SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ครีเอทีฟคอมมอนส์  (Creative Commons: CC)
แนะนำให้รู้จัก  Creative Common เพื่อนๆ อาจเห็น ตัวย่อ  CC  ตามเว็ปซ์ไซด์ สื่อสารสนเทศต่างๆ  มากมาย  แต่แล้วก็ไม่มีคำอธิบายใดๆ ทั้งสิ้น แล้วมันคืออะไร ???
กล่าวนำกันก่อน ตามคำกล่าวที่ถกเถียงกันว่า   โลกที่สมดุลระหว่าง  " ลิขสิทธิ์ "  และ  " เสรีภาพการเผยแพร่ผลงาน "  อยู่ตรงไหนบนโลกออนไลน์   ซึ่งอาจจะมีเป็นเวลานานแล้ว แต่ก็ยังไม่สามารถหาคำตอบที่แท้จริงได้ บนโลกออนไลน์ ........  เราจะกล่าวถึงลิขสิทธิ์  และ เสรีภาพการเผยแพร่ผลงาน บนโลกออนไลน์ ให้ดูกันก่อน  >>>>>>
ทุกคนคงรู้จักคำว่าลิขสิทธิ์ดี งานทุกชิ้นที่สร้างขึ้นใน สาขาวรรณกรรม ศิลปะ จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ โดยอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็นบล็อก หรือ แฟนฟิค    กฏหมายได้รับประกันสิทธิของผู้สร้างสรรค์ไว้ ว่าเป็นผู้เดียวที่มีอำนาจในการจำหน่าย จ่ายแจก และทำสำเนา สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่ปัญหาสำหรับงานที่ทำเพื่อการค้า  พวกคุณสามารถยอมรับได้แค่ไหนกันว่า สำหรับการนำงานของคุณไปเผยแพร่ซึ่งมีบางคนบอกว่าห้าม  copy  ไปลงที่อื่นโดยเด็ดขาด แต่กลับมีบางคนบอกว่า เอาไปได้แต่ต้องลงเครดิตนะและห้ามแก้ไข   ซี่งการพูดเหล่านี้เป็นเรื่องพูดปากเปล่า  ไม่มีการเขียนสัญญาลายลักษณ์อักษรเลยสักนิดเดียว  ดังนั้น   >>>  สัญญาแบบครีเอทีฟ คอมมอน ( CC )   จึงถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อสร้างความสมดุลระหว่าง ลิขสิทธิ์ กับอนารยธรรมทางปัญญา
ซึ่งก็กล่าวต่อได้อีกว่า   สมดุลระหว่าง  " ลิขสิทธิ์ "  และ  " เสรีภาพการเผยแพร่ผลงาน "  บนโลกออนไลน์ยังคงเป็นปัญหาถกเถียงกันจนถึงทุกวันนี้ กลายเป็นข้อจำกัดที่ทำให้ผลงานสร้างสรรค์ที่มุ่งหวังรับใช้สังคมในบางรายการ ยังคงถูกจำกัดกรอบด้วยการสงวนสิทธิ และลงท้ายด้วยทางเลือก  2   ทางคือ ผู้ใช้จะต้องดำเนินการขออนุญาต หรือลักลอบใช้งานโดยไม่แจ้งเจ้าของสิทธิ  และแล้ว จึงต้องมี  Creative Common  มาช่วยปลดล็อคปัญญาเหล่านี้นั้นเอง ซึ่งส่งผลหลายๆอย่างแก่วงการอินเตอร์เน็ตไทย
Creative Common  ( CC )  กล่าวสั่นๆได้ว่าเป็น  “ จุดเริ่มเสรีภาพโลกออนไลน์” ที่มา ครีเอทีฟคอมมอนส์  คือ องค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรจัดตั้งขึ้นขยายขอบข่ายของการใช้สื่อต่างๆ ให้กว้างขึ้นโดยไม่จำกัดที่สัญญาอนุญาตของสื่อนั้นๆ  จะเอื้อให้มีการใช้สื่อทั้งทางภาพ เสียง ข้อมูล โดยการแบ่งแยกสัญญาอนุญาตย่อยออกสำหรับการแจกจ่ายและการใช้ข้อมูล โดยการอ้างอิงถึงเจ้าของลิขสิทธิ์เดิม  ก่อตั้งโดย ลอว์เรนซ์ เลสสิก
กลไก ของ Creative Common License มีส่วนประกอบ 4 อย่าง 1.Attribution :  ผู้ใช้จะต้องระบุที่มาของงานว่าต้นฉบับเป็นของใคร  2.Noncommercial :  ห้ามใช้ทางการค้า  3.No Derivative works :  ห้ามแก้ไขต้นฉบับ  4.Share Alike :  ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับ  ( a . k . a  สร้าง  derivative works )  ต้องเผยแพร่ด้วยสัญญาอนุญาตเดิม  ข้อมูลจาก : http://www.kitty.in.th/index.php?room=article&id=266
Creative Common อื่นๆ ที่ใช้งานเฉพาะ 1.Developing Nations license   เปิดโอกาสให้ใช้งานอย่างอิสระสำหรับประเทศกำลังพัฒนา  2.Sampling license   สำหรับนำ  ' บางส่วน '  ของงานไปทำต่อ เช่นตัดบางส่วนของเพลง วิดีโอ ไปใช้  3.Founders' Copyright   ใช้กำหนดระยะเวลาที่เหมาะสมในการคุ้มครอง แทนที่จะให้คุ้มครองโดยกฏหมายลิขสิทธิ์  4.CC - GPL  กับ  CC - LGPL GNU GPL  และ  LGPL   ตามลำดับ มี  common deed legal code  และ  digital code  กำกับไว้ ช่วยให้ใช้งานได้สะดวก  ข้อมูลจาก : http://www.kitty.in.th/index.php?room=article&id=266
แบบรูปภาพ
การเลือกใช้สัญญาอนุญาตแบบใดแบบนึงขึ้นกับเจตนาว่าเราต้องการเผยแพร่งานของ เราอย่างไร  ????? ลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองงานโดยผูกขาดสิทธิ์ทุกอย่างกับเจ้าของงานเพียงผู้ เดียว ส่วนสัญญาอนุญาตที่นิยมใช้หลายๆ ตัวจะเน้นเรื่องการเผยแพร่ซอฟต์แวร์  Creative Common License  มีความยืดหยุ่น อีกทั้งมีกลไกที่ช่วยให้เข้าใจและเข้าถึงงานได้ง่ายขึ้น จึงเป็นอีกทางเลือกนึงที่น่าสนใจ สำหรับผู้ที่อยากจะเผยแพร่ผลงานผ่านสื่อออนไลน์  สรุป ดังนั้น
จัดทำโดย นาย กษิดิศ นาคทรรพ ม .6/12  รร .  สตรีวิทยา  2 แหล่งอ้างอิง http :// www . bangkokbiznews . com

More Related Content

What's hot (11)

Creative Common License
Creative Common LicenseCreative Common License
Creative Common License
 
Creative Common
Creative CommonCreative Common
Creative Common
 
Creative Common
Creative CommonCreative Common
Creative Common
 
Cc
CcCc
Cc
 
Creative commons
Creative commonsCreative commons
Creative commons
 
CC
CCCC
CC
 
Creative Commons
Creative CommonsCreative Commons
Creative Commons
 
Creative Commons By ize
Creative Commons By izeCreative Commons By ize
Creative Commons By ize
 
CC
CCCC
CC
 
Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7
 
Creative commons1 613 7
Creative commons1 613 7Creative commons1 613 7
Creative commons1 613 7
 

Similar to Cc

Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )puriizz
 
Ploiid wordpress
Ploiid wordpressPloiid wordpress
Ploiid wordpressploychanok
 
Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7ayye12345
 
Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7ayye12345
 
Creative Commons
Creative CommonsCreative Commons
Creative CommonsTonWanZ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1chatchanun
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1chatchanun
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมkai11211
 
Creative common
Creative commonCreative common
Creative commonanak2536
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCcmewaja
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCcmewaja
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCcmewaja
 
งานนำเสนอ1กานต์
งานนำเสนอ1กานต์งานนำเสนอ1กานต์
งานนำเสนอ1กานต์sedgu302
 

Similar to Cc (20)

Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )
 
Ploiid wordpress
Ploiid wordpressPloiid wordpress
Ploiid wordpress
 
Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7
 
Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7Creative commons2 613 7
Creative commons2 613 7
 
CC
CCCC
CC
 
Creative Commons
Creative CommonsCreative Commons
Creative Commons
 
Creative
CreativeCreative
Creative
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Creative common2
Creative common2Creative common2
Creative common2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Creative common
Creative commonCreative common
Creative common
 
Creative commons
Creative commonsCreative commons
Creative commons
 
Lhun-CC
Lhun-CCLhun-CC
Lhun-CC
 
CC-Lhunz
CC-LhunzCC-Lhunz
CC-Lhunz
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCc
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCc
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCc
 
งานนำเสนอ1กานต์
งานนำเสนอ1กานต์งานนำเสนอ1กานต์
งานนำเสนอ1กานต์
 
Creative
CreativeCreative
Creative
 

Cc

  • 2. แนะนำให้รู้จัก Creative Common เพื่อนๆ อาจเห็น ตัวย่อ CC ตามเว็ปซ์ไซด์ สื่อสารสนเทศต่างๆ มากมาย แต่แล้วก็ไม่มีคำอธิบายใดๆ ทั้งสิ้น แล้วมันคืออะไร ???
  • 3. กล่าวนำกันก่อน ตามคำกล่าวที่ถกเถียงกันว่า โลกที่สมดุลระหว่าง " ลิขสิทธิ์ " และ " เสรีภาพการเผยแพร่ผลงาน " อยู่ตรงไหนบนโลกออนไลน์ ซึ่งอาจจะมีเป็นเวลานานแล้ว แต่ก็ยังไม่สามารถหาคำตอบที่แท้จริงได้ บนโลกออนไลน์ ........ เราจะกล่าวถึงลิขสิทธิ์ และ เสรีภาพการเผยแพร่ผลงาน บนโลกออนไลน์ ให้ดูกันก่อน >>>>>>
  • 4. ทุกคนคงรู้จักคำว่าลิขสิทธิ์ดี งานทุกชิ้นที่สร้างขึ้นใน สาขาวรรณกรรม ศิลปะ จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ โดยอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็นบล็อก หรือ แฟนฟิค   กฏหมายได้รับประกันสิทธิของผู้สร้างสรรค์ไว้ ว่าเป็นผู้เดียวที่มีอำนาจในการจำหน่าย จ่ายแจก และทำสำเนา สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่ปัญหาสำหรับงานที่ทำเพื่อการค้า พวกคุณสามารถยอมรับได้แค่ไหนกันว่า สำหรับการนำงานของคุณไปเผยแพร่ซึ่งมีบางคนบอกว่าห้าม copy ไปลงที่อื่นโดยเด็ดขาด แต่กลับมีบางคนบอกว่า เอาไปได้แต่ต้องลงเครดิตนะและห้ามแก้ไข ซี่งการพูดเหล่านี้เป็นเรื่องพูดปากเปล่า ไม่มีการเขียนสัญญาลายลักษณ์อักษรเลยสักนิดเดียว ดังนั้น >>> สัญญาแบบครีเอทีฟ คอมมอน ( CC ) จึงถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อสร้างความสมดุลระหว่าง ลิขสิทธิ์ กับอนารยธรรมทางปัญญา
  • 5. ซึ่งก็กล่าวต่อได้อีกว่า สมดุลระหว่าง " ลิขสิทธิ์ " และ " เสรีภาพการเผยแพร่ผลงาน " บนโลกออนไลน์ยังคงเป็นปัญหาถกเถียงกันจนถึงทุกวันนี้ กลายเป็นข้อจำกัดที่ทำให้ผลงานสร้างสรรค์ที่มุ่งหวังรับใช้สังคมในบางรายการ ยังคงถูกจำกัดกรอบด้วยการสงวนสิทธิ และลงท้ายด้วยทางเลือก 2 ทางคือ ผู้ใช้จะต้องดำเนินการขออนุญาต หรือลักลอบใช้งานโดยไม่แจ้งเจ้าของสิทธิ และแล้ว จึงต้องมี Creative Common มาช่วยปลดล็อคปัญญาเหล่านี้นั้นเอง ซึ่งส่งผลหลายๆอย่างแก่วงการอินเตอร์เน็ตไทย
  • 6. Creative Common ( CC ) กล่าวสั่นๆได้ว่าเป็น “ จุดเริ่มเสรีภาพโลกออนไลน์” ที่มา ครีเอทีฟคอมมอนส์ คือ องค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรจัดตั้งขึ้นขยายขอบข่ายของการใช้สื่อต่างๆ ให้กว้างขึ้นโดยไม่จำกัดที่สัญญาอนุญาตของสื่อนั้นๆ จะเอื้อให้มีการใช้สื่อทั้งทางภาพ เสียง ข้อมูล โดยการแบ่งแยกสัญญาอนุญาตย่อยออกสำหรับการแจกจ่ายและการใช้ข้อมูล โดยการอ้างอิงถึงเจ้าของลิขสิทธิ์เดิม ก่อตั้งโดย ลอว์เรนซ์ เลสสิก
  • 7. กลไก ของ Creative Common License มีส่วนประกอบ 4 อย่าง 1.Attribution : ผู้ใช้จะต้องระบุที่มาของงานว่าต้นฉบับเป็นของใคร 2.Noncommercial : ห้ามใช้ทางการค้า 3.No Derivative works : ห้ามแก้ไขต้นฉบับ 4.Share Alike : ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับ ( a . k . a สร้าง derivative works ) ต้องเผยแพร่ด้วยสัญญาอนุญาตเดิม ข้อมูลจาก : http://www.kitty.in.th/index.php?room=article&id=266
  • 8. Creative Common อื่นๆ ที่ใช้งานเฉพาะ 1.Developing Nations license เปิดโอกาสให้ใช้งานอย่างอิสระสำหรับประเทศกำลังพัฒนา 2.Sampling license สำหรับนำ ' บางส่วน ' ของงานไปทำต่อ เช่นตัดบางส่วนของเพลง วิดีโอ ไปใช้ 3.Founders' Copyright ใช้กำหนดระยะเวลาที่เหมาะสมในการคุ้มครอง แทนที่จะให้คุ้มครองโดยกฏหมายลิขสิทธิ์ 4.CC - GPL กับ CC - LGPL GNU GPL และ LGPL ตามลำดับ มี common deed legal code และ digital code กำกับไว้ ช่วยให้ใช้งานได้สะดวก ข้อมูลจาก : http://www.kitty.in.th/index.php?room=article&id=266
  • 10. การเลือกใช้สัญญาอนุญาตแบบใดแบบนึงขึ้นกับเจตนาว่าเราต้องการเผยแพร่งานของ เราอย่างไร ????? ลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองงานโดยผูกขาดสิทธิ์ทุกอย่างกับเจ้าของงานเพียงผู้ เดียว ส่วนสัญญาอนุญาตที่นิยมใช้หลายๆ ตัวจะเน้นเรื่องการเผยแพร่ซอฟต์แวร์ Creative Common License มีความยืดหยุ่น อีกทั้งมีกลไกที่ช่วยให้เข้าใจและเข้าถึงงานได้ง่ายขึ้น จึงเป็นอีกทางเลือกนึงที่น่าสนใจ สำหรับผู้ที่อยากจะเผยแพร่ผลงานผ่านสื่อออนไลน์ สรุป ดังนั้น
  • 11. จัดทำโดย นาย กษิดิศ นาคทรรพ ม .6/12 รร . สตรีวิทยา 2 แหล่งอ้างอิง http :// www . bangkokbiznews . com