ) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งประเภทหนึ่งที่มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีเขียนขึ้นมาเพื่อทาให้ ประสิทธิภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ลดลงหรือไม่สามารถทางานต่าง ๆ ได้ จึงมีผู้พัฒนาโปรแกรม ไว้ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวเรียกว่า โปรแกรมป้องกันไวรัส (anti virus program )การใช้คอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปควรจะมีการติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ภายในเครื่องด้วย อย่างไรก็ดีไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดขึ้นใหม่อยู่ ตลอดเวลา โปรแกรมบางรุ่นอาจไม่สามารถตรวจพบไวรัสบางตัวได้ซึ่งเป็นเพราะว่าผลิตขึ้นมาก่อนที่ไวรัส ตัวนั้นจะแพร่กระจาย ผู้ใช้จึงจาเป็นต้องอัพเดทข้อมูลบอกให้กับโปรแกรมเหล่านี้ทราบด้วยเพื่อให้ทางานได้ อย่างสมบูรณ์นั่นเอง (โปรแกรมป้องกันไวรัสจะมีส่วนของการอัพเดทข้อมูลแบบออนไลน์จากเว็บของ เจ้าของโปรแกรมให้กับผู้ใช้ไว้ด้วยเสมอ) การใช้ระบบไฟร์วอลล์ (Firewall System) ระบบไฟร์วอลล์ (Firewall) ศัพท์อีกคาหนึ่งในวงการไอที ที่หลายๆคนคงเคยได้ยิน และรู้ว่าเป็นระบบที่ช่วย ป้องกันการบุกรุก แต่อาจไม่รู้ว่าว่ามันทางานอย่างไร แล้วที่สาคัญเวลาเลือกซื้อไฟร์วอลล์มาใช้งาน คง สับสนว่าจะมีหลักเกณฑ์ในการเลือกซื้ออย่างไร เพราะมีให้เลือกตั้งแต่ราคาหลักพัน จนถึงหลักล้านกันเลย ทีเดียว ! (ใช่ครับ “หลักล้าน” ไม่ได้เขียนผิด)
  • 10. ผมเคยสัมภาษณ์รับคนไอทีเข้าทางานจานวนมาก พบว่าที่น่าตกใจก็คือ แม้แต่พนักงานไอทีที่มา สัมภาษณ์งาน หลายๆคนก็ยังไม่ค่อยเข้าใจว่าไฟร์วอลล์ทางานยังไง แล้วนับประสาอะไรกับผู้บริหารที่ไม่ได้ อยู่ในวงการนี้ จะสามารถเข้าใจได้เมื่อถึงเวลาต้องเซ็นต์อนุมัติให้จัดซื้อ ก็คงต้องหลับหูหลับตาเซ็นต์ไป อย่างนั้น ทางฝ่ายไอทีเองก็อาจไม่กล้าชงเรื่องซื้อไฟร์วอลล์ดีๆ ราคาแพงๆ เพราะไม่รู้จะไปอธิบายเหตุผลให้ ผู้บริหารเข้าใจได้อย่างไร ไฟร์วอลล์ก็เปรียบเสมือนกาแพงบ้าน ที่กั้นเอาไว้ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราที่อยู่ในบ้าน กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆที่อยู่นอกบ้าน แต่ถ้ากั้นไว้ทั้งหมดก็จะทาให้ไม่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องเลือกเจาะกาแพงเพื่อทาเป็นประตูไว้ โดยประตูที่ทาไว้นี้จะมีเบอร์ประจาตัว และเอาไว้ ใช้งานเฉพาะเรื่อง อย่างเช่นประตูเบอร์ 80 เอาไว้รับข้อมูลจากเว็บไซต์ เบอร์ 25 เอาไว้ส่งอีเมล์ เบอร์ 21 เอาไว้รับส่งไฟล์ข้อมูล ฯลฯ ประตูพวกนี้ไฟร์วอลล์จะเรียกว่า “พอร์ต (Port)” ซึ่งระบบไฟร์วอลล์ขั้นพื้นฐาน ราคาหลักพันทั่วๆไป จะสามารถทางานดังกล่าวเพื่อป้องกันการบุกรุกขั้นต้นได้ โดยใช้วิธีการเลือกเปิดปิด พอร์ตและโดยทั่วไปก็นิยมที่จะเปิดพอร์ตเบอร์ 80 เอาไว้เพื่อให้สามารถเล่นเว็บได้ การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) หมายถึง วิธีการที่ทาเปลี่ยนแปลงข้อมูลเพื่อไม่ให้สามารถแปลความได้ จากบุคคลที่เราไม่ต้องการให้เขาเข้าใจข้อมูล ส่วนการถอดรหัสข้อมูล นั้นจะมีวิธีการที่ตรงกันข้ามกับการ เข้ารหัสข้อมูล กล่าวคือการถอดรหัส (Decryption) หมายถึง วิธีการที่ทาการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่ได้จาก การเข้ารหัสข้อมูล เป็นข้อมูลก่อนที่จะถูกทาการเข้ารหัส การที่จะทาให้ข้อมูลเป็นความลับ จุดหลักคือ ต้อง ไม่ให้ข้อมูลความลับนี้ถูกอ่านโดยบุคคลอื่น แต่ให้ถูกอ่านได้โดยบุคคลที่เราต้องการให้อ่านได้เท่านั้น โดย การนาเอาข้อความเดิมที่สามารถอ่านได้ (Plain text,Clear Text) มาทาการเข้ารหัสก่อน เพื่อเปลี่ยนแปลง ข้อความเดิมให้ไปเป็นข้อความที่เราเข้ารหัส (Ciphertext) ก่อนที่จะส่งต่อไปให้บุคคลที่เราต้องการที่จะ ติดต่อด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้บุคคลอื่นสามารถที่จะแอบอ่านข้อความที่ส่งมาโดยที่ข้อความที่เราเข้ารหัส แล้ว
  • 11. การสารองข้อมูล (Back up) Backup คือ การสารองข้อมูล เป็นการคัดลอกแฟ้มข้อมูลเพื่อทาสาเนา เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะ เกิดขึ้นหากข้อมูลเกิดการเสียหายหรือสูญหาย โดยสามารถนาข้อมูลที่สารองไว้มาใช้งานได้ทันที เช่น แฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บไว้ ในแผ่น Diskette และเก็บข้อมูลเดียวกันไว้ใน Harddisk ด้วย แถมยังเขียนลง CD-RW เก็บไว้ที่บ้านอีกที หนึ่งก็คือ การสารองข้อมูลหลายครั้ง เป็นการลดความเสี่ยงในการสูญเสียต่อข้อมูลในแฟ้มข้อมูลนั้น ประโยชน์ของการสารองข้อมูล 1.เพื่อป้องกันทั้งการ ลบ หรือ ทาข้อมูลสูญหาย ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ 2.?กู้ข้อมูลเก่า เพราะดันไปแก้ไขข้อมูลปัจจุบันแล้วมีปัญหา หรือไฟล์ที่มีใช้งานไม่ได้ต้องการกลับไปใช้ ต้นฉบับก่อนหน้านี้ 3.ป้องกัน อุปกรณ์เก็บข้อมูลเสียหาย หรือ โดนขโมย หากอุปกรณ์สาหรับเก็บข้อมูลหายไป เราก็สามารถใช้ ข้อมูลที่เราสารองไว้จากอุปกรณ์เก็บข้อมูลตัวอื่นแทนได้ การ Backup ข้อมูลสามารถทาได้หลายวิธี เช่น 1.ใช้โปรแกรม System Restore หนึ่งในโปรแกรมแบ็กอัพและรียกข้อมูลกลับคืน หากวินโดวส์มีปัญหาคุณ ก็สามารถใช้การ Restore ได้ทันที 2.ใช้โปรแกรม Backup Utility เมื่อต้องการใช้โปรแกรม Backup Utility ให้ไปที่ Start->All Programs -> Accessories -> System Tools ->Backup 3.แบ็กอัพข้อมูลด้วยอุปกรณ์ฮาร์แวร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์แบบติดตั้งภายนอกผ่านพอร์ต USB เทปแบ็กอัพ ที่ มักจะใช้กับการสารองข้อมูลขนาดใหญ่ ซิปไดรฟ์ (Zip Drive) เครื่องบันทึก DVD/CD นอกจากนั้นยังมีการ ใช้แฟลชเมโมรี่ความจุสูง รวมทั้งไมโครไดรฟ์ที่ใช้กับอุปกรณ์โมบายมาแบ็กอัพข้อมูลด้วยเช่นกัน 4.ใช้ backup program เช่น Symantec NetBackup, Symantec BackupExec,norton ghost,Microsoft DPM เป็นต้น
  • 12. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทางาน เข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์ หรือชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ใน ระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบ คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือ เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้