SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
22
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
	 Salatiga Technical School, Central Java
Province in Indonesia and Kanchanaburi Technical
College in Thailand hereby agree to become sister
schools in order to build up friendship and cooperation
between our two schools and promote mutual
understanding between Indonesia and Thailand
Sister School Programme Goals :
	 1.	To strengthen relationships, understanding
and appreciation between people in Salatiga
Technical School and Kanchanaburi Technical College
	 2.	To deepen the understanding of and
respect for each other’s cultures
	 3.	To develop opportunities for students and
teachers to develop skills which enhance Salatiga
Technical School–Kanchanaburi Technical College
relationships
	 4.	To support the teaching of productive
lessons in Salatiga Technical School and in
Kanchanaburi Technical Collage
	 5.	To develop ties of friendship through
regular communication
Sister School Activities :
	 1.	The exchange of information about
curriculum, school policy and school events
	 2.	The exchange of teaching resources,
course materials and teaching strategies
	 3.	The exchange of student work, letters,
photos, student newspapers, etc. to promote mutual
understanding
	 4.	Both schools will endeavour to maintain
student, teacher and administrator exchange
programme to provide the opportunity to study,
work and live in the sister school community
Duration
	 This MOU is established for four years since
signed by both parties and can be cancelled by
either party provided that at least six months’
written notice is given. Unless cancelled by either
party, this MOU will automatically be renewed for
one-year periods, until such time as a new
agreement that substitutes or modifies it is signed
or that either party provides notice of intent to cancel.
During the term of the MOU, provisions for its
improvement may be added when agreed upon in
writing by both parties.
Signed on December 6, 2012
In The Office of Vocational Education Commission
Ministry of Education, Thailand
Kanchanaburi Technical College, Thailand.
Mr.Sommai Sawangsri
Director
Salatiga Technical School,
Central Java province of Indonesia
Mr.Drs.Hadi Sutjipto,MT
Principal
MEMORANDUM OF UNDERSTANDING
BETWEEN
Salatiga Technical School, Central Java Province, Indonesia.
AND
Kanchanaburi Technical College, Thailand.
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
23
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
MEMORANDUM OF UNDERSTANDING
BETWEEN
Bawang Technical School, Central Java Province, Indonesia.
AND
Kanchanaburi Technical College, Thailand.
	 Salatiga Technical School, Central Java
Province in Indonesia and Kanchanaburi Technical
College in Thailand hereby agree to become sister
schools in order to build up friendship and cooperation
between our two schools and promote mutual
understanding between Indonesia and Thailand
Sister School Programme Goals :
	 1.	To strengthen relationships, understanding
and appreciation between people in Salatiga
Technical School and Kanchanaburi Technical College
	 2.	To deepen the understanding of and
respect for each other’s cultures
	 3.	To develop opportunities for students and
teachers to develop skills which enhance Salatiga
Technical School–Kanchanaburi Technical College
relationships
	 4.	To support the teaching of productive
lessons in Salatiga Technical School and in
Kanchanaburi Technical Collage
	 5.	To develop ties of friendship through
regular communication
Sister School Activities :
	 1.	The exchange of information about
curriculum, school policy and school events
	 2.	The exchange of teaching resources,
course materials and teaching strategies
	 3.	The exchange of student work, letters,
photos, student newspapers, etc. to promote mutual
understanding
	 4.	Both schools will endeavour to maintain
student, teacher and administrator exchange
programme to provide the opportunity to study,
work and live in the sister school community
Duration
	 This MOU is established for four years since
signed by both parties and can be cancelled by
either party provided that at least six months’
written notice is given. Unless cancelled by either
party, this MOU will automatically be renewed for
one-year periods, until such time as a new
agreement that substitutes or modifies it is signed
or that either party provides notice of intent to cancel.
During the term of the MOU, provisions for its
improvement may be added when agreed upon in
writing by both parties.
Signed on December 6, 2012
In The Office of Vocational Education Commission
Ministry of Education, Thailand
Kanchanaburi Technical College, Thailand.
Mr.Sommai Sawangsri
Director
Bawang Technical School,
Central Java Province of Indonesia
Mr.Azis Puwanto
Principal
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
24
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
	 เป้าประสงค์ข้อที่ ๑ ที่ปรากฏอยู่ใน
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memoran-
dum of Understanding : MOU) ระหว่าง
Salatiga Technical School และ Bawang
Technical School กับ kanchanaburi
Technical College นับว่ามีนัยสำคัญต่อ
จังหวะก้าวของการเตรียมความพร้อมสู่
ประชาคมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๘ ของ
สถานศึกษาทั้ง ๓ แห่งเป็นอย่างยิ่ง และ
คงจะไม่ผิดนักหากจะกล่าวว่านี่คือ บันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ ( MOU) ฉบับประวัติ
ศาสตร์เนื่องเพราะเป็นเอกสารฉบับแรก ที่
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรีได้ลงนามร่วม
กับสถานศึกษาในต่างประเทศเพื่อจัดการ
ศึกษาร่วมกันในฐานะโรงเรียนพี่โรงเรียน
น้อง ( Sister school ) นับตั้งแต่วันก่อตั้ง
ในวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๘๑ หรือกว่า ๗๔
ปีที่ผ่านมา
	 เอกสารฉบับประวัติศาสตร์ ดังกล่าว
บังเกิดขึ้นจากความมุ่งมั่นตั้งใจร่วมกัน
ของนักการอาชีวศึกษาไทยและอินโดนี
เซียที่ต่างคำนึงถึงปฏิญญาชะอำ-หัวหิน
(Cha-AmHuaHinDeclaration) ที่ผู้นำทั้ง
๑๐ ประเทศได้มีฉันทามติร่วมกันที่เน้นย้ำ
ว่าการศึกษาคือหัวใจสำคัญของการก่อร่าง
และ เสริมสร้างประชาคมอาเซียนทั้ง ๓
เสาหลักและแน่นอนว่าความงดงามและ
ความแข็งแกร่งของเสาหลักดังกล่าวจะมั่น
คงมิได้เลย หากปราศจากกำลังคนด้าน
อาชีวศึกษาที่เปรียบดุจดังกระดูกสันหลัง
ของพลเมืองอาเซียน (ASEAN Citizens)
	 ประเทศไทยในส่วนของสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้จัดทำ
(ร่าง)การบริหารจัดการอาชีวศึกษาและ
ฝึกอบรมวิชาชีพสู่ประชาคมอาเซียนโดย
กำหนดวิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการ
อาชีวศึกษาว่า มุ่งมั่นในการบริหารจัดการ
อาชีวศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพ เพื่อผลิต
Sister School Programme Goals:
“1)	 To strengthen relationships,understanding and appreciation Between people in 	
	 Salatiga Technical School and Kanchanaburi Technical College”
“2).	To Strengthen relationships,understanding and appreciation Between people in
	 Bawang Technical School and Kanchanaburi Technical College”
MOU ฉบับประวัติศาสตร์ :
กลไกการสร้างความเข้มแข็ง
ประชาคมอาเซียน
ศูนย์อาเซียนศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
25
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
และพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะวิชาชีพ
ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ.
๒๕๕๘ โดยกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์
๕ ข้อคือ1
ยุทธศาสตร์ที่ ๑	:	การจัดการเรียนการสอน
โดยใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร
ยุทธศาสตร์ที่ ๒	:	การจัดกิจกรรมร่วมกับ
เครือข่ายระดับประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓	:	การจัดแรงจูงใจและสิ่ง
สนับสนุนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ ๔	:	การพัฒนาด้านการวิจัย
นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และสิ่ง
ประดิษฐ์คนรุ่นใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ ๕	:	การจัดการศึกษาเพื่อ
ขยายโอกาสในระดับอาเซียน
	 	 ส่วนประเทศอินโดนีเซีย ได้มีการ
ตระเตรียมความพร้อมโดยกำหนดแนวทาง
การพัฒนากำลังคนในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๓-
๒๕๕๗ ไว้ครอบคลุม๓ ด้านคือ2
(๑)	ด้านอุปสรรคได้แก่ การขยายการลงทุน
ในด้านแรงงาน การลดช่องว่างที่เกิดจาก
ตลาดแรงงาน การปรับโครงสร้างนโยบาย
ด้านตลาดแรงงาน
(๒)	ด้านอุปทานได้แก่ สนับสนุนการพัฒนา
ทักษะของแรงงานโดยอาศัยช่องว่างช่อง
ทางต่างๆ การสนับสนุนให้มีแหล่งข้อมูล
ด้านการตลาดแรงงานและโอกาสในด้าน
การทำงาน
(๓)	การส่งเสริมให้แรงงานมีคุณภาพโดย
ได้รับความร่วมมือจากรัฐบาลประเทศ
ออสเตรเลียในการนำแนวคิดกรอบคุณวุฒิ
วิชาชีพของประเทศออสเตรเลียมาเป็น
แนวทางในการพัฒนาระบบสมรรถนะ
แรงงานที่เรียกว่า National Competendy
standard หรือ Standar kompetensi
kerja Narinnal Indonesia (SKKNI)ซึ่ง
วัตถุประสงค์สำคัญประการหนึ่งของการ
จัดตั้งSKKNI คือ “ส่งเสริมการจัดคุณภาพ
การศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านอาชีว
ศึกษาเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการ
ของผู้ใช้โดยตรงอันนำไปสู่การพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศ”
	 อันที่จริงการผลิตและพัฒนากำลังคน
ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้นับ
เป็นหัวใจสำคัญของแนวทางการจัดการ
ศึกษาในทุกประเทศโดยเฉพาะปัจจุบันผู้ใช้
แรงงานหรือตลาด ได้แปรเปลี่ยนพลิกโฉม
ไปชนิดที่ผู้ที่อยู่ในแวดวงการศึกษาต้อง
ตระหนักและต้องให้ความสำคัญเนื่อง
เพราะนับตั้งแต่วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.
๒๕๕๘ เป็นต้นไป แนวโน้มการเป็นตลาด
และฐานการผลิตเดียวกันของรัฐสมาชิก
๑๐ ประเทศ จะบรรลุตามยุทธศาสตร์
ข้อแรกของการสถาปนาประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC) ที่มีการเคลื่อนย้ายสินค้า
บริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานฝีมือ
อย่างเสรี ทิศทางดังกล่าวหมายถึงกลไก
การทำงานของการตลาดจะเข้มข้นและมี
ความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นๆ โดยเฉพาะตลาด
ในอาเซียนที่กล่าวได้ว่ามีความหลากหลาย
ของแรงงานที่มีความแตกต่างทั้งทางด้าน
ภาษา ศาสนา ความเชื่อ ระบบการปกครอง
เชื้อชาติ และวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
26
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
โดยเฉพาะในอนาคตอันใกล้นี้ระบบ
ตลาดจะถูกหลอมรวมเข้าหากันภายใต้
ความเหมือนและ ความแตกต่าง ฉะนั้นจึง
เป็นโจทย์สำคัญที่ชาวอาชีวศึกษาทั้งไทย
และอินโดนีเซีย ต่างเห็นพ้องร่วมกันว่าการ
จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือหรือ
MOU ในครั้งนี้คือเอกสารทางราชการที่
เป็นลายลักษณ์อักษรอันจะนำไปสู่ภาค
ปฏิบัติการคือโครงการแลกเปลี่ยนทรัพยากร
เพื่อการเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษาใน
ลักษณะโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister
School) ซึ่งเป็นยุทธวิธีสำคัญที่จักต้อง
ดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพราะการเคลื่อน
ย้ายเพื่อการเตรียมความพร้อมด้านการ
อาชีวศึกษาด้วยการแลกเปลี่ยนผู้บริหาร
ครูบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน
นักศึกษา คือกลไกสำคัญที่จะช่วยสร้าง
ความกลมกลืน (Harmonisation) ของ
การอาชีวศึกษาในภูมิภาคอาเซียนรวมถึง
การลดช่องว่างของความแตกต่างด้านภาษา
ศาสนาและวัฒนธรรมตามที่กล่าวมาข้างต้น
ทั้งนี้โครงการดังกล่าวจะนำไปสู่ความ ร่วม
มือกับในการพัฒนาเป็นเครือข่ายเพื่อการ
พัฒนาทรัพยากรทางการศึกษา ( Educa-
tional Resources ) อาทิ
- มีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกันให้มีความ
สอดคล้องทันสมัยกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป
- มีโครงการและกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร
และผู้เรียนให้มีความรอบรู้เปิดโลกทัศน์ที่
มีหน่วยการวิเคราะห์ความคิดระดับภูมิภาค
อาเซียนและประชาคมโลก
- สร้างเครือข่ายวิจัยและนวัตกรรมที่
สามารถยกระดับผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์
และนวัตกรรมทางการศึกษา วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่อาจจะช่วยให้ไทยและ
อินโดนีเซียหลุดจากกับดักของประเทศ
ที่มีรายได้ปานกลาง3
(Middle Income
Trap)
- และประการสำคัญคือการสร้างจิตวิญญาณ
ของอาเซียน (Sprit of ASEAN ) ให้บังเกิด
แก่บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน
นักศึกษาที่ยอมรับและเคารพในคุณค่าของ
แตกต่างหลากหลายได้อย่างสนิทใจและ
ลึกซึ้งตามที่มีการระบุไว้เป้าประสงค์ ของ
MOU ข้อที่ ๒
อาดัม  มาลิก
กล่าวอย่างถึงที่สุดแล้ว การสถาปนาเป็น
ประชาคมอาเซียนคือความพยายามอย่าง
ยิ่งยวดในการสร้างกฎระเบียบ ข้อตกลง
ต่างๆ เพื่อแสวงหาจุดเด่นจุดร่วมของ
ประเทศสมาชิกโดยยังคงอัตลักษณ์ที่เปรียบ
ดุจฐานรากของแต่ละประเทศไว้ เพื่อเสริม
สร้างความเข้มแข็งและการเกื้อกูลต่อกัน
ในกลุ่มประเทศอาเซียน ถึงความข้อนี้
ชวนให้ระลึกถึงสุนทรพจน์ของท่าน อาดัม
มาลิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย ผู้
เป็น ๑ ใน ๕ ผู้นำที่ลงนามปฏิญญากรุงเทพ
(Bangkok Declaration) หรือปฏิญญา
อาเซียน (ASEAN Declaration)ในวันที่ ๘
สิงหาคม ๒๕๑๐ ณ วังสราญรมย์ ความว่า
“ To deepen the understanding of and respect for each other’s culture “
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
27
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
“...อาเซียนเป็นภูมิภาคที่สามารถยืนอยู่
ได้ด้วยตนเอง จะเข้มแข็งมากพอที่จะ
ปกป้องตนเองจากอิทธิพลภายนอกภูมิภาค”
ด้วยเหตุนี้เอง การลงนามใน MOU ของ
ผู้บริหาร ๓ ท่าน โดย ผอ.สมหมาย สว่างศรี
(ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี)
MR.Drs Hadi Sutjipto, MT(Principal
of SalatigaTechnidal School) และ
Mr. Azir Purwanto(Principal of Bawang
Technical School) จึงเป็นปฐมบทสำคัญ
ของการบริหารและการจัดการอาชีวศึกษา
ระหว่างประเทศในลักษณะภาคีเครือข่าย
ความร่วมมือระหว่างไทยกับอินโดนีเซีย
ในระดับสถานศึกษากับสถานศึกษาที่ตอบ
โจทย์ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ อาทิ
แผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
(ASEAN Socio-Cultural Community
ASEAN Blueprint 2009-2015) ด้านการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ว่าด้วยส่งเสริม
การสร้างเครือข่ายทางด้านการศึกษาใน
ทุกระดับระหว่างสถาบันการศึกษาและ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 2 ของสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่องการจัด
กิจกรรมร่วมกับเครือข่ายระหว่างประเทศ
	 การเป็นประชาคมอาเซียนคือ
จินตนาการร่วมเพื่อการหลอมรวมเป็น
ครอบครัวเดียวกันที่ปรารถนาจะเพิ่มพูน
สันติภาพความมั่นคง และความมั่งคั่งของ
ภูมิภาคซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีกระบวน
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่อาเซียนเองต่างก็มี
ช่องว่างและความแตกต่างหลากหลายอยู่
มิใช่น้อย
	 ดังนั้นจึงเป็นที่คาดหวังว่า MOU ฉบับ
ประวัติศาสตร์นี้เป็นดั่งเสาเข็มต้นหนึ่งของ
การอาชีวศึกษาที่จักช่วยวางรากฐานของ
๓ เสาหลักของบ้านอาเซียนให้แข็งแกร่ง
อบอุ่นและเอื้อให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงาน
ระหว่างกันจากลุ่มน้ำแควและแรงงานจาก
เกาะชวากลางให้สามารถทำงานร่วมกัน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพและภราดรภาพ
ในที่สุด
“We care to share for it’s the way of ASEAN“
1	นับเป็นร่างเอกสารฉบับแรกของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่นำเสนอเพื่อการ
	 ประชาพิจารณ์อย่างมีทิศทางเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
	 เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ๒๕๕๘ ทั้งนี้ยุทธศาสตร์ทั้ง ๕ ข้อคือการขยายขอบเขต
	 ของความร่วมมือ และเป้าหมายโดยใช้หน่วยวิเคราะห์ระดับภูมิภาคอาเซียนอันสอดคล้องกับแนวคิด
	 “Regional Community-Building” ผ่านระบบการศึกษานั่นเอง
2
	สำหรับผู้ที่สนใจเรื่องการผลิตและพัฒนากำลังภายในกรอบ AEC โปรดศึกษาเพิ่มเติมที่ สำนักงาน
	 เลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๕๕) . รายงานการวิจัยศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมด้านการผลิต
	 และพัฒนากำลังเพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.
	 กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค
3
	กับดักของประเทศรายได้รายกลาง(middle income trap) เป็นคำศัพท์ทางเศรษฐศาสตร์การ
	 พัฒนาที่ประดิษฐ์คำโดย World Bank และ ADB สององค์กรการเงินระหว่างประเทศที่ให้นิยาม	
	 ว่าสภาพของประเทศกำลังพัฒนาที่ถีบตัวจากฐานะยากจนได้ แต่ยังมีฐานะปานกลางโดยไม่
	 สามารถพัฒนาสู่ประเทศที่ฐานะร่ำรวยได้ (high income countries) สาเหตุสำคัญคือ ประเทศ
	 กลุ่มนี้ไม่สามารถสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการผลิตและมูลค่าของสินค้า
	อาทิ ไทย อินโดนีเซีย จีน เป็นต้น
• ณรงค์เดช นวลมีชื่อ : เรื่อง •
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
29
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
โครงการพัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษาไทยและอินโดนีเซีย (ครั้งที่ ๑)
๑๗ - ๒๑ กันยายน ๒๕๕๕
โครงการพัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษาไทยและอินโดนีเซีย (ครั้งที่ ๑)
๑๗ - ๒๑ กันยายน ๒๕๕๕
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
30
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
31
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
32
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
โครงการพัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษาไทยและอินโดนีเซีย (ครั้งที่ ๒)
๔ - ๖ ธันวาคม ๒๕๕๕
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
33
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
• ๑๗ กันยายน ๒๕๕๕
	 ๑๓.๐๐ 	-	 เดินทางถึงประเทศไทย
• ๑๘ กันยายน ๒๕๕๕
	 ๐๘.๐๐ 	-	 เยี่ยมคารวะที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
	 ๑๘.๐๐	 -	 เดินทางถึงกาญจนบุรี
• ๑๙ กันยายน ๒๕๕๕
	 ๐๘.๐๐ -	๑๐.๐๐	 :	เยี่ยมชมการแข่งขันกีฬาภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษากาญจนบุรี
	 ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐	 :	สัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน
	 ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐	 :	รับประทานอาหารกลางวัน
	 ๑๓.๐๐ - ๑๘.๐๐	 : ทัศนศึกษาดูงาน
	 ๑๘.๐๐ - ๒๒.๐๐	 :	กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
• ๒๐ กันยายน ๒๕๕๕
		 ๐๘.๐๐	 :	คณะบริหาร ครูอินโดนีเซียเดินทางถึงวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
	 ๐๘.๓๕ - ๐๙.๓๐	 :	ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี กล่าวต้อนรับ
	 ๐๙.๓๐ - ๐๙.๔๕	 :	นำเสนอข้อมูลวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี (Presentation)
	 ๐๙.๔๕ - ๑๐.๐๐	 :	ชมรำทวารวดี
	 ๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ 	:	บรรยายพิเศษ “Technickan Prepralation Towards To ASEAN”
	 ๑๐.๑๕ - ๑๒.๐๐ 	:	ผู้บริหาร ครูอินโดนีเซีย ทดลองการสอนที่สาขางานก่อสร้าง
	 ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐	 :	รับประทานอาหารกลางวัน
	 ๑๓.๐๐ - ๑๕.๐๐	 :	เยี่ยมชมศูนย์เทคโนโลยีรถยนต์ และสาขางานเครื่องประดับอัญมณี
	 ๑๕.๐๐ - ๑๘.๐๐	 :	ทัศนศึกษาดูงาน
		 ๑๘.๐๐	 :	กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
• ๒๑ กันยายน ๒๕๕๕
	 ๐๘.๐๐ - ๑๐.๐๐	 :	คณะผู้บริหารครูอินโดนีเซียรวบรวมข้อมูล ดูงานและนำเสนอ
	 ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐	 :	แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
	 ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐	 :	รับประทานอาหารกลางวัน
	 ๑๓.๐๐ - ๑๘.๐๐	 :	ทัศนศึกษาดูงาน
	 ๑๘.๐๐ - ๒๒.๐๐	 :	กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
กำหนดการ (ครั้งที่ ๑)
โครงการพัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษาไทยและอินโดนีเซีย
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม
ระหว่างวันที่ ๑๗ - ๒๑ กันยายน ๒๕๕๕ ณ จังหวัดกาญจนบุรี
รายนามคณะผู้บริหาร ครูอินโดนีเซียจาก Semarang ๗ Technical School
๑.	Mr.Imawan Budiyanto	 ๖.	Mrs.Tuti Turyani S.Pd
๒.	Mr.Darsono SE.MM	 ๗.	Mrs.Dra.Suparwini
๓.	Mr.Hermawan Dwanto S.Pd	 ๘.	Mr.Wrawan Sigit Pramona
๔.	Mr.Drs.Purwadi	 ๙.	Mrs. Asny Eka Indriastuti S.Pd
๕.	Mrs.RR.E Novia Berdiani	 ๑๐.	Mr.Sri Wahyudi s.Pd
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
34
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
• ๔ ธันวาคม ๒๕๕๕
		 ๑๕.๑๐ 	:	คณะผู้บริหาร ครูวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี (คณะกรรมการดำเนินงาน)
				 พร้อมกัน ณ ห้องประชุมวิษณุกาญจน์
		 ๑๕.๑๕	 :	ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรีกล่าวต้อนรับ
			 :	นำเสนอข้อมูลของวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี (Presentation)
			 :	หารือแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา
		 ๑๗.๐๐	 :	สาธิตหุ่นยนต์ / สิ่งประดิษฐ์ / นวัตกรรม และเยี่ยมชมแผนก
		 ๑๗.๕๐	 :	กลับที่พัก
• ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕
	 ๐๘.๐๐ - ๑๒.๐๐	:	ศึกษาดูงานสถานประกอบการ ณ บริษัท ไวตาฟู๊ด แฟคทอรี่ (๑๙๘๙) จำกัด	
	 ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐	:	เยี่ยมชมเมืองกาญจนบุรี
	 ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐	:	เยี่ยมชมสะพานข้ามแม่น้ำแคว
• ๖ ธันวาคม ๒๕๕๕
		 ๐๙.๐๐ 	:	คณะผู้บริหารครูอินโดนีเซียและผู้บริหารครูวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
				 เดินทางไปยังสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
		 ๑๑.๐๐ 	:	พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
กำหนดการ (ครั้งที่ ๒)
โครงการพัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษาไทยและอินโดนีเซีย
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม
ระหว่างวันที่ ๔ - ๖ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
รายนามคณะผู้บริหารและครูอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ ๔-๖ ธันวาคม ๒๕๕๕
๑.	Mr.Drs.Sigit Poedjiono SJ.M.Si 	 Vice Principal	 Semarang ๗ Vocational School,
	 	 	 Central Java Province
๒.	Mr.Sujoko S.Pd  	 Teacher	 Salatiga Technical School,
	 	 	 Central Jaa Province
๓.	Mr.Sokiq S.Pd  	 Teacher	 Salatiga Technical School,
	 	 	 Centrai Jaa Province
คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
35
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
สถาปนิก
วิศวกร
นักสำรวจ
นักบัญชี
การท่องเที่ยว
โครงการเตรียมความพร้อมวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรีสู่ประชาคมอาเซียน๒๕๕๘ปีการศึกษา๒๕๕๕
	ที่	วัน/เดือน/ปี	กิจกรรม	วิทยากร	กลุ่มเป้าหมาย	สถานที่
	๑	๔ก.ค.-๑๙ก.ย.๒๕๕๕	•	โครงการพัฒนาศักยภาพการสื่อสารภาษาอังกฤษ	•	Mr.AmirMadani,Mrs.GlendaSumalinog	•	นักศึกษาปวส.๑-๒จำนวน๓๐๖คน	•	ห้องประชุมวิษณุกาญจนบุรี/ห้อง๒๓๔
				สำหรับนักเรียนนักศึกษา(๘๒ชั่วโมง)		Miss.RachelMorgan,Mr.BanksSmith
			•	โครงการพัฒนาศักยภาพการสื่อสารภาษาอังกฤษ	•	Miss.HazelJoanA.Berbon	•	ผู้บริหารครูและบุคลากร๒๐คน	•	ห้องประชุมวิษณุกาญจน์
				สำหรับผู้บริหารครูและบุคลากร(๒๐ชั่วโมง)
			•	โครงการพัฒนาศักยภาพการสื่อสารภาษาจีน	•	Miss.MeirongWu	•	นักเรียนปวช.๒๒๗คน(๒ห้อง)	•	ห้องประชุมแผนกก่อสร้าง
				สำหรับนักเรียนนักศึกษา(๒๒ชั่วโมง)			•	นักเรียนปวช.๓๓๑คน(๒ห้อง)
			•	โครงการพัฒนาศักยภาพการสื่อสารภาษาจีน	•	Mr.LinHuiWen	•	ผู้บริหารครูและบุคลากร๑๕คน	•	ห้อง๒๓๔
				สำหับครูและบุคลากร(๒๐ชั่วโมง)
	๒	พฤหัสบดีที่๑๒ก.ค.๒๕๕๕	•	ฟังบรรยายพิเศษเรื่อง“DaweiProject:ผลกระทบ	•	คุณสมภพธีรสานต์(ประธานที่ปรึกษาสภา	•	ผู้บริหารครูเจ้าหน้าที่๑๕๐คน	•	ห้องประชุมวิษณุกาญจน์
				และการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา		อุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี)		นักศึกษา๑๕๐คน		วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
	๓	อังคารที่๑๗ก.ค.๒๕๕๕	•	สุนทรียอุษาคเนย์เรื่อง“อัตลักษณ์อาเซียน	•	คุณธีรภาพโลหิตกุล(นักสารคดีอุษาคเนย์)	•	นักศึกษา๓๐๐คน	•	ห้องประชุมวิษณุกาญจน์
				เอกภาพในความหลากหลาย”	•	คุณศักดิ์สิริมีสมสืบ(กวีซีไรท์)		วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
					•	ครูสมปองดวงไสว(นักประวัติศาสตร์อุษาคเนย์)
	๔	จันทร์๑๗ก.ย.๒๕๕๕-	•	โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์	•	ผู้บริหารครูและบุคลากรอาชีวศึกษาไทย	•	บุคลากรอาชีวศึกษาไทยกับ	•	วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
		ศุกร์๒๑ก.ย.๒๕๕๕		อินโดนีเซียกับไทยด้านอาชีวศึกษา(ครั้งที่๑)		และอินโดนีเซีย		อินโดนีเซียจำนวน๒๐๐คน	•	วิทยาลัยอาชีวศึกษากาญจนบุรี
									•	วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี
	๕	๒๒ต.ค.๒๕๕๕-๒๒ก.พ.๒๕๕๖	•	โครงการจัดหาครูชาวต่างชาติสอนภาษาอันกฤษ	•	Mr.AnthonyDennisTunbredge	•	นักเรียนปวช.๓๖ห้อง	•	ห้อง๒๓๔
							•	นักศึกษาปวส.๑๒ห้อง		ห้อง๒๔๓และห้อง๒๔๕
							•	นักศึกษาปวส.๒๒ห้อง
	๖	อังคาร๔ธ.ค.๒๕๕๕-	•	โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์	•	ผู้บริหารครูและบุคลากรอาชีวศึกษาไทย	•บุคลากรอาชีวศึกษาไทยกับ	•	วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
		ศุกร์๖ธ.ค.๒๕๕๕		อินโดนีเซียกับไทยด้านอาชีวศึกษา(ครั้งที่๒)		และอินโดนีเซีย		อินโดนีเซียจำนวน๑๐๐คน	•	วิทยาลัยอาชีวศึกษากาญจนบุรี
									•	วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี
	๗	เสาร์๑ธ.ค.๒๕๕๕-	อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง“การขับเคลื่อนปรัชญา	•	อ.สิริมาเจริญศรีและคณะครูสามัญสัมพันธ์	•	แกนนำนักศึกษา๑๐๐คน	•	ห้องประชุมวิษณุกาญจน์
		อาทิตย์๒ธ.ค.๒๕๕๖	เศรษฐกิจพอเพียงสู่ประชาคมอาเซียน”						วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
	๘	พุธ๖ก.พ.๒๕๕๖	•	วันวิชาการ“เปิดโลกอาชีพสู่ประชาคมอาเซียน”	•ชาววิษณุกาญจน์และภาคีเครือข่าย	•ผู้บริหารครูนักเรียนนักศึกษา	•	ลานเอนกประสงค์
						สถานประกอบการและผู้สนใจทั่วไป		วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี		วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
						จำนวน๒,๐๐๐คน	
	๙	พุธ๖ก.พ.๒๕๕๖	•	การนำเสนอผลงานประเภทโครงงาน	•นักศึกษาเจ้าของผลงาน	•ผู้บริหารภาครัฐเอกชนครูนักเรียน	•	โรงอาหาร			
				และนวัตกรรมโดยนักศึกษา		นักศึกษารวม๒,๕๐๐คน		วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี		วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี
	๑๐	พุธ๑๓-๑๔ก.พ.๒๕๕๖	•	ปัจฉิมนิเทศปีการศึกษา๒๕๕๕	•	อ.เกียรติศักดิ์รักษาสัตย์และวิทยาลัยกรจาก	•	นักศึกษาปวส.๒และปวช.๓	•	ห้องประชุมวิษณุกาญจน์
			-	“๗+๑รหัสอาชีพสู่ASEAN”		อิตาเลียนไทย/SCG/สนง.จัดหางานกาญจนบุรี		รวม๔๕๐คน
๑๑	ภาคเรียนที่๒/๒๕๕๕	อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง“แกนนำเยาวชน	•	คณะครูจากศูนย์อาเซียนศึกษา	•	แกนนำนักศึกษา๑๐คน	•	สถานีวิทยุR-radioFM.93.0Mhz
			นักสื่อสารอาเซียน”		วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี				วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี

More Related Content

Similar to Mouประวัติศาสตร์

The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...Jaturapad Pratoom
 
2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัด
2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัด2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัด
2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัดtarat_mod
 
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองkittri
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์สพป.นว.1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555K S
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์Nichakorn Sengsui
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 

Similar to Mouประวัติศาสตร์ (20)

4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
 
2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัด
2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัด2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัด
2.สห 02-062 โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมแก่นิสิตสาขาวิชากายภาพบำบัด
 
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 

Mouประวัติศาสตร์