SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ธงประเทศ
ตราแผ่นดิน
1.ข้อมูลทั่วไป
ชื่อ "Indonesia" มาจาก "indos nesos" แปลว่า "หมู่เกาะใกล้อินเดีย" เนื่องจากเป็น หมู่เกาะในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย และระหว่างทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย
ทาให้อินโดนีเซีย สามารถควบคุมเส้นทางการติดต่อระหว่างมหาสมุทรทั้งสอง ผ่านช่องแคบสาคัญต่างๆ
อาทิ ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดรา และช่องแคบล็อมบ็อก ซึ่งล้วนเป็นเส้นทางขนส่งน้ามัน จาก
ตะวันออกกลาง มายังประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก อาณาเขต ทิศเหนือ
ติดกับรัฐซาราวัค และซาบาห์ของมาเลเซีย ทิศตะวันออกติดกับปาปัวนิวกินี ทิศตะวันตกเฉียงเหนือจรด
น่านน้าของสหพันธรัฐมาเลเซีย โดยมีช่องแคบมะละกา เป็นพรมแดนกั้นระหว่างเกาะสุมาตรา ของ
อินโดนีเซียกับประเทศมาเลเซีย
1.1ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
อินโดนีเซียมีรูปร่างคล้ายพระจันทร์หงายครึ่งซีก มีพื้นที่ 5,193,250 ตารางกิโลเมตร หรือใหญ่กว่าประเทศ
ไทยประมาณ 10 เท่า เป็นพื้นดิน 2,027,087 ตารางกิโลเมตร และทะเล 3,166,163 ตารางกิโลเมตร
อินโดนีเซียประกอบด้วยเกาะใหญ่น้อยกว่า 17,500 เกาะ แต่มีประชากรอาศัยอยู่เพียง 3,000 เกาะ รวมอยู่ใน
พื้นที่ 4 ส่วนคือ
1) หมู่เกาะซุนดาใหญ่ (Great Sunda Islands) ประกอบด้วย เกาะชวา สุมาตรา กะลิมันตัน และสุลาเวสี
2) หมู่เกาะซุนดาน้อย (Lesser Sunda Islands) ประกอบด้วยเกาะเล็กๆ ทางตะวันออกของเกาะชวา มีเกาะ
บาหลี ล็อมบอก ซุมบาวา ฟอลเรส และติมอร์
3) หมู่เกาะมาลุกุ (Maluku Islands) หรือหมู่เกาะเครื่องเทศ อยู่ระหว่างสุลาเวสีกับเกาะปาปัว
4) ปาปัว (Papua) อยู่บนเกาะนิวกินีทางตะวันตกของประเทศปาปัวนิวกินี ในบรรดาหมู่เกาะทั้งหมด มีเกาะ
ขนาดใหญ่ 5 เกาะ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 90 ของประเทศ คือ
1) กะลิมันตัน มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 28 ของพื้นที่ทั้งหมด และครอบคลุมพื้นที่ 2 ใน 3 ของเกาะบอร์เนียว
2) สุมาตรา มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 24 ของพื้นที่ทั้งหมด
3) ปาปัว มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 22 ของพื้นที่ทั้งหมด และครอบคลุมพื้นที่ครึ่งหนึ่งด้านตะวันตกของเกาะ
นิวกินี
4) สุลาเวสี มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมด
5) ชวา และมาดูรา ครอบคลุมพื้นที่เพียงร้อยละ 7 ของพื้นที่ทั้งหมด แต่มีประชากรอาศัยอยู่ถึงร้อยละ 64
ของทั้งประเทศ
เมืองใหญ่สาคัญของอินโดนีเซีย ได้แก่
- จาการ์ตา (Jakarta) หรือในอดีตชื่อ “ปัตตาเวีย” (Batavia) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของ
อินโดนีเซีย ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ 650 ตารางกิโลเมตร
ประชากร 10 ล้านคน เป็นศูนย์กลางทั้งด้านการปกครองและเศรษฐกิจของประเทศ มีสนามบินนานาชาติคือ
Soekarno Hatta International Airport มีท่าเรือใหญ่ที่สุดของประเทศ คือ Tanjung Priok
- สุราบายา (Surabaya) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศ อยู่บนเกาะชวา ประชากรประมาณ 2.5 ล้านคน
ทรัพยากรธรรมชาติสาคัญคือ หินชอล์ก ทาให้จังหวัดนี้มีชื่อเสียงด้านอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ อีกทั้งยังมีหิน
อ่อน น้ามัน และเกลือ มีสนามบินนานาชาติคือ Juanda Airport และท่าเรือTanjung Perak
- ยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) อยู่บนเกาะชวา เป็นศูนย์กลางทั้งด้านศิลปะ และวัฒนธรรม นอกจากนั้นยอก
ยาการ์ตา ยังเป็นที่ตั้งของบุโรพุทโธ (Borobudur) พุทธสถานที่มีชื่อเสียงและสาคัญยิ่งแห่งหนึ่งในภูมิภาคนี้
รวมถึงหมู่วิหารโบราณฮินดู คือ ปรามบานัน (Pram-banan) สนามบินหลักคือ Adi Sucipto Airport
- เมดาน (Medan) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของเกาะสุมาตรา มีประชากร 2.1 ล้านคน เมดานเป็น
แหล่งเพาะปลูกใหญ่ที่สุด ของอินโดนีเซีย ทั้งปาล์มน้ามัน ชา โกโก้ ยางพารา และยาสูบ นอกจากนั้น ยังมีแร่
ธาตุสาคัญ อาทิ น้ามัน และก๊าซ มีสนามบินนานาชาติ คือ Polonia Airport และท่าเรือ Belawan Port
- เรียว (Riau) อยู่บนเกาะสุมาตรา มีพื้นที่ 95 พันตารางกิโลเมตรประชากร 5.4 ล้านคน พืชเศรษฐกิจสาคัญ
คือ มะพร้าว ยางพารา ชา และโกโก้ นอกจากนี้ ยังมีไม้มีค่าต่างๆ และน้ามันปิโตรเลียม โดยสินค้าส่งออก
สาคัญคือ น้ามันปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ไม้ สนามบินสาคัญคือ Sultan Syarif Kasim II Airport ท่าเรือคือ Batu
Ampar Port
- แจมบี (Jambi) อยู่บนเกาะสุมาตรา มีพื้นที่ 44.8 พันตารางกิโลเมตร ประชากร 2.5 ล้านคน พืชเศรษฐกิจ
หลัก ได้แก่ มะพร้าว โกโก้ และชา นอกจากนั้นยังมีแร่ธาตุอื่นๆ อาทิ น้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน ทองแดง
สินค้าส่งออกสาคัญคือ ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์จากป่า สนามบินหลัก คือ Sultan Thaha Airport
- ปาเลมบัง (Palembang) อยู่บริเวณสุมาตราใต้ พืชเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ มะพร้าว ปาล์มน้ามัน ยาง กาแฟ
พริกไทย ชา สินค้าส่งออกสาคัญคือ ยาง กาแฟ สนามบินหลัก คือ Sultan Baharudin II Airport ท่าเรือคือ
Boom Baru Port
- เดนปาซาร์ (Denpasar) เป็นเมืองหลวงของเกาะบาหลี (Bali) อันเป็นแหล่งท่องเที่ยวมีชื่อเสียงด้านความ
งดงามของธรรมชาติและชายหาดที่สวยงาม สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ปีละกว่า 1 ล้านคน สนามบิน
นานาชาติ คือ Gusti Ngurah Rai International Airport
ภูมิอากาศ อินโดนีเซียเป็นหมู่เกาะ ภูมิอากาศจึงมีลักษณะผสมผสานและเปลี่ยนแปลงไปตามภูมิประเทศ
โดยทั่วไปมีอากาศร้อนชื้นแบบศูนย์สูตร แบ่งเป็น 2 ฤดู คือ
1. ฤดูแล้ง ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม
2. ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ราตรี
ดอกไม้ประจาชาติอินโดนีเซีย คือ ดอกกล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid) ซึ่งเป็นหนึ่งในดอกกล้วยไม้ที่บานอยู่
ได้นานที่สุด โดยช่อดอกนั้นสามารถแตกกิ่งและอยู่ได้นาน 2-6 เดือน โดยดอกจะบานแค่ปีละ 2-3 ครั้ง
เท่านั้น ทั้งนี้ดอกกล้วยไม้ราตรีสามารถเจริญเติบโตได้ดีในอากาศชื้น จึงพบเห็นได้ง่ายในพื้นที่ราบต่าของ
ประเทศอินโดนีเซีย
ชุดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซีย
เกบาย่า (Kebaya) เป็นชุดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซียสาหรับผู้หญิง มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยาว ผ่า
หน้า กลัดกระดุม ตัวเสื้อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็นลายลูกไม้ ส่วนผ้าถุงที่ใช้จะเป็นผ้าถุงแบบบาติก ส่วน
การแต่งกายของผู้ชายมักจะสวมใส่เสื้อแบบบาติกและนุ่งกางเกงขายาวหรือเตลุก เบสคาพ (Teluk Beskap)
ซึ่งเป็นการแต่งกายแบบผสมผสานระหว่างเสื้อคลุมสั้นแบบชวาและโสร่ง และนุ่งโสร่งเมื่ออยู่บ้านหรือ
ประกอบพิธีละหมาดที่มัสยิด
เกบาย่า – ประเทศอินโดนิเซีย
เตลุก เบสคาพ – ประเทศอินโดนิเซีย
ภาษาอินโดนีเซีย
ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้น
ด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ใน
บางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคาที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ
บาฮาซา อินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นามาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอกาส
ประวัติ
ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษามาตรฐานของภาษามลายูสาเนียงรีเยา ซึ่งเป็นภาษามลายูคลาสสิกที่ใช้ในศาลของ
ราชสานักมะละกาOriginally spoken in Northeast Sumatraจุดเริ่มต้นของการใช้อยู่ที่ทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ภาษามลายูได้เป็นภาษากลางในบริเวณหมู่เกาะที่เป็นประเทศ
อินโดนีเซียในปัจจุบันมาหลายร้อยปี จารึกเกอดูกัน บูกิตเป็นหลักฐานที่เก่าที่สุดที่ใช้ภาษามลายูโบราณซึ่ง
เป็นภาษาราชการในสมัยจักรวรรดิศรีวิชัย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ภาษามลายูโบราณได้มี
การใช้ในหมู่เกาะอินโดนีเซีย เห็นได้จากจารึกสมัยศรีวิชัย และจารึกอื่นๆตามบริเวณชายฝั่ง เช่นที่เกาะชวา
การติดต่อค้าขายโดยชาวพื้นเมืองในเวลานั้นเป็นสื่อกลางในการแพร่กระจายของภาษามลายูโบราณ ใน
ฐานะภาษาทางการค้า และกลายเป็นภาษากลางที่มีผู้ใช้อย่างแพร่หลายในบริเวณหมู่เกาะภาษาอินโดนีเซียได้
พัฒนามาสู่สถานะของภาษาราชการเมื่ออินโดนีเซียประกาศเอกราชใน พ.ศ. 2488 โดยเริ่มต้นจากซุมปะห์
เปอมูดาเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471ภาษาอินโดนีเซียในรูปแบบมาตรฐานจัดเป็นภาษาเดียวกับภาษาราชการ
ในมาเลเซียและบรูไน แต่มีความแตกต่างจากภาษามาเลย์บางประการเช่นการออกเสียงและคาศัพท์ ความ
แตกต่างนี้มักเกิดจากอิทธิพลของภาษาชวาและภาษาดัตช์ในภาษาอินโดนีเซีย ภาษาอินโดนีเซียยังได้รับ
อิทธิพลจากภาษามลายูสาเนียงบะซาร ที่เป็นภาษากลางในบริเวณหมู่เกาะในสมัยอาณานิคม ภาษามาเลย์ใน
มาเลเซียมีความใกล้เคียงกับภาษามลายูคลาสสิก แม้ว่าภาษาสมัยใหม่จะได้รับออิทธิพลทางด้านรากศัพท์
และประโยคจากภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย์ระดับสูงหรือภาษาในศาลซึ่งใช้ในศาลของรัฐสุลต่านยะโฮร์และ
ใช้ในเขตบริหารของดัตช์ในรีเยา ส่วนภาษามาเลย์ระดับล่างหรือภาษามลายูสาเนียงบะซารเป็นภาษาทาง
การค้า ซึ่งนักวิชาการกล่าวว่าภาษามาเลย์ระดับล่างนี้เป็นพื้นฐานของภาษาอินโดนีเซียด้วยภาษาอินโดนีเซีย
มีผู้พูดเป็นภาษาแม่น้อยมากในอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่อยู่ในเขตเมืองเช่น จาการ์ตา แต่มีคนถึง 200 ล้านคนใช้
เป็นภาษาประจาชาติ จึงเป็นภาษาที่มีบทบาทมากในประเทศ ภาษาที่เป็นทางการใช้ในหนังสือและ
หนังสือพิมพ์ รวมทั้งวิทยุ โทรทัศน์ ใช้ในการสนทนาน้อย
สถานะการเป็นภาษาราชการ
ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาราชการในอินโดนีเซีย ใช้อย่างแพร่หลายทั้งในด้านการศึกษา เอกสารทางราชการ
เขียนด้วยภาษาอินโดนีเซีย และเป็นภาษาในสื่อในประเทศอินโดนีเซีย เช่นวารสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาษานี้ใช้
อย่างแพร่หลายทั่วอินโดนีเซีย ในรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐอินโดนีเซียมาตรา 15 ซึ่งได้กาหนดสัญลักษณ์
ประจาชาติของอินโดนีเซียได้ระบุให้ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาประจาชาติภาษานี้เป็นภาษาที่แสดงความ
เป็นหนึ่งเดียวของกลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันในอินโดนีเซีย และเป็นสื่อกลางในการสื่อสารภาษานี้ได้
ประกาศให้เป็นภาษาเดียวของชาติระหว่างซุมปะห์ เปอมูดาเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471 โดยกาหนดให้ภาษามี
พื้นฐานจากภาษามลายูสาเนียงรีเยา แม้ว่านักภาษาศาสตร์จะกล่าวว่านี่ไม่ใช่สาเนียงท้องถิ่นของรีเยาแต่เป็น
สาเนียงมะละกาที่ใช้ในศาลของรีเยา ตั้งแต่การประกาศใน พ.ศ. 2471 และการกาหนดในรัฐธรรมนูญเมื่อ
พ.ศ. 2488 ภาษานี้ได้ใช้ในอินโดนีเซียตลอดมา ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆใน
อินโดนีเซีย เช่น ภาษาชวา และภาษาดัตช์ในสมัยอาณานิคม ดังนั้น ภาษาอินโดนีเซียจึงมีคายืมที่กว้างกว่า
ภาษามาเลย์ ในอีกมุมมองหนึ่ง ภาษาอินโดนีเซียจึงมีสถานะเหมือนเป็นภาษาประดิษฐ์ที่เป็นภาษาราชการใน
พ.ศ. 2471 เนื่องจากเกิดขึ้นด้วยเหตุผลทางวิชาการมากกว่าเกิดขึ้นเองทางธรรมชาติการพัฒนาแยกกัน
ระหว่างภาษามาเลย์ในมาเลเซียกับภาษาอินโดนีเซียทาให้มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจจะมีเหตุผลทาง
การเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องนอกเหนือจากเหตุผลทางวัฒนธรรม ในมาเลเซียจะถือว่าภาษาทั้งสองเป็นสาเนียงที่
ต่างกัน แต่ในอินโดนีเซียจะถือว่าเป็นภาษาต่างหากจากกัน เนื่องจากอินโดนีเซียต้องการแสดงความแตกต่าง
จากมาเลเซียและบรูไน ในขณะที่มาเลเซียต้องการแสดงให้เห็นว่าตนมีต้นกาเนิดร่วมกันอินโดนีเซียใน พ.ศ.
2515 ได้มีการเปลี่ยนรูปแบบการเขียนภาษาอินโดนีเซีย โดยเปลี่ยนการสะกดที่อิงแบบภาษาดัตช์มาเป็นแบบ
ที่อิงภาษาอังกฤษ
Halo (ฮาโหล) = สวัสดี
Selamat pagi (เซอลามัต ปากี) = สวัสดีตอนเช้า
Selamat siang(เซอลามัตเซียง) = สวัสดีตอนกลางวัน
Selamat malam (เซอลามัตมาลาม) = สวัสดีตอนหัวค่า
Selamat tidur (เซอลามัตติดูร์) = ราตรีสวัสดิ์
Saya , Aku(ซายา,อากู) = ฉัน , ดิฉัน , ผม , กระผม , ข้าพเจ้า (สองคานี้ใช้ต่างกันตรงที่ Aku ใช้กับคนที่สนิท
ส่วน Saya ใช้แบบทางการและทั่วไป)
Anda, Kamu (อันดา,กามู)= คุณ (สรรพนามบุรุษที่ 2) ใช้ต่างกับตรงที่ Kamu ใช้กับคนที่สนิท ส่วน anda ใช้
แบบทางการและทั่วไป
Apa? (อะปา)= อะไร?
Siapa? (ซิอะปา) = ใคร? หรือ ใช้แทนคาว่า “อะไร” ในกรณีที่ถามชื่อ
Di mana?(ดิมานา) = ที่ไหน?
Kapan,Bila? (กาปัน,บิลา) = เมื่อไหร่? (When)
Mengapa (เมิงอะปา)= ทาไม? (Why)
Yang mana? (ยางมานา)= อันไหน? (Which)
Bagaimana? (บาไกมานา)= อย่างไร(How)
Berapa? (เบอราปา) = เท่าไหร่
Dapatkah anda? (ดาปัทกาห์ อันดา) = สามารถมั้ย? (Can you?)
Dapatkah anda bantu saya? (ดาปัทกาห์ อันดา บานตู ซายา)= คุณสามารถช่วยฉันได้ไหม?
Ya = คาขานรับ (ใช่, ค่ะ , ครับ)
Tidak = ไม่
Bukan = ไม่ใช่
Terima kasih = ขอบคุณ
Kembali = ยินดี (you are welcome)
Silakan (ซีลากัน) = เชิญ
Baik,Oke (ไบอิค,โอเก)= โอเค ตกลง
Bagus (บากุส) = ดี (good,that fine)
Balangkali (บาลางกาลิ) = น่าจะ
Maaf (มาอาฟ)= ขอโทษ (Sorry)
Permisi (เปอร์มิซี่)= ขอโทษ (Excuse me)
Bagaimana(บาไกมานา) = อีกครั้ง (Again please)
Entah (เอินต๊ะฮ์)= ฉันไม่รู้
Tunggu (ตุงกู) = รอเดี๋ยว
Mari (มารี) = ไปเลย Lat’s go หรือ เชิญชวน
Lihat! (ลีฮัท) =ดูนั่นสิ
Orang (โอราง) = คน บุคคล ประชาชน
ประเทศอินโดนีเซีย
กาโด กาโด (Gado Gado)อาหารยอดนิยมของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธัญพืช
หลากหลายชนิด ทั้งแครอท มันฝรั่ง กะหล่าปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้มสุกด้วย กา
โด กาโดจะนามารับประทานกับซอสถั่วที่คล้ายกับซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครื่องสมุนไพรในซอส
อาทิ รากผักชี หอมแดง กระเทียม ตะไคร้ ทาให้เมื่อรับประทานแล้วจะไม่รู้สึกเลี่ยนกะทิมากจนเกินไป
นั่นเอง

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Saba Software
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming Language
Simplilearn
 

Featured (20)

How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming Language
 

ประเทศอืนโดนิเซีย

  • 2. 1.ข้อมูลทั่วไป ชื่อ "Indonesia" มาจาก "indos nesos" แปลว่า "หมู่เกาะใกล้อินเดีย" เนื่องจากเป็น หมู่เกาะในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย และระหว่างทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย ทาให้อินโดนีเซีย สามารถควบคุมเส้นทางการติดต่อระหว่างมหาสมุทรทั้งสอง ผ่านช่องแคบสาคัญต่างๆ อาทิ ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดรา และช่องแคบล็อมบ็อก ซึ่งล้วนเป็นเส้นทางขนส่งน้ามัน จาก ตะวันออกกลาง มายังประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับรัฐซาราวัค และซาบาห์ของมาเลเซีย ทิศตะวันออกติดกับปาปัวนิวกินี ทิศตะวันตกเฉียงเหนือจรด น่านน้าของสหพันธรัฐมาเลเซีย โดยมีช่องแคบมะละกา เป็นพรมแดนกั้นระหว่างเกาะสุมาตรา ของ อินโดนีเซียกับประเทศมาเลเซีย 1.1ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ อินโดนีเซียมีรูปร่างคล้ายพระจันทร์หงายครึ่งซีก มีพื้นที่ 5,193,250 ตารางกิโลเมตร หรือใหญ่กว่าประเทศ ไทยประมาณ 10 เท่า เป็นพื้นดิน 2,027,087 ตารางกิโลเมตร และทะเล 3,166,163 ตารางกิโลเมตร อินโดนีเซียประกอบด้วยเกาะใหญ่น้อยกว่า 17,500 เกาะ แต่มีประชากรอาศัยอยู่เพียง 3,000 เกาะ รวมอยู่ใน พื้นที่ 4 ส่วนคือ 1) หมู่เกาะซุนดาใหญ่ (Great Sunda Islands) ประกอบด้วย เกาะชวา สุมาตรา กะลิมันตัน และสุลาเวสี 2) หมู่เกาะซุนดาน้อย (Lesser Sunda Islands) ประกอบด้วยเกาะเล็กๆ ทางตะวันออกของเกาะชวา มีเกาะ บาหลี ล็อมบอก ซุมบาวา ฟอลเรส และติมอร์ 3) หมู่เกาะมาลุกุ (Maluku Islands) หรือหมู่เกาะเครื่องเทศ อยู่ระหว่างสุลาเวสีกับเกาะปาปัว 4) ปาปัว (Papua) อยู่บนเกาะนิวกินีทางตะวันตกของประเทศปาปัวนิวกินี ในบรรดาหมู่เกาะทั้งหมด มีเกาะ ขนาดใหญ่ 5 เกาะ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 90 ของประเทศ คือ 1) กะลิมันตัน มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 28 ของพื้นที่ทั้งหมด และครอบคลุมพื้นที่ 2 ใน 3 ของเกาะบอร์เนียว 2) สุมาตรา มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 24 ของพื้นที่ทั้งหมด 3) ปาปัว มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 22 ของพื้นที่ทั้งหมด และครอบคลุมพื้นที่ครึ่งหนึ่งด้านตะวันตกของเกาะ นิวกินี 4) สุลาเวสี มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมด 5) ชวา และมาดูรา ครอบคลุมพื้นที่เพียงร้อยละ 7 ของพื้นที่ทั้งหมด แต่มีประชากรอาศัยอยู่ถึงร้อยละ 64 ของทั้งประเทศ
  • 3. เมืองใหญ่สาคัญของอินโดนีเซีย ได้แก่ - จาการ์ตา (Jakarta) หรือในอดีตชื่อ “ปัตตาเวีย” (Batavia) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของ อินโดนีเซีย ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ 650 ตารางกิโลเมตร ประชากร 10 ล้านคน เป็นศูนย์กลางทั้งด้านการปกครองและเศรษฐกิจของประเทศ มีสนามบินนานาชาติคือ Soekarno Hatta International Airport มีท่าเรือใหญ่ที่สุดของประเทศ คือ Tanjung Priok - สุราบายา (Surabaya) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศ อยู่บนเกาะชวา ประชากรประมาณ 2.5 ล้านคน ทรัพยากรธรรมชาติสาคัญคือ หินชอล์ก ทาให้จังหวัดนี้มีชื่อเสียงด้านอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ อีกทั้งยังมีหิน อ่อน น้ามัน และเกลือ มีสนามบินนานาชาติคือ Juanda Airport และท่าเรือTanjung Perak - ยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) อยู่บนเกาะชวา เป็นศูนย์กลางทั้งด้านศิลปะ และวัฒนธรรม นอกจากนั้นยอก ยาการ์ตา ยังเป็นที่ตั้งของบุโรพุทโธ (Borobudur) พุทธสถานที่มีชื่อเสียงและสาคัญยิ่งแห่งหนึ่งในภูมิภาคนี้ รวมถึงหมู่วิหารโบราณฮินดู คือ ปรามบานัน (Pram-banan) สนามบินหลักคือ Adi Sucipto Airport - เมดาน (Medan) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของเกาะสุมาตรา มีประชากร 2.1 ล้านคน เมดานเป็น แหล่งเพาะปลูกใหญ่ที่สุด ของอินโดนีเซีย ทั้งปาล์มน้ามัน ชา โกโก้ ยางพารา และยาสูบ นอกจากนั้น ยังมีแร่ ธาตุสาคัญ อาทิ น้ามัน และก๊าซ มีสนามบินนานาชาติ คือ Polonia Airport และท่าเรือ Belawan Port - เรียว (Riau) อยู่บนเกาะสุมาตรา มีพื้นที่ 95 พันตารางกิโลเมตรประชากร 5.4 ล้านคน พืชเศรษฐกิจสาคัญ คือ มะพร้าว ยางพารา ชา และโกโก้ นอกจากนี้ ยังมีไม้มีค่าต่างๆ และน้ามันปิโตรเลียม โดยสินค้าส่งออก สาคัญคือ น้ามันปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ไม้ สนามบินสาคัญคือ Sultan Syarif Kasim II Airport ท่าเรือคือ Batu Ampar Port - แจมบี (Jambi) อยู่บนเกาะสุมาตรา มีพื้นที่ 44.8 พันตารางกิโลเมตร ประชากร 2.5 ล้านคน พืชเศรษฐกิจ หลัก ได้แก่ มะพร้าว โกโก้ และชา นอกจากนั้นยังมีแร่ธาตุอื่นๆ อาทิ น้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน ทองแดง สินค้าส่งออกสาคัญคือ ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์จากป่า สนามบินหลัก คือ Sultan Thaha Airport - ปาเลมบัง (Palembang) อยู่บริเวณสุมาตราใต้ พืชเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ มะพร้าว ปาล์มน้ามัน ยาง กาแฟ พริกไทย ชา สินค้าส่งออกสาคัญคือ ยาง กาแฟ สนามบินหลัก คือ Sultan Baharudin II Airport ท่าเรือคือ Boom Baru Port - เดนปาซาร์ (Denpasar) เป็นเมืองหลวงของเกาะบาหลี (Bali) อันเป็นแหล่งท่องเที่ยวมีชื่อเสียงด้านความ งดงามของธรรมชาติและชายหาดที่สวยงาม สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ปีละกว่า 1 ล้านคน สนามบิน นานาชาติ คือ Gusti Ngurah Rai International Airport ภูมิอากาศ อินโดนีเซียเป็นหมู่เกาะ ภูมิอากาศจึงมีลักษณะผสมผสานและเปลี่ยนแปลงไปตามภูมิประเทศ โดยทั่วไปมีอากาศร้อนชื้นแบบศูนย์สูตร แบ่งเป็น 2 ฤดู คือ 1. ฤดูแล้ง ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม 2. ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน
  • 4. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ราตรี ดอกไม้ประจาชาติอินโดนีเซีย คือ ดอกกล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid) ซึ่งเป็นหนึ่งในดอกกล้วยไม้ที่บานอยู่ ได้นานที่สุด โดยช่อดอกนั้นสามารถแตกกิ่งและอยู่ได้นาน 2-6 เดือน โดยดอกจะบานแค่ปีละ 2-3 ครั้ง เท่านั้น ทั้งนี้ดอกกล้วยไม้ราตรีสามารถเจริญเติบโตได้ดีในอากาศชื้น จึงพบเห็นได้ง่ายในพื้นที่ราบต่าของ ประเทศอินโดนีเซีย ชุดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซีย เกบาย่า (Kebaya) เป็นชุดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซียสาหรับผู้หญิง มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยาว ผ่า หน้า กลัดกระดุม ตัวเสื้อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็นลายลูกไม้ ส่วนผ้าถุงที่ใช้จะเป็นผ้าถุงแบบบาติก ส่วน การแต่งกายของผู้ชายมักจะสวมใส่เสื้อแบบบาติกและนุ่งกางเกงขายาวหรือเตลุก เบสคาพ (Teluk Beskap) ซึ่งเป็นการแต่งกายแบบผสมผสานระหว่างเสื้อคลุมสั้นแบบชวาและโสร่ง และนุ่งโสร่งเมื่ออยู่บ้านหรือ ประกอบพิธีละหมาดที่มัสยิด
  • 5. เกบาย่า – ประเทศอินโดนิเซีย เตลุก เบสคาพ – ประเทศอินโดนิเซีย
  • 6. ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้น ด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ใน บางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคาที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซา อินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นามาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอกาส ประวัติ ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษามาตรฐานของภาษามลายูสาเนียงรีเยา ซึ่งเป็นภาษามลายูคลาสสิกที่ใช้ในศาลของ ราชสานักมะละกาOriginally spoken in Northeast Sumatraจุดเริ่มต้นของการใช้อยู่ที่ทาง ตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ภาษามลายูได้เป็นภาษากลางในบริเวณหมู่เกาะที่เป็นประเทศ อินโดนีเซียในปัจจุบันมาหลายร้อยปี จารึกเกอดูกัน บูกิตเป็นหลักฐานที่เก่าที่สุดที่ใช้ภาษามลายูโบราณซึ่ง เป็นภาษาราชการในสมัยจักรวรรดิศรีวิชัย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ภาษามลายูโบราณได้มี การใช้ในหมู่เกาะอินโดนีเซีย เห็นได้จากจารึกสมัยศรีวิชัย และจารึกอื่นๆตามบริเวณชายฝั่ง เช่นที่เกาะชวา การติดต่อค้าขายโดยชาวพื้นเมืองในเวลานั้นเป็นสื่อกลางในการแพร่กระจายของภาษามลายูโบราณ ใน ฐานะภาษาทางการค้า และกลายเป็นภาษากลางที่มีผู้ใช้อย่างแพร่หลายในบริเวณหมู่เกาะภาษาอินโดนีเซียได้ พัฒนามาสู่สถานะของภาษาราชการเมื่ออินโดนีเซียประกาศเอกราชใน พ.ศ. 2488 โดยเริ่มต้นจากซุมปะห์ เปอมูดาเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471ภาษาอินโดนีเซียในรูปแบบมาตรฐานจัดเป็นภาษาเดียวกับภาษาราชการ ในมาเลเซียและบรูไน แต่มีความแตกต่างจากภาษามาเลย์บางประการเช่นการออกเสียงและคาศัพท์ ความ แตกต่างนี้มักเกิดจากอิทธิพลของภาษาชวาและภาษาดัตช์ในภาษาอินโดนีเซีย ภาษาอินโดนีเซียยังได้รับ อิทธิพลจากภาษามลายูสาเนียงบะซาร ที่เป็นภาษากลางในบริเวณหมู่เกาะในสมัยอาณานิคม ภาษามาเลย์ใน
  • 7. มาเลเซียมีความใกล้เคียงกับภาษามลายูคลาสสิก แม้ว่าภาษาสมัยใหม่จะได้รับออิทธิพลทางด้านรากศัพท์ และประโยคจากภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย์ระดับสูงหรือภาษาในศาลซึ่งใช้ในศาลของรัฐสุลต่านยะโฮร์และ ใช้ในเขตบริหารของดัตช์ในรีเยา ส่วนภาษามาเลย์ระดับล่างหรือภาษามลายูสาเนียงบะซารเป็นภาษาทาง การค้า ซึ่งนักวิชาการกล่าวว่าภาษามาเลย์ระดับล่างนี้เป็นพื้นฐานของภาษาอินโดนีเซียด้วยภาษาอินโดนีเซีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่น้อยมากในอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่อยู่ในเขตเมืองเช่น จาการ์ตา แต่มีคนถึง 200 ล้านคนใช้ เป็นภาษาประจาชาติ จึงเป็นภาษาที่มีบทบาทมากในประเทศ ภาษาที่เป็นทางการใช้ในหนังสือและ หนังสือพิมพ์ รวมทั้งวิทยุ โทรทัศน์ ใช้ในการสนทนาน้อย สถานะการเป็นภาษาราชการ ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาราชการในอินโดนีเซีย ใช้อย่างแพร่หลายทั้งในด้านการศึกษา เอกสารทางราชการ เขียนด้วยภาษาอินโดนีเซีย และเป็นภาษาในสื่อในประเทศอินโดนีเซีย เช่นวารสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาษานี้ใช้ อย่างแพร่หลายทั่วอินโดนีเซีย ในรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐอินโดนีเซียมาตรา 15 ซึ่งได้กาหนดสัญลักษณ์ ประจาชาติของอินโดนีเซียได้ระบุให้ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาประจาชาติภาษานี้เป็นภาษาที่แสดงความ เป็นหนึ่งเดียวของกลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันในอินโดนีเซีย และเป็นสื่อกลางในการสื่อสารภาษานี้ได้ ประกาศให้เป็นภาษาเดียวของชาติระหว่างซุมปะห์ เปอมูดาเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471 โดยกาหนดให้ภาษามี พื้นฐานจากภาษามลายูสาเนียงรีเยา แม้ว่านักภาษาศาสตร์จะกล่าวว่านี่ไม่ใช่สาเนียงท้องถิ่นของรีเยาแต่เป็น สาเนียงมะละกาที่ใช้ในศาลของรีเยา ตั้งแต่การประกาศใน พ.ศ. 2471 และการกาหนดในรัฐธรรมนูญเมื่อ พ.ศ. 2488 ภาษานี้ได้ใช้ในอินโดนีเซียตลอดมา ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆใน อินโดนีเซีย เช่น ภาษาชวา และภาษาดัตช์ในสมัยอาณานิคม ดังนั้น ภาษาอินโดนีเซียจึงมีคายืมที่กว้างกว่า ภาษามาเลย์ ในอีกมุมมองหนึ่ง ภาษาอินโดนีเซียจึงมีสถานะเหมือนเป็นภาษาประดิษฐ์ที่เป็นภาษาราชการใน พ.ศ. 2471 เนื่องจากเกิดขึ้นด้วยเหตุผลทางวิชาการมากกว่าเกิดขึ้นเองทางธรรมชาติการพัฒนาแยกกัน ระหว่างภาษามาเลย์ในมาเลเซียกับภาษาอินโดนีเซียทาให้มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจจะมีเหตุผลทาง การเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องนอกเหนือจากเหตุผลทางวัฒนธรรม ในมาเลเซียจะถือว่าภาษาทั้งสองเป็นสาเนียงที่ ต่างกัน แต่ในอินโดนีเซียจะถือว่าเป็นภาษาต่างหากจากกัน เนื่องจากอินโดนีเซียต้องการแสดงความแตกต่าง จากมาเลเซียและบรูไน ในขณะที่มาเลเซียต้องการแสดงให้เห็นว่าตนมีต้นกาเนิดร่วมกันอินโดนีเซียใน พ.ศ. 2515 ได้มีการเปลี่ยนรูปแบบการเขียนภาษาอินโดนีเซีย โดยเปลี่ยนการสะกดที่อิงแบบภาษาดัตช์มาเป็นแบบ ที่อิงภาษาอังกฤษ
  • 8. Halo (ฮาโหล) = สวัสดี Selamat pagi (เซอลามัต ปากี) = สวัสดีตอนเช้า Selamat siang(เซอลามัตเซียง) = สวัสดีตอนกลางวัน Selamat malam (เซอลามัตมาลาม) = สวัสดีตอนหัวค่า Selamat tidur (เซอลามัตติดูร์) = ราตรีสวัสดิ์ Saya , Aku(ซายา,อากู) = ฉัน , ดิฉัน , ผม , กระผม , ข้าพเจ้า (สองคานี้ใช้ต่างกันตรงที่ Aku ใช้กับคนที่สนิท ส่วน Saya ใช้แบบทางการและทั่วไป) Anda, Kamu (อันดา,กามู)= คุณ (สรรพนามบุรุษที่ 2) ใช้ต่างกับตรงที่ Kamu ใช้กับคนที่สนิท ส่วน anda ใช้ แบบทางการและทั่วไป Apa? (อะปา)= อะไร? Siapa? (ซิอะปา) = ใคร? หรือ ใช้แทนคาว่า “อะไร” ในกรณีที่ถามชื่อ Di mana?(ดิมานา) = ที่ไหน? Kapan,Bila? (กาปัน,บิลา) = เมื่อไหร่? (When) Mengapa (เมิงอะปา)= ทาไม? (Why) Yang mana? (ยางมานา)= อันไหน? (Which) Bagaimana? (บาไกมานา)= อย่างไร(How) Berapa? (เบอราปา) = เท่าไหร่ Dapatkah anda? (ดาปัทกาห์ อันดา) = สามารถมั้ย? (Can you?) Dapatkah anda bantu saya? (ดาปัทกาห์ อันดา บานตู ซายา)= คุณสามารถช่วยฉันได้ไหม? Ya = คาขานรับ (ใช่, ค่ะ , ครับ)
  • 9. Tidak = ไม่ Bukan = ไม่ใช่ Terima kasih = ขอบคุณ Kembali = ยินดี (you are welcome) Silakan (ซีลากัน) = เชิญ Baik,Oke (ไบอิค,โอเก)= โอเค ตกลง Bagus (บากุส) = ดี (good,that fine) Balangkali (บาลางกาลิ) = น่าจะ Maaf (มาอาฟ)= ขอโทษ (Sorry) Permisi (เปอร์มิซี่)= ขอโทษ (Excuse me) Bagaimana(บาไกมานา) = อีกครั้ง (Again please) Entah (เอินต๊ะฮ์)= ฉันไม่รู้ Tunggu (ตุงกู) = รอเดี๋ยว Mari (มารี) = ไปเลย Lat’s go หรือ เชิญชวน Lihat! (ลีฮัท) =ดูนั่นสิ Orang (โอราง) = คน บุคคล ประชาชน
  • 10. ประเทศอินโดนีเซีย กาโด กาโด (Gado Gado)อาหารยอดนิยมของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธัญพืช หลากหลายชนิด ทั้งแครอท มันฝรั่ง กะหล่าปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้มสุกด้วย กา โด กาโดจะนามารับประทานกับซอสถั่วที่คล้ายกับซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครื่องสมุนไพรในซอส อาทิ รากผักชี หอมแดง กระเทียม ตะไคร้ ทาให้เมื่อรับประทานแล้วจะไม่รู้สึกเลี่ยนกะทิมากจนเกินไป นั่นเอง