SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
กติกาวอลเลย์บอล
ข้อที่ 1 พื้นที่เล่นลูก
ข้อที่ 2 ตาข่ายและเสาขึงตาข่าย
ข้อที่ 3 ลูกบอล
ข้อที่ 4 ทีม
ข้อที่ 5 ผู้นำาของทีม
ข้อที่ 6 การได้คะแนน
ข้อที่ 7 โครงสร้างการแข่งขัน
ข้อที่ 8 การเปลี่ยนตัว
ข้อที่ 9 รูปแบบของการเล่น
ข้อที่ 10 การเล่นลูกบอล
ข้อที่ 11 ลูกบอลที่บริเวณตาข่าย
ข้อที่ 12 ผู้เล่นบริเวณตาข่าย
ข้อที่ 13 การเสิร์ฟ
ข้อที่ 14 การรุก
ข้อที่ 15 การสกัดกั้น
ข้อที่ 16 หยุดการแข่งขันตามกติกา
ข้อที่ 17 การถ่วงเวลาการแข่งขัน
ข้อที่ 18 หยุดการแข่งขันที่ยกเว้น
ข้อที่ 19 การหยุดพัก การเปลี่ยนแดน
ข้อที่ 20 ตัวรับอิสระ
ข้อที่ 21 ความประพฤติที่ต้องการ
ข้อที่ 22 การผิดมารยาท การลงโทษ
ข้อที่ 23 ฝ่ายทำาหน้าที่ในการตัดสิน
ข้อที่ 24. ผู้ตัดสินที่ 1
ข้อที่ 25. ผู้ตัดสินที่ 2
ข้อที่ 26 ผู้บันทึก
ข้อที่ 27 ผู้กำากับเส้น
ข้อที่ 28 สัญญาณตามกติกาการแข่งขัน
สรุปกติกาโดยทั่วไป
1
ตอนที่ 1 การแข่งขัน (The Game)
บทที่ 1 สิ่งอำานวยความสะดวกและอุปกรณ์ (Facilities And
Equipments)
กติกาข้อที่ 1 พื้นที่เล่นลูก (Playing Area)
พื้นที่เล่นลูก รวมถึงสนามแข่งขันและเขตรอบสนาม พื้นที่เลนลูกต้อง
เป็นรูปสามเหลี่ยมผืนผ้าและเหมือนกันทุกส่วน
1.1 ขนาดของสนาม (Dimension)
สนามแข่งขันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 18 x 9 เมตร ล้อมรอบ
ด้วยเขตรอบสนาม กว้างอย่างน้อยที่สุด 3 เมตร ทุกด้านที่ว่างสำาหรับ
เล่นลูก คือ ที่ว่างเหนือพื้นที่เล่นลูก ซึ่งไม่มี สิ่งใดกีดขวาง สูงขึ้นไป
อย่างน้อยที่สุด 7 เมตร จากพื้นสนาม สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของ
สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) และการแข่งขันอย่างเป็น
ทางการ
เขตรอบสนามต้องกว้างอย่างน้อยที่สุด 5 เมตร จากเส้นข้าง 8
เมตร จากเส้นหลังและที่ว่างสำาหรับเล่นลูกต้องสูงจากพื้นสนามขึ้นไป
อย่างน้อยที่สุด 12.50 เมตร
1.2 พื้นผิวสนาม (PLAYING SURFACE)
1.2.1 พื้นผิวสนามต้องเรียบ เป็นพื้นราบและเหมือนกัน
ตลอดทั้งสนาม ต้องไม่เป็นอันตรายจนเป็นเหตุให้ผู้เล่นบาดเจ็บ และไม่
อนุญาตให้แข่งขันบนพื้นสนามที่ขรุขระหรือลื่น สำาหรับการแข่งขัน
ระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และการแข่งขันอย่างเป็น
ทางการอนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะ พื้นผิวสนามที่เป็นไม้หรือพื้นผิว
สังเคราะห์เท่านั้น พื้นผิวสนามอื่นใด ต้องได้รับการรับรองจากสหพันธ์
วอลเลย์บอลก่อนทั้งสิ้น
1.2.2 สนามแข่งขันในร่ม พื้นผิวสนามต้องเป็นสีสว่าง
สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ
แข่งขันอย่างเป็นทางการ เส้นสนามต้องเป็นสีขาว ส่วนพื้นสนามแข่งขัน
และบริเวณเขตรอบสนามต้องเป็นสีแตกต่างกันออกไป
1.2.3 สนามแข่งขันกลางแจ้ง อนุญาตให้พื้นผิวสนามลาด
เอียงได้ 1 มิลลิเมตร ต่อ 1 เมตร เพื่อการระบายนำ้า ห้ามใช้ของแข็งทำา
เส้นสนาม
1.3 เส้นบนพื้นสนาม (LINES ON THE COURT)
2
1.3.1 เส้นทุกเส้นกว้าง 5 เซนติเมตร เป็นสีสว่างแตกต่าง
จากสีของพื้นผิวสนามและเส้นอื่น ๆ
1.3.2 เส้นเขตสนาม เส้นข้าง 2 เส้น และเส้นหลัง 2 เส้น
เป็นเส้นกำาหนดเขตสนามแข่งขัน เส้นทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายในเขตของ
สนามแข่งขัน
1.3.3 เส้นแบ่งแดน กึ่งกลางเส้นแบ่งแดน จะแบ่งสนาม
แข่งขันออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน ขนาด 9 x 9 เมตร เส้นนี้ลากจาก
เส้นข้างด้านหนึ่งไปยังเส้นข้างอีกดานหนึ่งใต้ตาข่าย
1.3.4 เส้นรุก แต่ละแดนของสนามจะมีเส้นรุกซึ่งริมสุดด้าน
นอกของเส้นจะขีดห่างจากจุดกึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน 3 เมตร เป็น
เครื่องหมายของเขตรุก สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ เส้นรุกจะถูก
ขีดต่อออกไปจากเส้นข้างทั้ง 2 เส้น เป็นเส้นประ กว้าง 5 เซนติเมตร
ยาวเส้นละ 15 เซนติเมตร 5 เส้น และเว้นช่องว่างระหว่างเส้นไว้ช่องละ
20 เซนติเมตร รวมยาวข้างละ 1.75 เมตร
1.4 เขตและพื้นที่ต่าง ๆ (Zone And Areas)
1.4.1 เขตรุก เขตรุกของแต่ละแดนจะถูกกำาหนดจากึ่งกลาง
ของเส้นแบ่งเขตแดน ไปจนถึงริมสุดด้านนอกของเส้นรุกเขตรุก ถือ
เสมือนว่ามีความยาวจากเส้นทั้งสองไปจนถึงริมสุดของเขตรอบสนาม
1.4.2 เขตเสิร์ฟ เขตเสิร์ฟมีพื้นที่กว้าง 9 เมตร อยู่เลยเส้น
หลังแต่ละเส้นออกไป
เส้นขนานสั้น ๆ 2 เส้น ยาวเส้นละ 15 เซนติเมตร เป็นเส้นกำาหนดเขต
เสิร์ฟ เส้นทั้งสองนี้จะตีห่างจากเส้นหลัง 20 เซนติเมตร เหมือนกับแนว
ต่อจากเส้นข้าง และรวมอยู่ในความกว้างของเขตเสิร์ฟด้วย
ในแนวลึก เขตเสิร์ฟจะยาวออกไปจนถึงปลายสุดของเขตรอบสนาม
1.4.3 เขตเปลี่ยนตัว คือ เขตที่อยู่ภายในแนวของเส้นรุกทั้ง
สองเส้นไปจนถึงโต๊ะผู้บันทึกการแข่งขัน
1.4.4 พื้นที่อบอุ่นร่างกาย สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของ
สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ พื้นที่
อบอุ่นร่างกายขนาด 3 x 3 เมตร จะอยู่ที่นอกเขตรอบสนามตรงมุม
สนามด้านเดียวกับม้านั่งของผู้เล่นสำารอง
1.4.5 พื้นที่ทำาโทษ พื้นที่ทำาโทษขนาดประมาณ 1 x 1
เมตร มีเก้าอี้ตั้งไว้ 2 ตัวอยู่ในพื้นที่ควบคุมการแข่งขัน (CONTROL
AREA) แต่อยู่เลยแนวของเส้นหลังและมีเส้นแดงกว้าง 5 เซนติเมตร
กำาหนดพื้นที่
1.5 อุณหภูมิ (TEMPERATURE)
3
อุณหภูมิตำ่าสุดต้องไม่ตำ่ากว่า 10 องศาเซลเซียส การแข่งขันระดับ
โลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็น
ทางการ แสงสว่างบนพื้นที่เล่นลูกต้องมีความสว่าง 1,000 – 1,500
ลักซ์ โดยวัดที่ระดับความสูงจากพื้นสนาม 1 เมตร
แผนผังสนามแข่งขัน ตำาแหน่งของคณะกรรมการตัดสิน
และเจ้าหน้าที่
๑. ผู้ตัดสินที่ ๑
๒. ผู้ตัดสินที่ ๒
๓. โต๊ะผู้บันทึก ผู้จับเวลา ผู้กดป้ายคะแนน
4
๔. โต๊ะที่นั่งสำาหรับผู้เล่นสำารอง ผู้ฝึกสอน ผู้ช่วยผู้
ฝึกสอน ฯลฯ
๕. ผู้กำากับเส้น
๖. ผู้เก็บบอล
๗. เขตอบอุ่นร่างกายของผู้เล่นสำารอง
กติกาข้อที่ 2 ตาข่ายและเสาขึงตาข่าย (NET AND POSTS)
2.1 ความสูงของตาข่าย (HEIGHT OF THE NET)
2.1.1 ตาข่าย ขึงเป็นแนวตั้งเหนือเส้นเบ่งแดน สำาหรับทีม
ชาย ขอบบนสุดต้องสูงจากพื้นที่ 2.43 เมตร ทีมหญิง 2.24 เมตร
2.1.2 ความสูงของตาข่าย วัดที่กึ่งกลางของสนามความสูง
ของตาข่าย (เหนือเส้นทั้งสอง) ต้องสูงเท่ากัน แต่จะสูงเกินกว่าความสูง
ที่กำาหนด 2 เซนติเมตรไม่ได้
2.2 โครงสร้าง (STRUCTURE)
ตาข่ายมีความกว้าง 1 เมตร และยาว 9.50 ถึง 10.00 เมตร
(โดยมีความยาวเหลืออยู่ 25 ถึง 50 เซนติเมตร จากแถบข้างแต่ละ
ด้าน) ทำาด้วยวัสดุสีดำา เป็นตาสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 10 เซนติเมตร ที่
ขอบบนของตาข่ายมีแถบขนานกับพื้นพับ 2 ชั้น สีขาว กว้าง 7
เซนติเมตร เย็บติดตลอดความยาวของตาข่าย ที่ปลายสุดแต่ละข้างเจาะ
รูไว้ข้างละ 1 รู เพื่อร้อยเชือกผูกกับเสาขึง ตาข่ายดึงให้แถบบนสุดของ
ตาข่ายตึง ภายในแถบมีสายที่ยืดหยุ่นได้สำาหรับผูกกับเสา เพื่อทำาให้
ส่วนบนสุดของตาข่ายตึง ที่ตาข่ายด้านล่างมีแถบขนานกับพื้นกว้าง 5
เซนติเมตร ภายในแถบมีสายที่ยืดหยุ่นได้สำาหรับผูกกับเสาเพื่อให้ส่วน
ล่างของตาข่ายตึง
2.3 แถบข้าง (SIDE BANDS)
แถบสีขาว 2 เส้น ผูกในแนวตั้งกับตาข่ายเหนือทั้ง 2 เส้น แถบ
ข้างกว้าง 5 เซนติเมตร ยาว 1 เมตร และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของตาข่าย
2.4 เสาอากาศ (ANTENNAE)
เสาอากาศเป็นแท่งกลมยืดหยุ่นได้ ยาว 1.80 เมตร เส้นผ่า
ศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร ทำาด้วยใยแก้วหรือวัสดุที่คล้ายคลึงกันเสา
อากาศแต่ละต้นถูกยึดติดอยู่ที่ริมด้านนอกของแถบข้างทั้งสอง แต่อยู่
คนละด้านของตาข่าย ส่วนบนสุดของเสาอากาศ ถือเป็นสีสลับกันเป็น
ช่วง ๆ ยาวช่องละ 10 เซนติเมตร ส่วนมากแล้วนิยมใช้สีแดงและขาว
เสาอากาศถือเป็นส่วนหนึ่ง ของตาข่าย เป็นแนวขนานที่กำาหนดพื้นที่
5
ข้ามตาข่าย
2.5 เสาขึงตาข่าย (POSTS)
2.5.1 เสาขึงตาข่ายยึดติดกับพื้นสนาม ห่างจากเส้นข้าง
0.50 – 1.00 เมตร มีความสูง 2.55 เมตร สามารถปรับระดับได้
สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ
แข่งขันอย่างเป็นทางการ เสาขึงตาข่ายยึดติดกับพื้นสนาม ห่างจากเส้น
ข้าง 1 เมตร เว้นแต่ว่า ได้รับการยินยอมจากสหพันธ์วอลเลย์บอล
นานาชาติ
2.5.2 เสาขึงตาข่ายมีลักษณะกลมและเรียบ ยึดติดกับพื้น
โดยไม่มีสายยึดเสาและต้องไม่เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายและไม่เป็นสิ่ง
กีดขวางใด ๆ
2.6 อุปกรณ์อื่น ๆ (ADDITIONAL EQUIPMENT)
อุปกรณ์อื่นใดให้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงตามระเบียบของสหพันธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติ
กติกาข้อที่ 3 ลูกบอล (BALLS)
3.1 มาตรฐาน (STANDARD)
ลูกบอลต้องกลม ทำาด้วยหนังฟอกหรือหนังสังเคราะห์ที่ยืดหยุ่นได้
ห่อหุ้มลูกบอลทรงกลมที่ทำาด้วยยาง หรือวัสดุที่คล้ายคลึงกัน สีของ
ลูกบอลอาจเป็นสีอ่อน ๆ เหมือนกันทั้งลูก หรืออาจเป็นหลายสีผสมกัน
ก็ได้ ลูกบอลซึ่งทำาด้วยวัสดุที่เป็นหนังสังเคราะห์มีหลายสีผสมกันและจะ
ใช้ในการแข่งขันระดับนานาชาติอย่างเป็นทางการ ต้องมีมาตรฐานตาม
ที่สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติกำาหนด ลูกบอลต้องมีแรงดันลม 0.30
– 0.325 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ลูกบอลต้องมีเส้นรอบวงกลม 65
– 67 เซนติเมตร และมีนำ้าหนัก 260 – 280 กรัม
3.2 รูปแบบของลูกบอล (UNIFORMITY OF BALLS)
ลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันต้องมีเส้นรอบวง นำ้าหนัก แรงอัด ชนิด
และสีตามาตรฐานเดียวกัน การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติและรวมทั้งระดับชาติ หรือการแข่งขันลีก
(League) ของแต่ละประเทศต้อง ใช้ลูกบอลที่สหพันธ์วอลเลย์บอล
นานาชาติรับรองเท่านั้น เว้นแต่ได้รับการยินยอมจากสหพันธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติ
3.3 ระบบการใช้ลูกบอล 3 ลูก (THREE – BALL SYSTEM)
6
การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ
แข่งขันอย่างเป็นทางการ จะใช้ลูกบอล 3 ลูก โดยมีผู้กลิ้งบอล 6 คน
ประจำาที่มุมของเขตรอบสนามทั้งสี่มุม มุมละ 1 คน และข้างหลังผู้ตัดสิน
ด้านละ 1 คน
บทที่ 2 ผู้เข้าร่วมการแข่งขัน(PARTICIPANTS)
กติกาข้อที่ 4 ทีม (TEAMS)
4.1 ส่วนประกอบของทีม (TEAM COMPOSITION)
4.1.1 ทีมประกอบด้วยผู้เล่นไม่เกิน 12 คน ผู้ฝึกสอน 1 คน
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน 1 คน เทรนเนอร์ 1 คน และแพทย์ 1 คน สำาหรับการ
แข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขัน
อย่างเป็นทางการ แพทย์ต้องขึ้นทะเบียนกับสหพันธ์วอลเลย์บอล
นานาชาติก่อนการแข่งขัน
4.1.2 ผู้เล่นคนหนึ่งของทีมที่ไม่ใช่ตัวรับอิสระ (LIBERO
PLAYER) ต้องเป็นหัวหน้าทีมและจะระบุไว้ในใบบันทึกการแข่งขัน
4.1.3 ผู้เล่นที่มีชื่ออยู่ในใบบันบันทึกการแข่งขันเท่านั้นจึง
จะลงสนามและร่วมการแข่งขันได้ เมื่อผู้ฝึกสอนและหัวหน้าทีม (TEAM
CAPTAIN) ลงชื่อในใบบันทึกการแข่งขันแล้วจะเปลี่ยนแปลงผู้เล่นอีก
ไม่ได้
4.2 ตำาแหน่งที่อยู่ของทีม (LOCATION OF THE TEAM)
4.2.1 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันควรนั่งม้านั่งหรืออยู่ในพื้นที่
อบอุ่นร่างกายของทีมตนเอง ผู้ฝึกสอนและผู้ร่วมทีมคนอื่นต้องนั่งบนม้า
นั่ง แต่อาจลุกจากม้านั่งเป็นครั้งคราว ม้านั่งของทีมตั้งอยู่ข้าง ๆ โต๊ะผู้
บันทึก นอกเขตรอบสนาม
4.2.2 เฉพาะผู้ร่วมทีมเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้นั่งม้านั่ง
ระหว่างการแข่งขันและร่วมการอบอุ่นร่างกายก่อนการแข่งขัน
4.2.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันสามารถอบอุ่นร่างกายโดย
ไม่ใช่ลุกบอลได้ดังนี้
4.2.3.1 ระหว่างการแข่งขันในพื้นที่อบอุ่นร่างกาย
4.2.3.2 ระหว่างขอเวลานอกและเวลาเทคนิคในเขต
รอบสนามด้านหลังแดนของทีมตนเอง
4.2.4 ช่วงพักระหว่างเซต ผู้เล่นสามารถอบอุ่นร่างกายโดย
ใช้ลูกบอลได้ในเขตรอบสนามของทีมตนเอง
4.3 เครื่องแต่งกาย (EQUIPMENT)
7
เครื่องแต่งกายของผู้เล่นประกอยด้วย เสื้อยืด กางเกงขาสั้น
ถุงเท้า (ชุดแข่งขัน) และรองเท้า
4.3.1 สีและแบบของเสื้อยืด กางเกงขาสั้น และถุงเท้าต้อง
เหมือนกันทั้งทีม (ยกเว้นตัวรับอิสระ LIBERO PLAYER) และสะอาด
4.3.2 รองเท้าต้องเบาและอ่อนนุ่ม พื้นเป็นยางหรือหนังไม่มี
ส้น สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและ
การแข่งขันอย่างเป็นทางการในรุ่นที่ไม่กำาจัดอายุสีรองเท้าต้องเป็นสี
เดียวกันทั้งทีม แต่เครื่องหมายการค้าอาจมีสีแตกต่างกันได้ เสื้อและ
กางเกงต้องเป็นไปตามมาตรฐานของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ
4.3.3 เสื้อผู้เล่นต้องมีเครื่องหมาย 1 – 18
4.3.3.1 ต้องติดเครื่องที่กลางอกและกลางหลังสีของ
เครื่องหมายเลขต้องตัดกับสีเสื้ออย่างชัดเจน
4.3.3.2 หมายเลขด้านหน้าต้องสูงอย่างน้อยที่สุด 15
เซนติเมตร ด้านหลังอย่างน้อยที่สุด 20 เซนติเมตร และความกว้างของ
แถบที่ทำาหมายเลข ต้องกว้างอย่างน้อยที่สุด 1 เซนติเมตร
4.3.4 หัวหน้าทีมต้องมีแถบยาว 8 เซนติเมตร กว้าง 2
เซนติเมตร ติดอยู่ใต้หมายเลขตรงอกเสื้อ
4.3.5 ห้ามใส่ชุดแข่งขันที่มีหมายเลขไม่ถูกต้อง หรือชุที่มีสี
แตกต่างจากผู้เล่นอื่น
4.4 การเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย (CHANGE OF EQUIPMENT)
ผู้ตัดสินคนที่ 1 มีอำานาจที่จะให้ผู้เล่น 1 คน หรือมากกว่า
4.4.1 ลงแข่งขันโดยไม่สวมรองเท้าก็ได้
4.4.2 เปลี่ยนชุดที่เปียกช่วงพักระหว่างเซต หรือหลังจาก
การเปลี่ยนตัวได้ โดยสี แบบ และหมายเลขของชุดใหม่ต้องเหมือนับชุด
เดิม
4.4.3 สวมชุดวอร์มลงแข่งขันได้ ถ้าอากาศหนาว ถ้าสีและ
แบบของชุควอร์มเหมือนกันทั้งทีม และหมายเลขต้องเป็นไปตามปกติ
4.5 สิ่งที่ห้ามสวมใส่ (FORBIDDEN OBJECTS)
4.5.1 ห้ามสวมใส่สิ่งของซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการบาด
เจ็บหรือช่วยให้ผู้เล่นได้เปรียบผู้อื่น
4.5.2 ผู้เล่นอาจสวมแว่นตาหรือคอนเทคเลนซ์ได้ โดยรับ
ผิดชอบอันตรายที่อาจเกิดขึ้นด้วยตัวเอง
กติกาข้อที่ 5 ผู้นำาของทีม (TEAM LEADER)
8
ทั้งหัวหน้าทีมหรือผู้ฝึกสอนเป็นผู้รับผิดชอบความประพฤติและ
ระเบียบวินัยของผู้ร่วมทีม
ตัวรับอิสระจะเป็นหัวหน้าทีมไม่ได้
5.1 หัวหน้าทีม (CAPTAIN)
5.1.1 ก่อนการแข่งขัน หัวหน้าทีมเป็นผู้ลงชื่อในใบบันทึก
การแข่งขันและเป็นผู้แทนของทีมในการเสี่ยง
5.1.2 ระหว่างการแข่งขันและขณะอยู่ในสนามแข่งขัน
หัวหน้าทีม (TEAM CAPTAIN) ผู้นำาในการแข่งขัน เมื่อหัวหน้าทีมไม่
ได้เล่นอยู่ในสนาม ผู้ฝึกสอนหรือหัวหน้าทีมต้องแต่งตั้งผู้เล่นคนหนึ่งที่
อยู่ในสนาม แต่ต้องไม่ใช่ตัวรับอิสระ ทำาหน้าที่หัวหน้าทีมในการ
แข่งขัน (GAME CAPTAIN) และต้องรับผิดชอบไปจนกว่าหัวหน้า
ทีม(TEAM CAPTAIN) จะเปลี่ยนตัวมาลงเล่นอีกหรือจนกว่าจะสิ้นสุด
เซตนั้นเมื่อลูกตาย หัวหน้าทีมในการแข่งขันเท่านั้นที่มีสิทธิเป็นผู้แทน
ของผู้เล่นทั้งหมดพูดกับผู้ตัดสิน เพื่อ
5.1.2.1 ขอคำาอธิบายในการตีความกติกาหรือนำากติกามา
ใช้และร้องขอหรือถามคำาถามของเพื่อนร่วมทีม ถ้าคำาอธิบายไม่เป็นที่
พอใจ หัวหน้าในการแข่งขันต้องประท้องการตัดสินนั้นและสงวนสิทธิ
บันทึกการประท้องอย่างเป็นทางการ ในใบบันทึกการแข่งขัน เมื่อการ
แข่งขันจบสิ้นลง
5.1.2.2 ขอสิทธิ
ก. เปลี่ยนชุดหรืออุปกรณ์การแข่งขันบางส่วนหรือ
ทั้งหมด
ข. ตรวจตำาแหน่งผู้เล่นของทีม
ค. ตรวจพื้นสนาม ตาข่าย และลูกบอล
5.1.2.3 ขอเวลานอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น
5.1.3 เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันหัวหน้าทีมต้อง
5.1.3.1 แสดงความขอบคุณผู้ตัดสินและลงชื่อในใบ
บันทึกการแข่งขันการประท้องอย่างเป็นทางการต่อผู้ตัดสิน เกี่ยวกับ
การนำากติกาใช้หรือตีความกติกาลงในใบบันทึกการแข่งขัน
5.2 ผู้ฝึกสอน (COACH)
5.2.1 ตลอดการแข่งขัน ผู้ฝึกสอนเป็นผู้ควบคุมการเล่นของ
ทีมภายในสนามแข่งขัน เป็นผู้เลือกผู้เล่น 6 คนแรก เปลี่ยนตัวผู้เล่นและ
ขอเวลานอก ผู้ฝึกสอนทำาหน้าที่ดังกล่าวได้โดยขอผ่านทางผู้ตัดสินที่ 2
5.2.2 ก่อนการแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้องบันทึกหรือตรวจสอบ
รายชื่อและหมายเลขของผู้เล่นในใบบันทึกการแข่งขัน
5.2.3 ระหว่างการแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้อง
9
5.2.3.1 ยืนใบส่งตำาแหน่งของผู้เล่นที่ลงชื่อแล้ว ให้ผู้
ตัดสินหรือผู้บันทึกก่อนการแข่งขันทุกเซต
5.2.3.2 นั่งม้านั่งของทีมซึ่งใกล้กับผู้บันทึกมากที่สุด
แต่อาจลูกจากม้านั่งได้เป็นครั้งคราว
5.2.3.3 ขอเวลานอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น
5.2.3.4 ผู้ฝึกสอนรวมทั้งผู้ร่วมทีมอื่น ๆ อาจให้คำา
แนะนำาผู้เล่นในสนามได้ โดยผู้ฝึกสอนอาจให้คำาแนะนำาผู้เล่นในสนาม
ได้โดยผู้ฝึกสอนอาจให้คำาแนะนำาขณะที่ยืนหรือเดินภายในเขตเล่นลูก
(FREE ZONE) ด้านหน้าของม้านั่งผู้เล่นสำารองตั้งแต่แนวที่ยื่นออกมา
ของเส้นรุกจนถึงพื้นที่อบอุ่นร่างกายแต่ต้องไม่รบกวนหรือถ่วงเวลาการ
แข่งขัน
5.3 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน (ASSISTANT COACH)
5.3.1 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนนั่งบนม้านั่งของทีม แต่ไม่มีสิทธิใด ๆ
ที่จะหยุดการแข่งขัน
5.3.2 ถ้าผู้ฝึกสอนไม่อยู่ ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนอาจทำาหน้าที่ผู้ฝึกสอนแทนได้
โดยการขออนุญาตของหัวหน้าทีมในขณะแข่งขัน (GAME CAPTAIN)
และได้รับการยินยอมจากผู้ตัดสินที่ 1
บทที่ 3
รูปแบบของการแข่งขัน
(PLAYING FORMAT)
กติกาข้อที่ 6 การได้คะแนน การชนะในแต่ละเซต และการ
ชนะแต่ละนัด
(TO SCORE A POINT,TOWIN A SET AND THE MATCH)
6.1 การได้คะแนน (TO SCORE A POINT)
6.1.1 คะแนน ทีมได้คะแนนเมื่อ
6.1.1.1 ทำาให้ลูกบอลตกลงบนพื้นสนามในแดนของ
ทีมตรงข้าม
6.1.1.2 ทีมตรงข้ามทำาผิดกติกา
6.1.1.3 ทีมตรงข้ามถูกลงโทษ
10
6.1.2 การทำาผิดกติกา ทีมทำาผิดกติกาเมื่อลักษณะของการ
เล่นตรงข้ามกับกติกาการแข่งขัน
(หรือขัดแย้งกับกติกาโดยวิธีอื่นใด) ผู้ตัดสินจะตัดสินการการกระทำาผิด
และตัดสินใจดำาเนินการตามกติกา ดังนี้
6.1.2.1 ถ้ามีการเล่นผิดกติกาสองอย่างหรือมากกว่า
เกิดขึ้นต่อเนื่องกัน จะลงโทษเฉพาะการผิดกติกาที่เกิดขึ้นก่อนเท่านั้น
6.1.2.2 ถ้าทั้งสองทีมเล่นผิดกติกาสองอย่างหรือ
มากกว่าพร้อม ๆ กันทั้งสองทีม จะถือว่าเป็นการกระทำาผิดทั้งคู่ และจะ
เล่นลูกนั้นใหม่
6.1.3 ผลที่ตามมาเมื่อชนะการเล่นลูก การเล่นลูกเป็น
ลักษณะการเล่นที่เริ่มต้นตั้งแต่ผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟ จนกระทั้งลูกตาย
6.1.3.1 ถ้าทีมที่เป็นฝ่ายเสิร์ฟชนะการเล่นลูกจะได้คะแนนและได้เสิร์ฟ
ต่อ
6.1.3.2 ถ้าทีมที่เป็นฝ่ายรับลูกเสิร์ฟชนะการเล่นลูกจะได้คะแนนและได้
เสิร์ฟในครั้งต่อไป
6.2 การชนะในแต่ละเซต (TO WIN A SET)
ทีมที่ทำาได้ 25 คะแนนก่อน (ยกเว้นเซตตัดสิน) และมีคะแนนนำา
ทีมตรงข้ามอย่างน้อยที่สุก 2 คะแนน จะเป็นทีมชนะการแข่งขันเซตนั้น
ถ้าทำาได้ 24 คะแนนเท่ากัน จะแข่งขันกันต่อไปจนกว่าทีมใดทีมหนึ่ง
อย่างน้อยที่สุด 2 คะแนน
6.3 การชนะการแข่งขันแต่ละนัด (TO WIN THE MATCH)
6.3.1 ทีมที่ทำาได้ 3 เซต เป็นทีมที่ชนะการแข่งขันนัดนั้น
6.3.2 ในกรณีที่ได้เซตเท่ากัน 2 : 2 การแข่งขันเซตตัดสิน
(เซตที่ 5) จะแข่งขันกัน 15 คะแนน และต้องมีคะแนนนำาอีกทีมหนึ่ง
อย่างน้อย 2 คะแนน
6.4 ทีมที่ผิดระเบียบการแข่งขันและไม่พร้อมจะแข่งขัน
(DEFAULT AND INCOMPLETE TEAM)
6.4.1 ถ้าทีมปฏิเสธที่จะแข่งขัน หลังจากได้รับแจ้งให้
แข่งขันต่อ ทีมนั้นจะถูกแจ้งว่าทำาผิดระเบียบการแข่งขัน และปรับเป็น
แพ้ในการแข่งขันนัดนั้น ด้วยผลการแข่งขัน 0 – 3 เซต คะแนน 0 –
25 ในแต่ละเซต
6.4.2 ทีมที่ไม่ปรากฏตัว ณ สนามแข่งขันตามเวลาที่
กำาหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ถือว่าผิดระเบียบการแข่งขันและมีผล
การแข่งขันเช่นเดียวกับกติกาข้อ 6.4.1
6.4.3 ทีมที่ถูกแจ้งว่าไม่พร้อมในการแข่งขันนัดใดนัดหนึ่ง
หรือการแข่งขันเซตใดเซตหนึ่ง จะแพ้ในเซตนั้นหรือการแข่งขันนัดนั้น
11
ทีมตรงข้ามจะได้คะแนนและเซตเพื่อเป็นทีมชนะในเซตหรือการแข่งขัน
นัดนั้น ส่วนทีมที่ไม่พร้อมจะแข่งขันจะยังคงได้คะแนนและเซตที่ทำาไว้
กติกาข้อที่ 7 โครงสร้างของการแข่งขัน (STRUCTURE OF
PLAY)
7.1 การเสี่ยง (TOSS)
ก่อนการแข่งขัน ผู้ตัดสินที่ 1 จะทำาการเสี่ยงเพื่อตัดสินว่าทีมใดจะ
ทำาการเสิร์ฟก่อนหรืออยู่แดนใด ในเซตที่ 1 ถ้าต้องการแข่งขันเซต
ตัดสินจะต้องทำาการเสี่ยงใหม่อีกครั้งหนึ่ง
7.1.1 การเสี่ยงต้องทำาโดยมีหัวหน้าทีมทั้งสองทีมร่วมอยู่
ด้วย
7.1.2 ผู้ชนะการเสี่ยงจะสิทธิเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
7.1.2.1 เลือกเสิร์ฟหรือรับลูกเสิร์ฟ
7.1.2.2 เลือกแดนใดแดนหนึ่งของสนามก็ได้ ผู้แพ้
การเสี่ยงจะได้รับส่วนที่เหลือ
7.1.3 ในกรณีที่ทำาการอบอุ่นร่างกายมาพร้อมกัน ทีม
ที่ทำากาเสิร์ฟก่อนจะทำาการอบอุ่นร่างกายที่ตาข่ายก่อน
7.2 การอบอุ่นร่างกาย (WARM-UP SESSION)
7.2.1 ก่อนการแข่งขัน ถ้าทีมมีสนามอบอุ่นร่างกายที่จัดไว้
ให้แล้ว แต่ละทีมจะทำาการอบอุ่นร่างกายที่ตาข่ายได้ทีมละ 5 นาที
7.2.2 ถ้าหัวหน้าทีมทั้งสองตกลงทำาการอบอุ่นร่างกายที่
ตาข่ายพร้อมกันจะอบอุ่นร่างกายได้ 6 นาที หรือ 10 นาที
7.3 ตำาแหน่งการเริ่มต้นของทีม (TEAM STARTING LINE-UP)
7.3.1 ทีมต้อมีผู้เล่น 6 คนเสมอ ในการแข่งขันตำาแหน่งเริ่ม
ต้นของทีม แสดงถึงลำาดับการหมุนตำาแหน่งของผู้เล่นในสนามลำาดับนี้
ตะคงอยู่ตลอดเวลานั้น
7.3.2 ก่อนการเริ่มแข่งขันแต่ละเซตผู้ฝึกสอนต้องแจ้ง
ตำาแหน่งเริ่มต้นเล่นทีมของตนเองในใบส่งตำาแหน่ง ซึ่งเขียนหมายเลข
ของผู้เล่นและลงชื่อกำากับแล้ว ส่งให้ผู้ตัดสินที่ 2 หรือผู้บันทึกการ
แข่งขัน
7.3.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในตำาแหน่งเริ่มต้นเล่นของทีม จะเป็น
ผู้เล่นสำารองในเซตนั้น
7.3.4 เมื่อใบส่งตำาแหน่งเริ่มต้นเล่น ถูกนำาส่งให้ผู้ตัดสินที่ 2
12
หรือผู้บันทึกการแข่งขันแล้ว จะไม่อนุญาตให้มีการเปลี่ยนแปลงใบส่ง
ตำาแหน่งอีก นอกจากต้องการทำาการเปลี่ยนตัวผู้เล่นตามปกติ
7.3.5 ถ้าพบว่ามีการผิดพลาดระหว่างใบส่งตำาแหน่งกับ
ตำาแหน่งของผู้เล่นในสนาม
7.3.5.1 ถ้าพบว่ามีการผิดพลาดก่อนเริ่มการแข่งขัน
ของเซต ผู้เล่นต้องเปลี่ยนตำาแหน่งให้เป็นไปตามใบส่งตำาแหน่งโดยไม่มี
การลงโทษ
7.3.5.2 อย่างไรก็ตามถ้าผู้ฝึกสอนต้องการให้ผู้เล่น
เปลี่ยนที่ไม่ได้ระบุไว้ในใบส่งตำาแหน่ง ยังคงอยู่ในสนาม ผู้ฝึกสอนต้อง
ของเปลี่ยนตัวตามปกติและต้องบันทึกลงในใบบันทึกการแข่งขัน
7.4 ตำาแหน่ง (POSITIONS)
ขณะที่ผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟลูกบอล แต่ละทีมต้องอยู่ในแดนของ
ตนเองตามลำาดับการหมุนตำาแหน่ง
7.4.1 ตำาแหน่งของผู้เล่นจำาแนกได้ดังนี้
7.4.1.1 ผู้เล่นแถวหน้า 3 คน ที่อยู่ใกล้ตาข่ายเป็นผู้เล่น
แถวหน้าอยู่ในตำาแหน่งที่ 4 ตำาแหน่งที่ 3 และตำาแหน่งที่ 2
7.4.1.2 ส่วนอีก 3 คน เป็นผู้เล่นแถวหลังอยู่ในตำาแหน่งที่
5 ตำาแหน่งที่ 6 ตำาแหน่งที่ 1 ตำาแหน่งของผู้เล่นจะถือตำาแหน่งของเท้า
ที่แตะพื้น เป็นเครื่องหมายกำาหนด
ตำาแหน่งและหน้าที่ของผู้เล่น
หมายเลข ๑ ตำาแหน่ง หลังขวา มีหน้าที่เสิร์ฟและรับลูกบอล
ป้อนไปยังแดนหน้า
หมายเลข ๒ ตำาแหน่ง หน้าขวา มีหน้าที่สกัดกั้น เล่นลูกบอล
หน้าตาข่าย
13
หมายเลข ๓ ตำาแหน่ง หน้ากลาง มีหน้าที่สกัดกั้น เล่น
ลูกบอลหน้าตาข่าย
หมายเลข ๔ ตำาแหน่ง หน้าซ้าย มีหน้าที่สกัดกั้น เล่นลูกบอล
หน้าตาข่าย
หมายเลข ๕ ตำาแหน่ง หลังซ้าย มีหน้าที่รับและป้อนลูกบอล
ไปยังแดนหน้า
หมายเลข ๖ ตำาแหน่ง กลางหลัง มีหน้าที่รับและป้อนลูกบอล
ไปยังแดนหน้า
7.4.2 ความเกี่ยวข้องของตำาแหน่งระหว่างผู้เล่น
7.4.2.1 ผู้เล่นแถวหลังแต่ละคนต้องมีตำาแหน่งอยู่ด้าน
หลังทั้งคู่ของตนเองที่เป็นผู้เล่นแถวหน้า
7.4.2.2 ผู้เล่นแถวหน้าและแถวหลังแต่ละคู่ต้องอยู่ใน
ตำาแหน่งข้างเดียวกันตามลำาดับการหมุนตำาแหน่งที่ระบุไว้ในกติกาข้อ
7.4.1
7.4.3 ตำาแหน่งของผู้เล่นจะพิจารณาและควบคุมจาก
ตำาแหน่งของเท้าที่สัมผัสพื้น ดังนี้
7.4.3.1 ผู้เล่นแถวหน้าแต่ละคนต้องมีส่วนหนึ่ง
ส่วนใดของรองเท้าอยู่ใกล้เส้นแบ่งแดนมากกว่าเท้าของผู้เล่นแดนตน
7.4.3.2 ผู้เล่นที่อยู่ทางขวา (หรือทางซ้าย) ต้อง
มีส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าใกล้กับเส้นทางขวา (หรือซ้าย) มากกว่าผู้เล่น
ที่อยู่ตำาแหน่งกลางของแถวเดียวกัน
7.4.4 เมื่อทำาการเสิร์ฟลูกบอลออกไปแล้ว ผู้เล่นสามารถ
เคลื่อนที่ไปอยู่ตำาแหน่งใดก็ได้ในแดนและเขตรอบสนามตน
7.5 การผิดตำาแหน่ง (POSITIONAL FAULT)
7.5.1 ทีมจะผิดตำาแหน่ง ถ้าผู้เล่นคนใดคนหนึ่งไม่อยู่ไม่อยู่
ในตำาแหน่งที่ถูกต้อง ขณะที่ผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟลูกบอล
7.5.2 ถ้าผู้เสิร์ฟเสิร์ฟผิดกติกาขณะที่ทำาการเสิร์ฟ จะถือว่า
การเสิร์ฟผิดปกติเกิดขึ้นก่อนการผิดตำาแหน่งของทีมตรงข้าม
7.5.3 ถ้าการเสิร์ฟผิดกติกาหลังจากทำาการเสิร์ฟออกไป
แล้ว จะถือว่าการผิดตำาแหน่งเกิดขึ้นก่อน
7.5.4 การทำาผิดตำาแหน่งจะมีผลตามมาดังนี้
7.5.4.1 เป็นฝ่ายแพ้ในการเล่นลูกครั้งนั้น
7.5.4.2 เปลี่ยนตำาแหน่งของผู้เล่นให้ถูกต้อง
7.6 การหมุนตำาแหน่ง (ROTATION)
7.6.1 ลำาดับการหมุนตำาแหน่งจะเป็นไปตามใบส่งตำาแหน่ง
เริ่มต้นของทีมและควบคุมด้วยลำาดับการเสิร์ฟและตำาแหน่งของผู้เล่น
ตลอดทั้งเซต
14
7.6.2 เมื่อทีมที่รับลูกเสิร์ฟได้สิทธ์ในการทำาเสิร์ฟ ผู้เล่นต้อง
หมุนต้องหมุนไปตามเข็มนาฬิกาไป 1 ตำาแหน่ง
ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๒ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๑ เพื่อทำาการ
เสิร์ฟ
ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๑ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๖
ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๖ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๕
ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๕ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๔
ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๔ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๓
ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๓ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๒
การหมุนตำาแหน่งผู้เล่น
๑. การหมุนตำาแหน่งจะกระทำาเมื่อมีการเปลี่ยนเสิร์ฟโดยหมุน
ไป ๑ ตำาแหน่ง
๒. การหมุนตำาแหน่งต้องหมุนไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
๓. ลำาดับการหมุนตำาแหน่งที่บันทึกไว้ในบันทึกในแต่ละเซท
จะต้องคงที่ตลอดไป ทั้งเซท นั้น
๔. ลำาดับการหมุนตำาแหน่งในเซทใหม่แต่ละเซท อาจจะ
เปลี่ยนเป็นผู้เล่นคนอื่นก็ได้ที่มี ชื่อ อยู่ในบันทึก
7.7 การหมุนตำาแหน่งผิด (ROTATIONAL FAULT)
7.7.1 การหมุนตำาแหน่งผิดเกิดขึ้นเมื่อ การเสิร์ฟไม่เป็นไป
ตามตำาแหน่งการหมุนตำาแหน่ง และมีผลตามมาดังนี้
7.7.1.1 เป็นฝ่ายแพ้ในเล่นลูกครั้งนั้น
7.7.1.2 ต้องเปลี่ยนตำาแหน่งของผู้เล่นให้ถูกต้อง
7.7.2 นอกจากนั้น ผู้บันทึกต้องตัดสินใจหยุดการแข่งขัน
ทันทีที่มีการผิดตำาแหน่ง และยกเลิกคะแนนที่ได้ทำาทั้งหมดขณะที่ผิด
ตำาแหน่งส่วนคะแนนของที่ทำาได้ทั้งหมดขณะผิดตำาแหน่งส่วนคะแนน
15
ของทีมตรงข้ามให้คงไว้คงเดิมถ้าคะแนนขณะผิดตำาแหน่งไม่สามารถ
ตรวจพบได้ให้ลงทาเพียงเป็นฝ่ายแพ้ในการเล่นลูกครั้งนั้นเท่านั้น
กติกาข้อที่ 8 การเปลี่ยนตัว (SUBSTITUTION OF PLAYERS)
การเปลี่ยนตัว คือ การที่ผู้เล่นคนหนึ่งออกจากสนาม และผู้เล่นอีก
คนหนึ่งข้าไปแทนในตำาแหน่งนั้น หลังจากผู้บันทึกได้บันทึกการเปลี่ยน
ตัว (ยกเว้นตัวบันทึกอิสระ) การเปลี่ยนตัวต้องได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน
8.1 ข้อจำากัดขอกการเปลี่ยนตัว (LIMIYION OF
SUBSTITUTION)
8.1.1 ทีมหนึ่งจะเปลี่ยนตัวได้มากที่สุด 6 คนต่อเซต การ
เปลี่ยนตัวแต่ละครั้งจะเปลี่ยนเพียง 1 คน หรือมากกว่าก็ได้
8.1.2 ผู้เล่นที่เริ่มต้นเล่นในเซตนั้นจะเปลี่ยนตัวออกได้หนึ่ง
ครั้งและกลับมาเข้าไปเล่นได้อีกหนึ่งครั้ง ในตำาแหน่งเดิม ตามใบส่ง
ตำาแหน่ง
8.1.3 ผู้เล่นสำารองจะเปลี่ยนเข้าแทนผู้เล่นที่เริ่มต้นเล่นใน
เซตนั้นได้เพียงครั้งเดียวในแต่ละเซต และผู้ที่จะเปลี่ยนตัวเข้ามาแทนผู้
เล่นสำารองต้องเป็นผู้เล่นคนเดิมเท่านั้น
8.2 การเปลี่ยนตัวที่ได้รับการยกเว้น (EXCEPTIONAL
SUBSTITUTION)
ผู้เล่นที่ได้รับบาดเจ็บ (ยกเว้นผู้รับอิสระ) จนแข่งขันต่อไปไม่ได้
จะเปลี่ยนตัวตามกติกา ถ้าเปลี่ยนตัวตามกติกาไม่ได้ ทีมนั้นจะได้รับการ
ยกเว้นให้เปลี่ยนได้ นอกเหนือจากกติกาที่กำาหนดไว้ใน การเปลี่ยนตัวที่
ได้รับยกเว้นจะไม่นับรวม กับการเปลี่ยนตัวตามปกติ ไม่ว่ากรณีใด
8.3 การเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่ถูกทำาโทษออกจากการแข่งขันหรือขาด
คุณสมบัติที่จะแข่งขันหรือ
ขาดคุณสมบัติที่จะแข่งขัน (SUBSTITUTION FOR EXPULSION OR
DISQUALIFICATION)
ผู้เล่นที่ถูกทำาโทษให้ออกจากการแข่งขันหรือขาดคุณสมบัติที่จะแข่งขัน
ต้องทำาการเปลี่ยนตัวตามกติกา
ถ้าทำาการเปลี่ยนตัวตามกติกาไม่ได้ จะถือว่าทีมนั้นเป็นทีมที่ไม่พร้อมจะ
แข่งขัน
8.4 การเปลี่ยนตัวที่ผิดกติกา (ILLEGAL SUBSTITUTION)
16
8.4.1 การเปลี่ยนตัวจะผิดกติกา ถ้านอกเหนือจากข้อจำากัด
ที่กำาหนดไว้ในกติกาข้อ 8.1
8.4.2 เมื่อทีมทำาการเปลี่ยนตัวผิดกติกา และการแข่งขันได้
เล่นต่อไปแล้วจะต้องดำาเนินการดังนี้ (กติกาข้อ 9.1)
8.4.2.1 ทีมถูกลงโทษให้เป็นฝ่ายแพ้ในการเล่นลูก
ครั้งนั้น
8.4.2.2 แก้ไขการเปลี่ยนตัวให้ถูกต้อง
8.4.2.3 คะแนนที่ทำาได้ตั้งแต่ทำาผิดกติกาของทีมนั้น
จะถูกตัดออก ส่วนคะแนนของทีมตรงข้ามยังคงไว้ตามเดิม
บทที่ 4
ลักษณะการแข่งขัน
(PLAYING ACTION)
กติกาข้อที่ 9 รูปแบบต่างๆของการเล่น (STATES OF PLAY)
9.1 ลูกบอลที่อยู่ในการเล่น (BALL IN PLAY)
ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นตั้งแต่ขณะที่ทำาการเสิร์ฟ โดยผู้ตัดสินที่ 1
เป็นผู้อนุญาต (กติกาข้อ 13.3)
9.2 ลูกบอลที่ไม่ได้อยู่ในการเล่น หรือลูกตาย (BALL OUT OF
PLAY)
ลูกบอลที่ไม่ได้อยู่ในการเล่น ตั้งแต่ขณะที่มีการทำาผิดกติกาซึ่งผู้
ตัดสินคนใดคนหนึ่งจะเป็นผู้ให้สัญญาณนกหวีด การทำาผิดกติกาสิ้นสุด
ลงพร้อมๆกับสัญญาณนกหวีด
9.3 ลูกบอลอยู่ในสนาม (BALL IN)
ลูกบอลอยู่ในสนาม เมื่อลูกบอลถูกพื้นสนามแข่งขันรวมทั้งเส้นเขต
สนาม (กติกาข้อ 1.1, 1.3.2)
9.4 ลูกบอลออกนอกสนาม (BALL OUT)
ลูกบอลออกนอกสนามเมื่อ
9.4.1 บางส่วนของลูกบอลตกลงบนพื้น นอกเส้นเขตสนาม
อย่างสมบูรณ์
9.4.2 ลูกบอลถูกสิ่งของที่อยู่ภายนอกสนาม เพดาน หรือผู้ที่
ไม่ได้แข่งขันด้วย
9.4.3 ลูกบอลถูกเสาอากาศ เชือก เสา หรือตาข่ายที่อยู่นอก
แถบข้าง (กติกาข้อ 2.3)
9.4.4 ลูกบอลข้ามตาข่าย นอกเขตแนวตั้งที่กำาหนดให้
17
ลูกบอลผ่านอย่างสมบูรณ์หรือเพียงบางส่วน (ยกเว้นกรณีกติกาข้อ
11.1.2, 11.1.1)
9.4.5 ลูกบอลลอดใต้ตาข่ายไปยังแดนของทีมตรงข้าม
อย่างสมบูรณ์
กติกาข้อที่ 10 การเล่นลูกบอล (PLAYING THE BALL)
แต่ละทีมต้องเล่นลูกบอลภายในพื้นที่เล่นลูกและที่ว่างของทีม
ตนเอง (ยกเว้นกติกาข้อ 11.1.2) อย่างไรก็ตามผู้เล่นสามารถนำาบอลที่
ออกไปนอกเขตรอบสนามกลับมาเล่นต่อได้
10.1 การถูกลูกบอลของทีม (TEAM HITS)
ทีมถูกลูกบอลได้มากที่สุด 3 ครั้ง (นอกจากทำาการสกัดกั้นตาม
กติกาข้อ 15.4.1) เพื่อส่งลูกบอลกลับไปยังทีมตรงข้าม ถ้าถูกลูกบอล
มากกว่านี้ ถือว่าทีมทำาผิดกติกา “ถูกลูก 4 ครั้ง” การถูกลูกบอลของทีม
นับรวมทั้งที่ผู้เล่นตั้งใจถูกหรือไม่ตั้งใจถูกก็ตาม
10.1.1 การถูกลูกบอลอย่างต่อเนื่อง (CONSECUTIVE
CONTACTS) ผู้เล่นจะถูกลูกบอล 2
ครั้งติดต่อกันไม่ได้ (ยกเว้นกติกาข้อ 10.2.3, 15.2, 15.4.2)
10.1.2 การถูกลูกบอลพร้อมกัน (SIMULTENEOUS
CONTACTS) ผู้เล่น 2 คนหรือ 3 คน
อาจถูกลูกบอลพร้อมๆกันได้ในเวลาเดียวกัน
10.1.2.1 เมื่อผู้เล่นทีมเดียวกัน 2 คน (3 คน) ถูก
บอลพร้อมๆกัน จะถือว่าเป็นการถูกบอล 2 ครั้ง (3 ครั้ง) ยกเว้นเมื่อ
ทำาการสกัดกั้น ถ้าผู้เล่นหลายคนถึงลูกบอลพร้อมกัน แต่มีผู้เล่นถูก
ลูกบอลเพียงคนเดียว จะถือว่าถูกลูกบอล 1 ครั้ง ถึงแม้ว่าผู้เล่นชนกันก็
ไม่ถือว่าผิดกติกา
10.1.2.2 เมื่อทั้งสองทีมถูกลูกบอลพร้อมๆกันเหนือ
ตาข่าย และยังเล่นลูกบอลนั้นต่อไปได้ ทีมรับที่รับลูกนั้นสามารถถูก
ลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง ถ้าลูกบอลออกนอกสนาม จะถือว่าทีมที่อยู่ฝั่งตรง
ข้ามกับลูกบอลเป็นฝ่ายทำาลูกบอลออกนอกสนาม
10.1.2.3 ถ้าการถูกลูกบอลพร้อม ๆ กันทั้งสองทีม
เป็นการจับลูก (CATCH) จะถือว่าผิดกติกาทั้งสองทีม และต้องเล่นลูก
นั้นใหม่
10.1.3 การเล่นลุกบอลโดยมีกาช่วยเหลือ (ASSISTED
HIT) ภายในบริเวณพื้นที่เล่น ไม่อนุญาตให้ผู้เล่นอาศัยเพื่อนร่วมทีม
18
หรือสิ่งใด ๆ ช่วยให้ไปถึงลูกบอลได้ อย่างไรก็ตาม ผู้เล่นที่กำาลังจะทำา
ผิดกติกา(โดยกำาลังจะถูกตาข่ายหรือเส้นขั้นเขตแดน) อาจถูกฉุดหรือดึง
โดยเพื่อนร่วมทีมได้)
10.2 การถูกลูกบอลในลักษณะต่าง ๆ (CHARACTERISTICS
OF THE HIT)
10.2.1 ลูกบอลอาจถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายได้
10.2.2 การถูกลูกบอลต้องเป็นการกระทบ ไม่ใช่จับหรือ
โยน ลูกบอลจะสะท้อนกลับในทิศทางใดก็ได้
10.2.3 ลูกบอลอาจถูกหลายส่วนของร่างกายได้ ถ้าการถูก
นั้นเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน
10.2.3.1 ในการสกกัดกั้น ลูกบอลอาจถูกผู้สกัดกั้น
คนเดียวหรือมากกว่าติดต่อกันได้ ถ้าการถูกลูกบอลเป็นลักษณะการเล่น
ลูกบอลเพียงครั้งเดียว
10.2.3.2 การถูกลูกบอลครั้งแรกของทีม ลูกบอลอาจ
ถูกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต่อเนื่องกันได้ ถ้าการถูกลูกบอลเป็นลักษณะ
การเล่นลูกครั้งเดียว
10.3 การทำาผิดกติกาในการเล่นลูกบอล (FAULT IN PLATING
THR BALL)
10.3.1 การถูกลูกบอล 4 ครั้ง ทีมถูกลูกบอล 4 ครั้งก่อนส่ง
ลูกบอลไปยังทีมตรงข้าม
10.3.2 การถูกลูกบอลโดยมีการช่วยเหลือ ผู้เล่นอาศัย
เพื่อนร่วมทีมหรือสิ่งของใด ๆ ช่วยให้
เข้าถึงลูกบอลภายในบริเวณพื้นที่เล่นลูก
10.3.3 การจับลูกบอล ผู้เล่นไม่ได้กระทบลูกแต่จับและ /
หรือโยนลูกบอล
10.3.4 การถูกลูกบอลติดต่อกัน 2 ครั้ง ผู้เล่นถูกลูกบอล 2
ครั้ง หรือถูกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการเล่นลูก 1 ครั้ง
กติกาข้อที่ 11 ลูกบอลที่บริเวณตาข่าย (BALL AT THE
NET)
11.1 การข้ามตาข่ายของลูกบอล (BALL CROSSING THE
NET)
11.1.1 ลูกบอลที่ส่งไปยังทีมตรงข้าม ต้องข้ามเหนือตาข่าย
ภายในพื้นที่สำาหรับข้ามตาข่าย
19
พื้นที่สำาหรับข้ามตาข่ายคือ พื้นที่ในแนวตั้งของตาข่ายที่ถูกกำาหนดด้วย
สิ่งต่อไปนี้
11.1.1.1 ส่วนตำ่าสุด โดยขอบบนของตาข่าย
11.1.1.2 ด้านข้าง โดยมีเสาอากาศและแนวสมมุติที่
สูงขึ้นไป
11.1.1.3 ส่วนบนสุด โดยเพดาน
11.1.2 ลูกบอลที่ข้ามแนวตาข่ายไปยังเขตรอบสนามของ
ทีมตรงข้ามโดยทุกส่วนของลูกบอล หรือเพียงบางส่วนของลูกบอลอยู่
นอกแนวข้ามตาข่าย ลูกบอลอาจกลับมาเล่นต่อได้โดยเล่นลูกไม่เกิน 3
ครั้ง ถ้า
11.1.2.1 ผู้เล่นไม่ถูกแดนของทีมตรงข้าม
11.1.2.2 ลูกบอลที่เล่นกันมา ข้ามนอกเขตข้าม
ตาข่ายลูกบอล ทางด้านเดียวกันของสนามทั้งลูกหรือเพียงบางส่วนของ
ลูก ทีมตรงข้ามจะกีดขวางการเล่นลูกนี้ไม่ได้
11.2 การถูกตาข่ายของลูกบอล (BALL TOUCHING THE
NET)
ลูกบอลอาจถูกตาข่ายได้ขณะที่กำาลังข้ามตาข่าย
11.3 ลูกบอลที่ชนตาข่าย (BALL IN THE NET)
11.3.1 ลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายยังเล่นต่อไปได้จนครบ 3
ครั้ง ตามกำาหนดการเล่นลูก
11.3.2 ถ้าลูกบอลทำาให้ลูกบอลทำาให้ตาข่ายฉีกขาด หรือ
ทำาให้ตาข่ายหลุดให้ยกเลิกการเล่นลูกครั้งนั้นและนำามาเล่นกันใหม่
กติกาข้อที่ 12 ผู้เล่นบริเวณตาข่าย (PLAYER AT THE NET)
12.1 การลำ้าเหนือตาข่าย (REACHING BEYOND THE NET)
12.1.1 ในการสกัดกั้น ผู้สกัดกั้นอาจลำ้าตาข่ายเข้าไปถูก
ลูกบอลได้ถ้าไม่กีดขวางการเล่นลูกของทีมตรงกันข้าม คือไม่ถูกลูกก่อน
หรือไม่ถูกลูกขณะที่ทีมตรงกันข้ามทำาการรุก
12.1.2 ภายหลังการตบลูกบอล มือของผู้เล่นอาจลำ้าตาข่าย
ได้ ถ้าขณะถูกลูกเป็นการถูกลูกบอลในแดนของทีมของตนเอง
12.2 การลำ้าใต้ตาข่าย (PENETRATION UNDER THE NET)
12.2.1 อนุญาตให้ลำ้าเข้าไปในแดนของทีมตรงข้ามใต้
ตาข่ายได้ ถ้าไม่ขัดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม
12.2.2 การลำ้าเส้นแบ่งแดนเข้าไปในแดนของทีมตรงข้าม
20
12.2.2.1 อนุญาตให้เท้าหรือมือข้างเดียว (2 ข้าง)
ถูกแดนของทีมตรงข้ามได้ ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าหรือมือยังคงแตะ
หรืออยู่เหนือเส้นแบ่งแดน
12.2.2.2 ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายจะถูกแดนของทีม
ตรงข้ามไม่ได้
12.2.3 ผู้เล่นอาจเข้าไปในแดนของทีมตรงข้ามได้หลังจาก
ลูกตายแล้ว
12.2.4 ผู้เล่นอาจลำ้าเข้าไปในเขตรอบสนามของทีมตรงกัน
ข้ามได้ ถ้าไม่กีดขวางการเล่นของทีมตรงกันข้าม
12.3 การถูกตาข่าย (CONTACT WITH THE NET)
12.3.1 การถูกตาข่ายหรือเสาอากาศไม่ผิดกติกา เว้นแต่
เมื่ออยู่ในลักษณะเล่นลูกหรือกีดขวางการเล่น การเล่นลูกบางลักษณะ
อาจรวมถึงลักษณะที่ผู้เล่นไม่ได้ถูกลูกบอลในขณะนั้นด้วย
12.3.2 เมื่อผู้เล่นได้เล่นลูกบอลไปแล้ว ผู้เล่นอาจถูกเสา
เชือก หรือสิ่งใด ๆ ที่อยู่นอกระยะความยาวของตาข่ายได้ ถ้าไม่
กีดขวางการเล่น
12.3.3 ถ้าลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายทำาให้ตาข่ายไปถูกผู้เล่น
ทีมตรงข้ามไม่ถือว่าผิดกติกา
12.4 การผิดกติกาของผู้เล่นที่ตาข่าย (PLAYERS’ FAULTS AT
THE NET)
12.4.1 ผู้เล่นถูกลูกบอลหรือถูกผู้เล่นทีมตรงข้าม ในแดน
ของทีมตรงกันข้าม หรือระหว่างที่ทีมตรงกันข้ามทำาการรุก
12.4.2 ผู้เล่นลำ้าเข้าไปในที่ว่างใต้ตาข่ายของทีมตรงข้าม
และกีดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม
12.4.3 ผู้เล่นลำ้าเข้าไปในแดนของทีมตรงข้าม
12.4.4 ผู้เล่นถูกตาข่าย หรือเสาอากาศขณะอยู่ในลักษณะ
ของการเล่นลูก หรือกีดขวางการเล่น
กติกาข้อที่ 13 การเสิร์ฟ (SERVICE)
การเสิร์ฟ เป็นการนำาลูกเข้าสู่การเล่น โดยผู้เล่นตำาแหน่งหลังขวา
ที่ยืนอยู่ในเขตเสิร์ฟ
13.1 การเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซต (FIRST SERVICE IN A
SET)
21
13.1.1 ทีมใดจะได้เสิร์ฟลูกแรกในเซตที่ 1 และเซตตัดสิน
(เซต 5) มีผลมาจากการตัดสินใจของทีมเมื่อทำาการเสี่ยง
13.1.2 ในเซตอื่น ๆทีมที่ไม่ได้เสิร์ฟลูกแรกในเซตที่ผ่านมา
จะเป็นทีมที่ทำาการเสิร์ฟลูกแรก
13.2 ลำาดับการเสิร์ฟ (SERVICE ORDER)
13.2.1 ลำาดับการเสิร์ฟของผู้เล่นต้องเป็นไปตามที่
บันทึกไว้ในใบส่งตำาแหน่ง
13.2.2 หลังจากากรเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซตผู้เล่น
ที่เสิร์ฟครั้งต่อไปจะเป็นดังนี้
13.2.2.1 เมื่อฝ่ายเสิร์ฟชนะการเล่นลูกนั้น ผู้
ที่ทำาการเสิร์ฟอยู่แล้ว (หรือผู้เล่นสำารองเปลี่ยนตัวเข้ามาแทน) จะทำาการ
เสิร์ฟต่อไปอีก
13.2.2.2 เมื่อฝ่ายรับลูกเสิร์ฟชนะในการเล่นลูก
นั้นจะได้สิทธ์ทำาการเสิร์ฟและต้องหมุนตำาแหน่งก่อนทำาการเสิร์ฟ ผู้เล่น
ที่หมุนจากตำาแหน่งหน้าขวาไปยังหลังขวาจะเป็นผู้เสิร์ฟ
13.3 การอนุญาตให้เสิร์ฟ (AUTHORIZATION OF THE
SERVICE)
ผู้ตัดสินที่ 1 เป็นผู้อนุญาตให้เสิร์ฟ หลังจากการตรวจดูว่าทั้งสอง
ทีมพร้อมแข่งขัน และผู้เสิร์ฟถือลูกบอลไว้แล้ว
13.4 การปฏิบัติในการเสิร์ฟ (EXECUTION OF THE
SERVICE)
13.4.1 หลังจากผู้เสิร์ฟโยนหรือปล่อยลูกบอลออกจากมือ
แล้วจะเสิร์ฟด้วยมือหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของแขนเพียงข้างเดียว
13.4.2 อนุญาตให้ทำาการโยนลูกบอลเพื่อทำาการเสิร์ฟเพียง
ครั้งเดียว แต่อนุญาตให้เดาะหรือเคลื่อนไหวลูกบอลในมือได้
13.4.3 ขณะทำาการเสิร์ฟหรือกระโดดเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟต้องไม
ถูกพื้นที่เขตสนาม (รวมทั้งเส้นหลังด้วย) หรือพื้นที่นอกเขตเสิร์ฟหลัง
จากทำาการเสิร์ฟแล้ว ผู้เสิร์ฟจึงสามารถเหยียบหรือถูกพื้นนอกเขตเสิร์ฟ
และพื้นในเขตสนามได้
13.4.4 ผู้เสิร์ฟต้องทำาการเสิร์ฟลูกภายใน 8 นาที หลังจาก
ผู้ตัดสินที่ 1 เป่านกหวีดให้ทำาการเสิร์ฟ
13.4.5 การเสิร์ฟก่อนสัญญาณนกหวีดของผู้ตัดสิน ต้อง
ยกเลิกและให้ทำาการเสิร์ฟใหม่
13.5 การกำาบัง (SCREENING)
13.5.1 ผู้เล่นของทีมที่กำาลังจะทำาการเสิร์ฟ คนเดียวหรือ
หลายคนก็ตามไม่บังทีมตรงข้ามเพื่อมิให้มองเห็นผู้เสิร์ฟเคลื่อนไหวแขน
22
กระโดด หรือเคลื่อนที่ไปข้าง ๆ ขณะที่กำาลังทำาการเสิร์ฟ เพื่อบังทิศทาง
ที่ลูกบอลพุ่งไป จะถือว่าเป็นการกำาบัง
13.6 การกระทำาผิดระหว่างทำาการเสิร์ฟ (FAULTS MADE
DURING THE SEERVIC)
13.6.1 การเสิร์ฟที่ผิดกติกา การผิดกติกาต่อไปนี้จะต้อง
เปลี่ยนเสิร์ฟ ถึงแม้ว่าทีมตรงข้ามจะ
ผิดตำาแหน่ง
13.6.1.1 ทำาการเสิร์ฟผิดลำาดับการเสิร์ฟ
13.6.1.2 ทำาการเสิร์ฟไม่ถูกต้อง
13.6.2 การผิดกติกาหลังจากการเสิร์ฟลูกบอลออกไปอย่าง
ถูกต้องแล้ว การเสิร์ฟนั้นอาจผิดกติกาได้
13.6.2.1 ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นของทีมที่ทำาการเสิร์ฟ
หรือไม่ผ่านพื้นที่ว่างเหนือตาข่ายอย่างสมบูรณ์
13.6.2.2 ลูก “ออก” กติกาข้อ 9.4
13.6.2.3 ลูกบอลผ่านเหนือการกำาบัง
13.7 การผิดกติกาหลังจากการเสิร์ฟและการผิด
ตำาแหน่ง(FAULTS MADE AFTER THE SERVICE AND
POSITIONAL FAULT)
13.7.1 ถ้าผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟผิดกติกา (ทำาการเสิร์ฟไม่ถูก
ต้อง หรือ ผิดลำาดับการเสิร์ฟเป็นต้น) และทีมตรงข้ามผิดตำาแหน่งการ
เสิร์ฟผิดกติกาจะถูกทำาโทษ
13.7.2 ถ้าการเสิร์ฟกระทำาอย่างถูกต้อง แต่ผิดพลาดใน
เวลาต่อมา (ลูกออก หรือ ผ่านการกำาบังเป็นต้น) จะถือว่าการผิด
ตำาแหน่งเกิดขึ้นก่อน และจะทำาโทษการผิดตำาแหน่ง
กติกาข้อที่ 14 การรุก (ATTACK HIT)
14.1 การรุก (ATTACK HIT)
14.1.1 การกระทำาใด ๆ ที่ส่งลูกบอลไปยังทีมตรงข้าม
ยกเว้นการเสิร์ฟและการสกัดกั้น ถือว่าเป็นการรุก
14.1.2 ขณะทำาการรุก อนุญาตให้ใช้ปลายนิ้วเล่นลูกได้ถ้า
การถูกลูกเป็นไปอย่างชัดเจน และไม่ได้ใช้ฝ่ามือจับหรือโยนลูกบอล
ออกไป
14.1.3 การรุกจะสมบูรณ์เมื่อลูกได้ข้ามแนวดิ่งของตาข่าย
ไป แล้วทั้งลูกหรือเมื่อทีมตรงข้ามถูกลูก
23
14.2 ข้อกำาจัดของการรุก (RESTRICTIONS OF THE
ATTACK HIT)
14.2.1 ผู้เล่นแถวหน้าสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง
เท่าใดก็ได้ ถ้าการถูกลูกบอลอยู่ภายในแดนของผู้เล่นเอง
14.2.2 ผู้เล่นแถวหลังสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง
เท่าใดก็ได้ จากหลังเขตรุก
14.2.2.1 ขณะกระโดด เท้าข้างหนึ่ง (ทั้งสองข้าง)
ต้องไม่แตะหรือข้ามเส้นรุก
14.2.2.2 หลังจากตบลูกแล้ว จึงจะลงยืนในเขตรุกได้
14.2.3 ผู้เล่นแถวหลังสามารถทำาการรุกในเขตรุกได้ ถ้าถูก
ลูกบอลในขณะที่ทุกส่วนของลูกบอลไม่อยู่เหนือกว่าขอบบนสุดของ
ตาข่าย
14.2.4 ไม่อนุญาตให้ผู้เล่นทุกคนตบลูกบอลที่ทีมตรงข้าม
เสิร์ฟมา เมื่อลูกบอลอยู่ในเขตรุก
และลูกบอลอยู่ในเขตรุก และลูกบอลทั้งลูกอยู่เหนือขอบบนสุดของ
ตาข่าย
14.3 การรุกที่ผิดกติกา (FAULTS OF THE ATTACK HIT)
14.3.1 ถ้าลูกบอลในแดนขิงทีมตรงข้าม
14.3.2 ตบลูกออกนอกเขตสนาม
14.3.3 ผู้เล่นแถวหลังทำาการรุกในเขตรุก ขณะที่ลูกบอลอยู่
เหนือขอบบนสุดของตาข่ายทั้ง ลูก
14.3.4 ตบลูกบอลที่ทีมตรงข้ามเสิร์ฟมา ขณะที่ลูกบอลอยู่
ในเขตรุกและอยู่เหนือขอบ บนสุดของตาข่ายทั้งลูก
14.3.5 ตัวรับอิสระทำาการรุก โดยขณะถูกลูกบอล ลูกบอล
ทั้งลูกอยู่เหนือขอบบนสุดของตา ข่าย
14.3.6 ผู้เล่นทำาการรุกขณะลูกบอลอยู่เหนือขอบบนสุดของ
ตาข่าย โดยตัวรับอิสระที่อยู่ในแดนหน้าเป็นผู้ใช้นิ้วส่งลูกบอลมาให้ด้วย
การเล่นลูกบนมือบน
กติกาข้อที่ 15 การสกัดกั้น (BLOCK)
15.1 การสกัดกั้น (BLOCK)
15.1.1 การสกัดกั้นคือ การเล่นของผู้เล่นที่อยู่ชิดตาข่าย
เพื่อป้องกันลูกบอลที่จะมาจากทีมตรงข้าม โดยเอื้อมมือสูงกว่าระดับ
24
สูงสุดของตาข่ายผู้เล่นแถวหน้าเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้ทำาการสกัดกั้น
ได้
15.1.2 ความพยายามที่จะสกัดกั้น คือลักษณะของการ
ทำาการสกัดกั้นแต่ไม่ถูกลูกบอล
15.1.3 การสกัดกั้นที่สมบูรณ์ คือการสกัดกั้นที่สมบูรณ์ คือ
การสกัดกั้นที่ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอล
15.1.4 การสกัดกั้นเป็นกลุ่ม คือการสกัดกั้นโดยผู้เล่นสอง
หรือสามคนที่อยู่ใกล้ ๆ กัน การสกัดกั้นจะสมบูรณ์เมื่อผู้เล่นคนใดคน
หนึ่งถูกลูกบอล
15.2 การถูกลูกบอลขณะทำาการสกัดกั้น (BLOCK CONTACT)
การถูกลูกบอลหลายครั้ง (อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง) โดยผู้สกัด
กั้นคนเดียวหรือมากกว่าอาจเกิดขึ้นได้ ถ้าการถูกลูกนั้นเป็นลักษณะ
ทำาการสกัดกั้นเพียงครั้งเดียว
15.3 การสกัดกั้นในแดนของทีมตรงข้าม (BLOCKING WITHIN
THE OPPONENT’S SPACE)
ในการสกัดกั้น ผู้เล่นยื่นมือแขนลำ้าตาข่ายได้ ถ้าไม่กีดขวางการเล่นของ
ทีมตรงข้าม การสกัดกั้นจะถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ามไม่ได้
จนกว่าทีมตรงข้ามจะถูกลูกเพื่อทำาการรุกแล้ว
15.4 การสกัดกั้นและการถูกลูกบอลของทีม (BLOCK AND
TEAM HITS)
15.4.1 การถูกลูกบอลโดยการสกัดกั้น ไม่นับเป็นการถูก
ลูกบอลของทีม หลังจากถูกลูกบอลโดยการสกัดกั้นแล้ว ทีมนั้นยังถูก
ลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง เพื่อส่งลูกกลับไปยังทีมตรงข้าม
15.4.2 หลังจากทำาการสกัดกั้น ผู้ถูกลูกแรกจะเป็นผู้เล่นคน
ใดคนหนึ่งรวมทั้งผู้เล่นที่ถูกลูกบอลในการสกัดกั้นด้วยก็ได้
15.5 การสกัดกั้นลูกเสิร์ฟ (BLOCKING THE SERVICE)
ห้ามสกัดกั้นลูกบอลที่ทีมตรงข้ามเสิร์ฟมา
15.6 การสกัดกั้นที่ผิดกติกา (BLOCKING FAULT)
15.6.1 ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ามก่อน
หรือพร้อมกับการถูกลูกเพื่อทำาการรุกของทีมตรงข้าม
15.6.2 ผู้เล่นแถวหลังหรือตัวรับอิสระ ทำาการสกัดกั้นหรือ
รวมกลุ่มทำาการสกัดกั้นโดยสมบูรณ์
15.6.3 สกัดกั้นลูกเสิร์ฟของทีมตรงข้าม
15.6.4 ลูกบอลถูกสกัดกั้นแล้วออกนอกเขตสนาม
15.6.5 สกัดกั้นลูกบอลด้านนอกเสาอากาศในแดนของทีม
ตรงข้าม
25
15.6.6 ตัวรัยอิสระพยายามทำาการสกัดกั้นด้วยตัวเองหรือ
รวมกับผู้เล่นอื่น
บทที่ 5
การหยุดการแข่งขันและการถ่วงเวลา
(INTERRUPTION AND DELATS)
กติกาข้อที่ 16 การหยุดการแข่งขันตามกติกา
(REGULAR GAME INTERRUPTION)
การหยุดการแข่งขันตามกติกา ได้แก่ การขอเวลานอกและการ
เปลี่ยนตัว
16.1 จำานวนครั้งของการขอหยุดการแข่งขันตามกติกา
(NUMBER OF REGULAR
INTERRUPTIONS) แต่ละทีมของเวลานอกได้อย่างมากที่สุด 2 ครั้ง
และเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้ 6 คนต่อเซต
16.2 การขอหยุดการแข่งขันตามกติกา (REQUEST FOR
REGULAR INTERRUPTIONS)
16.2.1 ผู้ฝึกสอนหรือหัวหน้าทีมที่ลงแข่งขันเท่านั้นที่ขอ
หยุดการแข่งขันได้ การขอหยุดการแข่งขันได้ การขอหยุดการแข่งขัน
กระทำาโดยแสดงสัญญาณมือเมื่อลูกตาย และก่อนสัญญาณนกหวีด
ทำาการเสิร์ฟ
16.2.2 การขอเปลี่ยนตัวก่อนเริ่มการแข่งขันของเซต
สามารถทำาได้ และต้องบันทึกไว้เหมือนกับการขอเปลี่ยนตัวปกติในเซต
นั้น
16.3 ลำาดับการขอหยุดการแข่งขัน (SEQUENCE OF
INTERRUPTION)
16.3.1 ทีมที่สามารถขอเวลานอกหนึ่งหรือสองครั้งติดต่อ
กันได้และตามด้วยการขอเปลี่ยนตัวได้อีกด้วย โดยไม่ต้องรอให้มีการ
แข่งขันแทรกระหว่างการขอหยุดการแข่งขันแต่ละครั้ง
16.3.2 ไม่อนุญาตให้ทีมขอเปลี่ยนตัวสองครั้งติดต่อกัน เว้นเสียแต่ว่ามี
การแข่งขันเกิดขึ้นหลังจากการขอเปลี่ยนตัวครั้งแรกแล้วจึงขอเปลี่ยน
ตัวครั้งต่อไปได้ การเปลี่ยนตัวแต่ละครั้งจะเปลี่ยนครั้งละสองคนหรือ
มากว่าก็ได้
26
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224
1410255310224

More Related Content

What's hot

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Maimai Pudit
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรsawed kodnara
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมchanaruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ฟุตบอล
ฟุตบอลฟุตบอล
ฟุตบอล
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 

Viewers also liked

Viewers also liked (19)

Post Traumatic 2008
Post Traumatic 2008Post Traumatic 2008
Post Traumatic 2008
 
Práctica 13
Práctica 13Práctica 13
Práctica 13
 
Distribution box
Distribution boxDistribution box
Distribution box
 
Jeffrey Aviles_ M.Arch 2_Portfolio_8MB
Jeffrey Aviles_ M.Arch 2_Portfolio_8MBJeffrey Aviles_ M.Arch 2_Portfolio_8MB
Jeffrey Aviles_ M.Arch 2_Portfolio_8MB
 
Women & Mst
Women & MstWomen & Mst
Women & Mst
 
OCASE1
OCASE1OCASE1
OCASE1
 
桂林風光
桂林風光桂林風光
桂林風光
 
101 Holidays VOC Presentation
101 Holidays VOC Presentation101 Holidays VOC Presentation
101 Holidays VOC Presentation
 
Dv & Ptsd
Dv & PtsdDv & Ptsd
Dv & Ptsd
 
Uml Basics
Uml Basics Uml Basics
Uml Basics
 
Kenting (Taiwan)
Kenting (Taiwan)Kenting (Taiwan)
Kenting (Taiwan)
 
C 32五岳
C 32五岳C 32五岳
C 32五岳
 
Contactors
ContactorsContactors
Contactors
 
Warnemünde (Alemania)
Warnemünde (Alemania)Warnemünde (Alemania)
Warnemünde (Alemania)
 
Public administration
Public administrationPublic administration
Public administration
 
20141002 衛環委員會 - 處理103年度中央政府總預算有關衛生福利部及所屬預算凍結案等28案 - 口頭報告
20141002 衛環委員會 - 處理103年度中央政府總預算有關衛生福利部及所屬預算凍結案等28案 - 口頭報告20141002 衛環委員會 - 處理103年度中央政府總預算有關衛生福利部及所屬預算凍結案等28案 - 口頭報告
20141002 衛環委員會 - 處理103年度中央政府總預算有關衛生福利部及所屬預算凍結案等28案 - 口頭報告
 
20150409 衛環委員會 - 考察彰化地區「居家醫療推動現況」- 彰化縣衛生局報告
20150409 衛環委員會 - 考察彰化地區「居家醫療推動現況」- 彰化縣衛生局報告20150409 衛環委員會 - 考察彰化地區「居家醫療推動現況」- 彰化縣衛生局報告
20150409 衛環委員會 - 考察彰化地區「居家醫療推動現況」- 彰化縣衛生局報告
 
Zug (Suiza)
Zug (Suiza) Zug (Suiza)
Zug (Suiza)
 
Location-based Task Management
Location-based Task ManagementLocation-based Task Management
Location-based Task Management
 

1410255310224

  • 1. กติกาวอลเลย์บอล ข้อที่ 1 พื้นที่เล่นลูก ข้อที่ 2 ตาข่ายและเสาขึงตาข่าย ข้อที่ 3 ลูกบอล ข้อที่ 4 ทีม ข้อที่ 5 ผู้นำาของทีม ข้อที่ 6 การได้คะแนน ข้อที่ 7 โครงสร้างการแข่งขัน ข้อที่ 8 การเปลี่ยนตัว ข้อที่ 9 รูปแบบของการเล่น ข้อที่ 10 การเล่นลูกบอล ข้อที่ 11 ลูกบอลที่บริเวณตาข่าย ข้อที่ 12 ผู้เล่นบริเวณตาข่าย ข้อที่ 13 การเสิร์ฟ ข้อที่ 14 การรุก ข้อที่ 15 การสกัดกั้น ข้อที่ 16 หยุดการแข่งขันตามกติกา ข้อที่ 17 การถ่วงเวลาการแข่งขัน ข้อที่ 18 หยุดการแข่งขันที่ยกเว้น ข้อที่ 19 การหยุดพัก การเปลี่ยนแดน ข้อที่ 20 ตัวรับอิสระ ข้อที่ 21 ความประพฤติที่ต้องการ ข้อที่ 22 การผิดมารยาท การลงโทษ ข้อที่ 23 ฝ่ายทำาหน้าที่ในการตัดสิน ข้อที่ 24. ผู้ตัดสินที่ 1 ข้อที่ 25. ผู้ตัดสินที่ 2 ข้อที่ 26 ผู้บันทึก ข้อที่ 27 ผู้กำากับเส้น ข้อที่ 28 สัญญาณตามกติกาการแข่งขัน สรุปกติกาโดยทั่วไป 1
  • 2. ตอนที่ 1 การแข่งขัน (The Game) บทที่ 1 สิ่งอำานวยความสะดวกและอุปกรณ์ (Facilities And Equipments) กติกาข้อที่ 1 พื้นที่เล่นลูก (Playing Area) พื้นที่เล่นลูก รวมถึงสนามแข่งขันและเขตรอบสนาม พื้นที่เลนลูกต้อง เป็นรูปสามเหลี่ยมผืนผ้าและเหมือนกันทุกส่วน 1.1 ขนาดของสนาม (Dimension) สนามแข่งขันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 18 x 9 เมตร ล้อมรอบ ด้วยเขตรอบสนาม กว้างอย่างน้อยที่สุด 3 เมตร ทุกด้านที่ว่างสำาหรับ เล่นลูก คือ ที่ว่างเหนือพื้นที่เล่นลูก ซึ่งไม่มี สิ่งใดกีดขวาง สูงขึ้นไป อย่างน้อยที่สุด 7 เมตร จากพื้นสนาม สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) และการแข่งขันอย่างเป็น ทางการ เขตรอบสนามต้องกว้างอย่างน้อยที่สุด 5 เมตร จากเส้นข้าง 8 เมตร จากเส้นหลังและที่ว่างสำาหรับเล่นลูกต้องสูงจากพื้นสนามขึ้นไป อย่างน้อยที่สุด 12.50 เมตร 1.2 พื้นผิวสนาม (PLAYING SURFACE) 1.2.1 พื้นผิวสนามต้องเรียบ เป็นพื้นราบและเหมือนกัน ตลอดทั้งสนาม ต้องไม่เป็นอันตรายจนเป็นเหตุให้ผู้เล่นบาดเจ็บ และไม่ อนุญาตให้แข่งขันบนพื้นสนามที่ขรุขระหรือลื่น สำาหรับการแข่งขัน ระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และการแข่งขันอย่างเป็น ทางการอนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะ พื้นผิวสนามที่เป็นไม้หรือพื้นผิว สังเคราะห์เท่านั้น พื้นผิวสนามอื่นใด ต้องได้รับการรับรองจากสหพันธ์ วอลเลย์บอลก่อนทั้งสิ้น 1.2.2 สนามแข่งขันในร่ม พื้นผิวสนามต้องเป็นสีสว่าง สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ แข่งขันอย่างเป็นทางการ เส้นสนามต้องเป็นสีขาว ส่วนพื้นสนามแข่งขัน และบริเวณเขตรอบสนามต้องเป็นสีแตกต่างกันออกไป 1.2.3 สนามแข่งขันกลางแจ้ง อนุญาตให้พื้นผิวสนามลาด เอียงได้ 1 มิลลิเมตร ต่อ 1 เมตร เพื่อการระบายนำ้า ห้ามใช้ของแข็งทำา เส้นสนาม 1.3 เส้นบนพื้นสนาม (LINES ON THE COURT) 2
  • 3. 1.3.1 เส้นทุกเส้นกว้าง 5 เซนติเมตร เป็นสีสว่างแตกต่าง จากสีของพื้นผิวสนามและเส้นอื่น ๆ 1.3.2 เส้นเขตสนาม เส้นข้าง 2 เส้น และเส้นหลัง 2 เส้น เป็นเส้นกำาหนดเขตสนามแข่งขัน เส้นทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายในเขตของ สนามแข่งขัน 1.3.3 เส้นแบ่งแดน กึ่งกลางเส้นแบ่งแดน จะแบ่งสนาม แข่งขันออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน ขนาด 9 x 9 เมตร เส้นนี้ลากจาก เส้นข้างด้านหนึ่งไปยังเส้นข้างอีกดานหนึ่งใต้ตาข่าย 1.3.4 เส้นรุก แต่ละแดนของสนามจะมีเส้นรุกซึ่งริมสุดด้าน นอกของเส้นจะขีดห่างจากจุดกึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน 3 เมตร เป็น เครื่องหมายของเขตรุก สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ เส้นรุกจะถูก ขีดต่อออกไปจากเส้นข้างทั้ง 2 เส้น เป็นเส้นประ กว้าง 5 เซนติเมตร ยาวเส้นละ 15 เซนติเมตร 5 เส้น และเว้นช่องว่างระหว่างเส้นไว้ช่องละ 20 เซนติเมตร รวมยาวข้างละ 1.75 เมตร 1.4 เขตและพื้นที่ต่าง ๆ (Zone And Areas) 1.4.1 เขตรุก เขตรุกของแต่ละแดนจะถูกกำาหนดจากึ่งกลาง ของเส้นแบ่งเขตแดน ไปจนถึงริมสุดด้านนอกของเส้นรุกเขตรุก ถือ เสมือนว่ามีความยาวจากเส้นทั้งสองไปจนถึงริมสุดของเขตรอบสนาม 1.4.2 เขตเสิร์ฟ เขตเสิร์ฟมีพื้นที่กว้าง 9 เมตร อยู่เลยเส้น หลังแต่ละเส้นออกไป เส้นขนานสั้น ๆ 2 เส้น ยาวเส้นละ 15 เซนติเมตร เป็นเส้นกำาหนดเขต เสิร์ฟ เส้นทั้งสองนี้จะตีห่างจากเส้นหลัง 20 เซนติเมตร เหมือนกับแนว ต่อจากเส้นข้าง และรวมอยู่ในความกว้างของเขตเสิร์ฟด้วย ในแนวลึก เขตเสิร์ฟจะยาวออกไปจนถึงปลายสุดของเขตรอบสนาม 1.4.3 เขตเปลี่ยนตัว คือ เขตที่อยู่ภายในแนวของเส้นรุกทั้ง สองเส้นไปจนถึงโต๊ะผู้บันทึกการแข่งขัน 1.4.4 พื้นที่อบอุ่นร่างกาย สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ พื้นที่ อบอุ่นร่างกายขนาด 3 x 3 เมตร จะอยู่ที่นอกเขตรอบสนามตรงมุม สนามด้านเดียวกับม้านั่งของผู้เล่นสำารอง 1.4.5 พื้นที่ทำาโทษ พื้นที่ทำาโทษขนาดประมาณ 1 x 1 เมตร มีเก้าอี้ตั้งไว้ 2 ตัวอยู่ในพื้นที่ควบคุมการแข่งขัน (CONTROL AREA) แต่อยู่เลยแนวของเส้นหลังและมีเส้นแดงกว้าง 5 เซนติเมตร กำาหนดพื้นที่ 1.5 อุณหภูมิ (TEMPERATURE) 3
  • 4. อุณหภูมิตำ่าสุดต้องไม่ตำ่ากว่า 10 องศาเซลเซียส การแข่งขันระดับ โลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็น ทางการ แสงสว่างบนพื้นที่เล่นลูกต้องมีความสว่าง 1,000 – 1,500 ลักซ์ โดยวัดที่ระดับความสูงจากพื้นสนาม 1 เมตร แผนผังสนามแข่งขัน ตำาแหน่งของคณะกรรมการตัดสิน และเจ้าหน้าที่ ๑. ผู้ตัดสินที่ ๑ ๒. ผู้ตัดสินที่ ๒ ๓. โต๊ะผู้บันทึก ผู้จับเวลา ผู้กดป้ายคะแนน 4
  • 5. ๔. โต๊ะที่นั่งสำาหรับผู้เล่นสำารอง ผู้ฝึกสอน ผู้ช่วยผู้ ฝึกสอน ฯลฯ ๕. ผู้กำากับเส้น ๖. ผู้เก็บบอล ๗. เขตอบอุ่นร่างกายของผู้เล่นสำารอง กติกาข้อที่ 2 ตาข่ายและเสาขึงตาข่าย (NET AND POSTS) 2.1 ความสูงของตาข่าย (HEIGHT OF THE NET) 2.1.1 ตาข่าย ขึงเป็นแนวตั้งเหนือเส้นเบ่งแดน สำาหรับทีม ชาย ขอบบนสุดต้องสูงจากพื้นที่ 2.43 เมตร ทีมหญิง 2.24 เมตร 2.1.2 ความสูงของตาข่าย วัดที่กึ่งกลางของสนามความสูง ของตาข่าย (เหนือเส้นทั้งสอง) ต้องสูงเท่ากัน แต่จะสูงเกินกว่าความสูง ที่กำาหนด 2 เซนติเมตรไม่ได้ 2.2 โครงสร้าง (STRUCTURE) ตาข่ายมีความกว้าง 1 เมตร และยาว 9.50 ถึง 10.00 เมตร (โดยมีความยาวเหลืออยู่ 25 ถึง 50 เซนติเมตร จากแถบข้างแต่ละ ด้าน) ทำาด้วยวัสดุสีดำา เป็นตาสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 10 เซนติเมตร ที่ ขอบบนของตาข่ายมีแถบขนานกับพื้นพับ 2 ชั้น สีขาว กว้าง 7 เซนติเมตร เย็บติดตลอดความยาวของตาข่าย ที่ปลายสุดแต่ละข้างเจาะ รูไว้ข้างละ 1 รู เพื่อร้อยเชือกผูกกับเสาขึง ตาข่ายดึงให้แถบบนสุดของ ตาข่ายตึง ภายในแถบมีสายที่ยืดหยุ่นได้สำาหรับผูกกับเสา เพื่อทำาให้ ส่วนบนสุดของตาข่ายตึง ที่ตาข่ายด้านล่างมีแถบขนานกับพื้นกว้าง 5 เซนติเมตร ภายในแถบมีสายที่ยืดหยุ่นได้สำาหรับผูกกับเสาเพื่อให้ส่วน ล่างของตาข่ายตึง 2.3 แถบข้าง (SIDE BANDS) แถบสีขาว 2 เส้น ผูกในแนวตั้งกับตาข่ายเหนือทั้ง 2 เส้น แถบ ข้างกว้าง 5 เซนติเมตร ยาว 1 เมตร และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของตาข่าย 2.4 เสาอากาศ (ANTENNAE) เสาอากาศเป็นแท่งกลมยืดหยุ่นได้ ยาว 1.80 เมตร เส้นผ่า ศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร ทำาด้วยใยแก้วหรือวัสดุที่คล้ายคลึงกันเสา อากาศแต่ละต้นถูกยึดติดอยู่ที่ริมด้านนอกของแถบข้างทั้งสอง แต่อยู่ คนละด้านของตาข่าย ส่วนบนสุดของเสาอากาศ ถือเป็นสีสลับกันเป็น ช่วง ๆ ยาวช่องละ 10 เซนติเมตร ส่วนมากแล้วนิยมใช้สีแดงและขาว เสาอากาศถือเป็นส่วนหนึ่ง ของตาข่าย เป็นแนวขนานที่กำาหนดพื้นที่ 5
  • 6. ข้ามตาข่าย 2.5 เสาขึงตาข่าย (POSTS) 2.5.1 เสาขึงตาข่ายยึดติดกับพื้นสนาม ห่างจากเส้นข้าง 0.50 – 1.00 เมตร มีความสูง 2.55 เมตร สามารถปรับระดับได้ สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ แข่งขันอย่างเป็นทางการ เสาขึงตาข่ายยึดติดกับพื้นสนาม ห่างจากเส้น ข้าง 1 เมตร เว้นแต่ว่า ได้รับการยินยอมจากสหพันธ์วอลเลย์บอล นานาชาติ 2.5.2 เสาขึงตาข่ายมีลักษณะกลมและเรียบ ยึดติดกับพื้น โดยไม่มีสายยึดเสาและต้องไม่เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายและไม่เป็นสิ่ง กีดขวางใด ๆ 2.6 อุปกรณ์อื่น ๆ (ADDITIONAL EQUIPMENT) อุปกรณ์อื่นใดให้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงตามระเบียบของสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติ กติกาข้อที่ 3 ลูกบอล (BALLS) 3.1 มาตรฐาน (STANDARD) ลูกบอลต้องกลม ทำาด้วยหนังฟอกหรือหนังสังเคราะห์ที่ยืดหยุ่นได้ ห่อหุ้มลูกบอลทรงกลมที่ทำาด้วยยาง หรือวัสดุที่คล้ายคลึงกัน สีของ ลูกบอลอาจเป็นสีอ่อน ๆ เหมือนกันทั้งลูก หรืออาจเป็นหลายสีผสมกัน ก็ได้ ลูกบอลซึ่งทำาด้วยวัสดุที่เป็นหนังสังเคราะห์มีหลายสีผสมกันและจะ ใช้ในการแข่งขันระดับนานาชาติอย่างเป็นทางการ ต้องมีมาตรฐานตาม ที่สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติกำาหนด ลูกบอลต้องมีแรงดันลม 0.30 – 0.325 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ลูกบอลต้องมีเส้นรอบวงกลม 65 – 67 เซนติเมตร และมีนำ้าหนัก 260 – 280 กรัม 3.2 รูปแบบของลูกบอล (UNIFORMITY OF BALLS) ลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันต้องมีเส้นรอบวง นำ้าหนัก แรงอัด ชนิด และสีตามาตรฐานเดียวกัน การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติและรวมทั้งระดับชาติ หรือการแข่งขันลีก (League) ของแต่ละประเทศต้อง ใช้ลูกบอลที่สหพันธ์วอลเลย์บอล นานาชาติรับรองเท่านั้น เว้นแต่ได้รับการยินยอมจากสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติ 3.3 ระบบการใช้ลูกบอล 3 ลูก (THREE – BALL SYSTEM) 6
  • 7. การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ แข่งขันอย่างเป็นทางการ จะใช้ลูกบอล 3 ลูก โดยมีผู้กลิ้งบอล 6 คน ประจำาที่มุมของเขตรอบสนามทั้งสี่มุม มุมละ 1 คน และข้างหลังผู้ตัดสิน ด้านละ 1 คน บทที่ 2 ผู้เข้าร่วมการแข่งขัน(PARTICIPANTS) กติกาข้อที่ 4 ทีม (TEAMS) 4.1 ส่วนประกอบของทีม (TEAM COMPOSITION) 4.1.1 ทีมประกอบด้วยผู้เล่นไม่เกิน 12 คน ผู้ฝึกสอน 1 คน ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน 1 คน เทรนเนอร์ 1 คน และแพทย์ 1 คน สำาหรับการ แข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขัน อย่างเป็นทางการ แพทย์ต้องขึ้นทะเบียนกับสหพันธ์วอลเลย์บอล นานาชาติก่อนการแข่งขัน 4.1.2 ผู้เล่นคนหนึ่งของทีมที่ไม่ใช่ตัวรับอิสระ (LIBERO PLAYER) ต้องเป็นหัวหน้าทีมและจะระบุไว้ในใบบันทึกการแข่งขัน 4.1.3 ผู้เล่นที่มีชื่ออยู่ในใบบันบันทึกการแข่งขันเท่านั้นจึง จะลงสนามและร่วมการแข่งขันได้ เมื่อผู้ฝึกสอนและหัวหน้าทีม (TEAM CAPTAIN) ลงชื่อในใบบันทึกการแข่งขันแล้วจะเปลี่ยนแปลงผู้เล่นอีก ไม่ได้ 4.2 ตำาแหน่งที่อยู่ของทีม (LOCATION OF THE TEAM) 4.2.1 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันควรนั่งม้านั่งหรืออยู่ในพื้นที่ อบอุ่นร่างกายของทีมตนเอง ผู้ฝึกสอนและผู้ร่วมทีมคนอื่นต้องนั่งบนม้า นั่ง แต่อาจลุกจากม้านั่งเป็นครั้งคราว ม้านั่งของทีมตั้งอยู่ข้าง ๆ โต๊ะผู้ บันทึก นอกเขตรอบสนาม 4.2.2 เฉพาะผู้ร่วมทีมเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้นั่งม้านั่ง ระหว่างการแข่งขันและร่วมการอบอุ่นร่างกายก่อนการแข่งขัน 4.2.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันสามารถอบอุ่นร่างกายโดย ไม่ใช่ลุกบอลได้ดังนี้ 4.2.3.1 ระหว่างการแข่งขันในพื้นที่อบอุ่นร่างกาย 4.2.3.2 ระหว่างขอเวลานอกและเวลาเทคนิคในเขต รอบสนามด้านหลังแดนของทีมตนเอง 4.2.4 ช่วงพักระหว่างเซต ผู้เล่นสามารถอบอุ่นร่างกายโดย ใช้ลูกบอลได้ในเขตรอบสนามของทีมตนเอง 4.3 เครื่องแต่งกาย (EQUIPMENT) 7
  • 8. เครื่องแต่งกายของผู้เล่นประกอยด้วย เสื้อยืด กางเกงขาสั้น ถุงเท้า (ชุดแข่งขัน) และรองเท้า 4.3.1 สีและแบบของเสื้อยืด กางเกงขาสั้น และถุงเท้าต้อง เหมือนกันทั้งทีม (ยกเว้นตัวรับอิสระ LIBERO PLAYER) และสะอาด 4.3.2 รองเท้าต้องเบาและอ่อนนุ่ม พื้นเป็นยางหรือหนังไม่มี ส้น สำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและ การแข่งขันอย่างเป็นทางการในรุ่นที่ไม่กำาจัดอายุสีรองเท้าต้องเป็นสี เดียวกันทั้งทีม แต่เครื่องหมายการค้าอาจมีสีแตกต่างกันได้ เสื้อและ กางเกงต้องเป็นไปตามมาตรฐานของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ 4.3.3 เสื้อผู้เล่นต้องมีเครื่องหมาย 1 – 18 4.3.3.1 ต้องติดเครื่องที่กลางอกและกลางหลังสีของ เครื่องหมายเลขต้องตัดกับสีเสื้ออย่างชัดเจน 4.3.3.2 หมายเลขด้านหน้าต้องสูงอย่างน้อยที่สุด 15 เซนติเมตร ด้านหลังอย่างน้อยที่สุด 20 เซนติเมตร และความกว้างของ แถบที่ทำาหมายเลข ต้องกว้างอย่างน้อยที่สุด 1 เซนติเมตร 4.3.4 หัวหน้าทีมต้องมีแถบยาว 8 เซนติเมตร กว้าง 2 เซนติเมตร ติดอยู่ใต้หมายเลขตรงอกเสื้อ 4.3.5 ห้ามใส่ชุดแข่งขันที่มีหมายเลขไม่ถูกต้อง หรือชุที่มีสี แตกต่างจากผู้เล่นอื่น 4.4 การเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย (CHANGE OF EQUIPMENT) ผู้ตัดสินคนที่ 1 มีอำานาจที่จะให้ผู้เล่น 1 คน หรือมากกว่า 4.4.1 ลงแข่งขันโดยไม่สวมรองเท้าก็ได้ 4.4.2 เปลี่ยนชุดที่เปียกช่วงพักระหว่างเซต หรือหลังจาก การเปลี่ยนตัวได้ โดยสี แบบ และหมายเลขของชุดใหม่ต้องเหมือนับชุด เดิม 4.4.3 สวมชุดวอร์มลงแข่งขันได้ ถ้าอากาศหนาว ถ้าสีและ แบบของชุควอร์มเหมือนกันทั้งทีม และหมายเลขต้องเป็นไปตามปกติ 4.5 สิ่งที่ห้ามสวมใส่ (FORBIDDEN OBJECTS) 4.5.1 ห้ามสวมใส่สิ่งของซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการบาด เจ็บหรือช่วยให้ผู้เล่นได้เปรียบผู้อื่น 4.5.2 ผู้เล่นอาจสวมแว่นตาหรือคอนเทคเลนซ์ได้ โดยรับ ผิดชอบอันตรายที่อาจเกิดขึ้นด้วยตัวเอง กติกาข้อที่ 5 ผู้นำาของทีม (TEAM LEADER) 8
  • 9. ทั้งหัวหน้าทีมหรือผู้ฝึกสอนเป็นผู้รับผิดชอบความประพฤติและ ระเบียบวินัยของผู้ร่วมทีม ตัวรับอิสระจะเป็นหัวหน้าทีมไม่ได้ 5.1 หัวหน้าทีม (CAPTAIN) 5.1.1 ก่อนการแข่งขัน หัวหน้าทีมเป็นผู้ลงชื่อในใบบันทึก การแข่งขันและเป็นผู้แทนของทีมในการเสี่ยง 5.1.2 ระหว่างการแข่งขันและขณะอยู่ในสนามแข่งขัน หัวหน้าทีม (TEAM CAPTAIN) ผู้นำาในการแข่งขัน เมื่อหัวหน้าทีมไม่ ได้เล่นอยู่ในสนาม ผู้ฝึกสอนหรือหัวหน้าทีมต้องแต่งตั้งผู้เล่นคนหนึ่งที่ อยู่ในสนาม แต่ต้องไม่ใช่ตัวรับอิสระ ทำาหน้าที่หัวหน้าทีมในการ แข่งขัน (GAME CAPTAIN) และต้องรับผิดชอบไปจนกว่าหัวหน้า ทีม(TEAM CAPTAIN) จะเปลี่ยนตัวมาลงเล่นอีกหรือจนกว่าจะสิ้นสุด เซตนั้นเมื่อลูกตาย หัวหน้าทีมในการแข่งขันเท่านั้นที่มีสิทธิเป็นผู้แทน ของผู้เล่นทั้งหมดพูดกับผู้ตัดสิน เพื่อ 5.1.2.1 ขอคำาอธิบายในการตีความกติกาหรือนำากติกามา ใช้และร้องขอหรือถามคำาถามของเพื่อนร่วมทีม ถ้าคำาอธิบายไม่เป็นที่ พอใจ หัวหน้าในการแข่งขันต้องประท้องการตัดสินนั้นและสงวนสิทธิ บันทึกการประท้องอย่างเป็นทางการ ในใบบันทึกการแข่งขัน เมื่อการ แข่งขันจบสิ้นลง 5.1.2.2 ขอสิทธิ ก. เปลี่ยนชุดหรืออุปกรณ์การแข่งขันบางส่วนหรือ ทั้งหมด ข. ตรวจตำาแหน่งผู้เล่นของทีม ค. ตรวจพื้นสนาม ตาข่าย และลูกบอล 5.1.2.3 ขอเวลานอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น 5.1.3 เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันหัวหน้าทีมต้อง 5.1.3.1 แสดงความขอบคุณผู้ตัดสินและลงชื่อในใบ บันทึกการแข่งขันการประท้องอย่างเป็นทางการต่อผู้ตัดสิน เกี่ยวกับ การนำากติกาใช้หรือตีความกติกาลงในใบบันทึกการแข่งขัน 5.2 ผู้ฝึกสอน (COACH) 5.2.1 ตลอดการแข่งขัน ผู้ฝึกสอนเป็นผู้ควบคุมการเล่นของ ทีมภายในสนามแข่งขัน เป็นผู้เลือกผู้เล่น 6 คนแรก เปลี่ยนตัวผู้เล่นและ ขอเวลานอก ผู้ฝึกสอนทำาหน้าที่ดังกล่าวได้โดยขอผ่านทางผู้ตัดสินที่ 2 5.2.2 ก่อนการแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้องบันทึกหรือตรวจสอบ รายชื่อและหมายเลขของผู้เล่นในใบบันทึกการแข่งขัน 5.2.3 ระหว่างการแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้อง 9
  • 10. 5.2.3.1 ยืนใบส่งตำาแหน่งของผู้เล่นที่ลงชื่อแล้ว ให้ผู้ ตัดสินหรือผู้บันทึกก่อนการแข่งขันทุกเซต 5.2.3.2 นั่งม้านั่งของทีมซึ่งใกล้กับผู้บันทึกมากที่สุด แต่อาจลูกจากม้านั่งได้เป็นครั้งคราว 5.2.3.3 ขอเวลานอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น 5.2.3.4 ผู้ฝึกสอนรวมทั้งผู้ร่วมทีมอื่น ๆ อาจให้คำา แนะนำาผู้เล่นในสนามได้ โดยผู้ฝึกสอนอาจให้คำาแนะนำาผู้เล่นในสนาม ได้โดยผู้ฝึกสอนอาจให้คำาแนะนำาขณะที่ยืนหรือเดินภายในเขตเล่นลูก (FREE ZONE) ด้านหน้าของม้านั่งผู้เล่นสำารองตั้งแต่แนวที่ยื่นออกมา ของเส้นรุกจนถึงพื้นที่อบอุ่นร่างกายแต่ต้องไม่รบกวนหรือถ่วงเวลาการ แข่งขัน 5.3 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน (ASSISTANT COACH) 5.3.1 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนนั่งบนม้านั่งของทีม แต่ไม่มีสิทธิใด ๆ ที่จะหยุดการแข่งขัน 5.3.2 ถ้าผู้ฝึกสอนไม่อยู่ ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนอาจทำาหน้าที่ผู้ฝึกสอนแทนได้ โดยการขออนุญาตของหัวหน้าทีมในขณะแข่งขัน (GAME CAPTAIN) และได้รับการยินยอมจากผู้ตัดสินที่ 1 บทที่ 3 รูปแบบของการแข่งขัน (PLAYING FORMAT) กติกาข้อที่ 6 การได้คะแนน การชนะในแต่ละเซต และการ ชนะแต่ละนัด (TO SCORE A POINT,TOWIN A SET AND THE MATCH) 6.1 การได้คะแนน (TO SCORE A POINT) 6.1.1 คะแนน ทีมได้คะแนนเมื่อ 6.1.1.1 ทำาให้ลูกบอลตกลงบนพื้นสนามในแดนของ ทีมตรงข้าม 6.1.1.2 ทีมตรงข้ามทำาผิดกติกา 6.1.1.3 ทีมตรงข้ามถูกลงโทษ 10
  • 11. 6.1.2 การทำาผิดกติกา ทีมทำาผิดกติกาเมื่อลักษณะของการ เล่นตรงข้ามกับกติกาการแข่งขัน (หรือขัดแย้งกับกติกาโดยวิธีอื่นใด) ผู้ตัดสินจะตัดสินการการกระทำาผิด และตัดสินใจดำาเนินการตามกติกา ดังนี้ 6.1.2.1 ถ้ามีการเล่นผิดกติกาสองอย่างหรือมากกว่า เกิดขึ้นต่อเนื่องกัน จะลงโทษเฉพาะการผิดกติกาที่เกิดขึ้นก่อนเท่านั้น 6.1.2.2 ถ้าทั้งสองทีมเล่นผิดกติกาสองอย่างหรือ มากกว่าพร้อม ๆ กันทั้งสองทีม จะถือว่าเป็นการกระทำาผิดทั้งคู่ และจะ เล่นลูกนั้นใหม่ 6.1.3 ผลที่ตามมาเมื่อชนะการเล่นลูก การเล่นลูกเป็น ลักษณะการเล่นที่เริ่มต้นตั้งแต่ผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟ จนกระทั้งลูกตาย 6.1.3.1 ถ้าทีมที่เป็นฝ่ายเสิร์ฟชนะการเล่นลูกจะได้คะแนนและได้เสิร์ฟ ต่อ 6.1.3.2 ถ้าทีมที่เป็นฝ่ายรับลูกเสิร์ฟชนะการเล่นลูกจะได้คะแนนและได้ เสิร์ฟในครั้งต่อไป 6.2 การชนะในแต่ละเซต (TO WIN A SET) ทีมที่ทำาได้ 25 คะแนนก่อน (ยกเว้นเซตตัดสิน) และมีคะแนนนำา ทีมตรงข้ามอย่างน้อยที่สุก 2 คะแนน จะเป็นทีมชนะการแข่งขันเซตนั้น ถ้าทำาได้ 24 คะแนนเท่ากัน จะแข่งขันกันต่อไปจนกว่าทีมใดทีมหนึ่ง อย่างน้อยที่สุด 2 คะแนน 6.3 การชนะการแข่งขันแต่ละนัด (TO WIN THE MATCH) 6.3.1 ทีมที่ทำาได้ 3 เซต เป็นทีมที่ชนะการแข่งขันนัดนั้น 6.3.2 ในกรณีที่ได้เซตเท่ากัน 2 : 2 การแข่งขันเซตตัดสิน (เซตที่ 5) จะแข่งขันกัน 15 คะแนน และต้องมีคะแนนนำาอีกทีมหนึ่ง อย่างน้อย 2 คะแนน 6.4 ทีมที่ผิดระเบียบการแข่งขันและไม่พร้อมจะแข่งขัน (DEFAULT AND INCOMPLETE TEAM) 6.4.1 ถ้าทีมปฏิเสธที่จะแข่งขัน หลังจากได้รับแจ้งให้ แข่งขันต่อ ทีมนั้นจะถูกแจ้งว่าทำาผิดระเบียบการแข่งขัน และปรับเป็น แพ้ในการแข่งขันนัดนั้น ด้วยผลการแข่งขัน 0 – 3 เซต คะแนน 0 – 25 ในแต่ละเซต 6.4.2 ทีมที่ไม่ปรากฏตัว ณ สนามแข่งขันตามเวลาที่ กำาหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ถือว่าผิดระเบียบการแข่งขันและมีผล การแข่งขันเช่นเดียวกับกติกาข้อ 6.4.1 6.4.3 ทีมที่ถูกแจ้งว่าไม่พร้อมในการแข่งขันนัดใดนัดหนึ่ง หรือการแข่งขันเซตใดเซตหนึ่ง จะแพ้ในเซตนั้นหรือการแข่งขันนัดนั้น 11
  • 12. ทีมตรงข้ามจะได้คะแนนและเซตเพื่อเป็นทีมชนะในเซตหรือการแข่งขัน นัดนั้น ส่วนทีมที่ไม่พร้อมจะแข่งขันจะยังคงได้คะแนนและเซตที่ทำาไว้ กติกาข้อที่ 7 โครงสร้างของการแข่งขัน (STRUCTURE OF PLAY) 7.1 การเสี่ยง (TOSS) ก่อนการแข่งขัน ผู้ตัดสินที่ 1 จะทำาการเสี่ยงเพื่อตัดสินว่าทีมใดจะ ทำาการเสิร์ฟก่อนหรืออยู่แดนใด ในเซตที่ 1 ถ้าต้องการแข่งขันเซต ตัดสินจะต้องทำาการเสี่ยงใหม่อีกครั้งหนึ่ง 7.1.1 การเสี่ยงต้องทำาโดยมีหัวหน้าทีมทั้งสองทีมร่วมอยู่ ด้วย 7.1.2 ผู้ชนะการเสี่ยงจะสิทธิเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 7.1.2.1 เลือกเสิร์ฟหรือรับลูกเสิร์ฟ 7.1.2.2 เลือกแดนใดแดนหนึ่งของสนามก็ได้ ผู้แพ้ การเสี่ยงจะได้รับส่วนที่เหลือ 7.1.3 ในกรณีที่ทำาการอบอุ่นร่างกายมาพร้อมกัน ทีม ที่ทำากาเสิร์ฟก่อนจะทำาการอบอุ่นร่างกายที่ตาข่ายก่อน 7.2 การอบอุ่นร่างกาย (WARM-UP SESSION) 7.2.1 ก่อนการแข่งขัน ถ้าทีมมีสนามอบอุ่นร่างกายที่จัดไว้ ให้แล้ว แต่ละทีมจะทำาการอบอุ่นร่างกายที่ตาข่ายได้ทีมละ 5 นาที 7.2.2 ถ้าหัวหน้าทีมทั้งสองตกลงทำาการอบอุ่นร่างกายที่ ตาข่ายพร้อมกันจะอบอุ่นร่างกายได้ 6 นาที หรือ 10 นาที 7.3 ตำาแหน่งการเริ่มต้นของทีม (TEAM STARTING LINE-UP) 7.3.1 ทีมต้อมีผู้เล่น 6 คนเสมอ ในการแข่งขันตำาแหน่งเริ่ม ต้นของทีม แสดงถึงลำาดับการหมุนตำาแหน่งของผู้เล่นในสนามลำาดับนี้ ตะคงอยู่ตลอดเวลานั้น 7.3.2 ก่อนการเริ่มแข่งขันแต่ละเซตผู้ฝึกสอนต้องแจ้ง ตำาแหน่งเริ่มต้นเล่นทีมของตนเองในใบส่งตำาแหน่ง ซึ่งเขียนหมายเลข ของผู้เล่นและลงชื่อกำากับแล้ว ส่งให้ผู้ตัดสินที่ 2 หรือผู้บันทึกการ แข่งขัน 7.3.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในตำาแหน่งเริ่มต้นเล่นของทีม จะเป็น ผู้เล่นสำารองในเซตนั้น 7.3.4 เมื่อใบส่งตำาแหน่งเริ่มต้นเล่น ถูกนำาส่งให้ผู้ตัดสินที่ 2 12
  • 13. หรือผู้บันทึกการแข่งขันแล้ว จะไม่อนุญาตให้มีการเปลี่ยนแปลงใบส่ง ตำาแหน่งอีก นอกจากต้องการทำาการเปลี่ยนตัวผู้เล่นตามปกติ 7.3.5 ถ้าพบว่ามีการผิดพลาดระหว่างใบส่งตำาแหน่งกับ ตำาแหน่งของผู้เล่นในสนาม 7.3.5.1 ถ้าพบว่ามีการผิดพลาดก่อนเริ่มการแข่งขัน ของเซต ผู้เล่นต้องเปลี่ยนตำาแหน่งให้เป็นไปตามใบส่งตำาแหน่งโดยไม่มี การลงโทษ 7.3.5.2 อย่างไรก็ตามถ้าผู้ฝึกสอนต้องการให้ผู้เล่น เปลี่ยนที่ไม่ได้ระบุไว้ในใบส่งตำาแหน่ง ยังคงอยู่ในสนาม ผู้ฝึกสอนต้อง ของเปลี่ยนตัวตามปกติและต้องบันทึกลงในใบบันทึกการแข่งขัน 7.4 ตำาแหน่ง (POSITIONS) ขณะที่ผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟลูกบอล แต่ละทีมต้องอยู่ในแดนของ ตนเองตามลำาดับการหมุนตำาแหน่ง 7.4.1 ตำาแหน่งของผู้เล่นจำาแนกได้ดังนี้ 7.4.1.1 ผู้เล่นแถวหน้า 3 คน ที่อยู่ใกล้ตาข่ายเป็นผู้เล่น แถวหน้าอยู่ในตำาแหน่งที่ 4 ตำาแหน่งที่ 3 และตำาแหน่งที่ 2 7.4.1.2 ส่วนอีก 3 คน เป็นผู้เล่นแถวหลังอยู่ในตำาแหน่งที่ 5 ตำาแหน่งที่ 6 ตำาแหน่งที่ 1 ตำาแหน่งของผู้เล่นจะถือตำาแหน่งของเท้า ที่แตะพื้น เป็นเครื่องหมายกำาหนด ตำาแหน่งและหน้าที่ของผู้เล่น หมายเลข ๑ ตำาแหน่ง หลังขวา มีหน้าที่เสิร์ฟและรับลูกบอล ป้อนไปยังแดนหน้า หมายเลข ๒ ตำาแหน่ง หน้าขวา มีหน้าที่สกัดกั้น เล่นลูกบอล หน้าตาข่าย 13
  • 14. หมายเลข ๓ ตำาแหน่ง หน้ากลาง มีหน้าที่สกัดกั้น เล่น ลูกบอลหน้าตาข่าย หมายเลข ๔ ตำาแหน่ง หน้าซ้าย มีหน้าที่สกัดกั้น เล่นลูกบอล หน้าตาข่าย หมายเลข ๕ ตำาแหน่ง หลังซ้าย มีหน้าที่รับและป้อนลูกบอล ไปยังแดนหน้า หมายเลข ๖ ตำาแหน่ง กลางหลัง มีหน้าที่รับและป้อนลูกบอล ไปยังแดนหน้า 7.4.2 ความเกี่ยวข้องของตำาแหน่งระหว่างผู้เล่น 7.4.2.1 ผู้เล่นแถวหลังแต่ละคนต้องมีตำาแหน่งอยู่ด้าน หลังทั้งคู่ของตนเองที่เป็นผู้เล่นแถวหน้า 7.4.2.2 ผู้เล่นแถวหน้าและแถวหลังแต่ละคู่ต้องอยู่ใน ตำาแหน่งข้างเดียวกันตามลำาดับการหมุนตำาแหน่งที่ระบุไว้ในกติกาข้อ 7.4.1 7.4.3 ตำาแหน่งของผู้เล่นจะพิจารณาและควบคุมจาก ตำาแหน่งของเท้าที่สัมผัสพื้น ดังนี้ 7.4.3.1 ผู้เล่นแถวหน้าแต่ละคนต้องมีส่วนหนึ่ง ส่วนใดของรองเท้าอยู่ใกล้เส้นแบ่งแดนมากกว่าเท้าของผู้เล่นแดนตน 7.4.3.2 ผู้เล่นที่อยู่ทางขวา (หรือทางซ้าย) ต้อง มีส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าใกล้กับเส้นทางขวา (หรือซ้าย) มากกว่าผู้เล่น ที่อยู่ตำาแหน่งกลางของแถวเดียวกัน 7.4.4 เมื่อทำาการเสิร์ฟลูกบอลออกไปแล้ว ผู้เล่นสามารถ เคลื่อนที่ไปอยู่ตำาแหน่งใดก็ได้ในแดนและเขตรอบสนามตน 7.5 การผิดตำาแหน่ง (POSITIONAL FAULT) 7.5.1 ทีมจะผิดตำาแหน่ง ถ้าผู้เล่นคนใดคนหนึ่งไม่อยู่ไม่อยู่ ในตำาแหน่งที่ถูกต้อง ขณะที่ผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟลูกบอล 7.5.2 ถ้าผู้เสิร์ฟเสิร์ฟผิดกติกาขณะที่ทำาการเสิร์ฟ จะถือว่า การเสิร์ฟผิดปกติเกิดขึ้นก่อนการผิดตำาแหน่งของทีมตรงข้าม 7.5.3 ถ้าการเสิร์ฟผิดกติกาหลังจากทำาการเสิร์ฟออกไป แล้ว จะถือว่าการผิดตำาแหน่งเกิดขึ้นก่อน 7.5.4 การทำาผิดตำาแหน่งจะมีผลตามมาดังนี้ 7.5.4.1 เป็นฝ่ายแพ้ในการเล่นลูกครั้งนั้น 7.5.4.2 เปลี่ยนตำาแหน่งของผู้เล่นให้ถูกต้อง 7.6 การหมุนตำาแหน่ง (ROTATION) 7.6.1 ลำาดับการหมุนตำาแหน่งจะเป็นไปตามใบส่งตำาแหน่ง เริ่มต้นของทีมและควบคุมด้วยลำาดับการเสิร์ฟและตำาแหน่งของผู้เล่น ตลอดทั้งเซต 14
  • 15. 7.6.2 เมื่อทีมที่รับลูกเสิร์ฟได้สิทธ์ในการทำาเสิร์ฟ ผู้เล่นต้อง หมุนต้องหมุนไปตามเข็มนาฬิกาไป 1 ตำาแหน่ง ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๒ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๑ เพื่อทำาการ เสิร์ฟ ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๑ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๖ ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๖ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๕ ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๕ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๔ ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๔ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๓ ผู้เล่นตำาแหน่งที่ ๓ หมุนไปตำาแหน่งที่ ๒ การหมุนตำาแหน่งผู้เล่น ๑. การหมุนตำาแหน่งจะกระทำาเมื่อมีการเปลี่ยนเสิร์ฟโดยหมุน ไป ๑ ตำาแหน่ง ๒. การหมุนตำาแหน่งต้องหมุนไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ๓. ลำาดับการหมุนตำาแหน่งที่บันทึกไว้ในบันทึกในแต่ละเซท จะต้องคงที่ตลอดไป ทั้งเซท นั้น ๔. ลำาดับการหมุนตำาแหน่งในเซทใหม่แต่ละเซท อาจจะ เปลี่ยนเป็นผู้เล่นคนอื่นก็ได้ที่มี ชื่อ อยู่ในบันทึก 7.7 การหมุนตำาแหน่งผิด (ROTATIONAL FAULT) 7.7.1 การหมุนตำาแหน่งผิดเกิดขึ้นเมื่อ การเสิร์ฟไม่เป็นไป ตามตำาแหน่งการหมุนตำาแหน่ง และมีผลตามมาดังนี้ 7.7.1.1 เป็นฝ่ายแพ้ในเล่นลูกครั้งนั้น 7.7.1.2 ต้องเปลี่ยนตำาแหน่งของผู้เล่นให้ถูกต้อง 7.7.2 นอกจากนั้น ผู้บันทึกต้องตัดสินใจหยุดการแข่งขัน ทันทีที่มีการผิดตำาแหน่ง และยกเลิกคะแนนที่ได้ทำาทั้งหมดขณะที่ผิด ตำาแหน่งส่วนคะแนนของที่ทำาได้ทั้งหมดขณะผิดตำาแหน่งส่วนคะแนน 15
  • 16. ของทีมตรงข้ามให้คงไว้คงเดิมถ้าคะแนนขณะผิดตำาแหน่งไม่สามารถ ตรวจพบได้ให้ลงทาเพียงเป็นฝ่ายแพ้ในการเล่นลูกครั้งนั้นเท่านั้น กติกาข้อที่ 8 การเปลี่ยนตัว (SUBSTITUTION OF PLAYERS) การเปลี่ยนตัว คือ การที่ผู้เล่นคนหนึ่งออกจากสนาม และผู้เล่นอีก คนหนึ่งข้าไปแทนในตำาแหน่งนั้น หลังจากผู้บันทึกได้บันทึกการเปลี่ยน ตัว (ยกเว้นตัวบันทึกอิสระ) การเปลี่ยนตัวต้องได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน 8.1 ข้อจำากัดขอกการเปลี่ยนตัว (LIMIYION OF SUBSTITUTION) 8.1.1 ทีมหนึ่งจะเปลี่ยนตัวได้มากที่สุด 6 คนต่อเซต การ เปลี่ยนตัวแต่ละครั้งจะเปลี่ยนเพียง 1 คน หรือมากกว่าก็ได้ 8.1.2 ผู้เล่นที่เริ่มต้นเล่นในเซตนั้นจะเปลี่ยนตัวออกได้หนึ่ง ครั้งและกลับมาเข้าไปเล่นได้อีกหนึ่งครั้ง ในตำาแหน่งเดิม ตามใบส่ง ตำาแหน่ง 8.1.3 ผู้เล่นสำารองจะเปลี่ยนเข้าแทนผู้เล่นที่เริ่มต้นเล่นใน เซตนั้นได้เพียงครั้งเดียวในแต่ละเซต และผู้ที่จะเปลี่ยนตัวเข้ามาแทนผู้ เล่นสำารองต้องเป็นผู้เล่นคนเดิมเท่านั้น 8.2 การเปลี่ยนตัวที่ได้รับการยกเว้น (EXCEPTIONAL SUBSTITUTION) ผู้เล่นที่ได้รับบาดเจ็บ (ยกเว้นผู้รับอิสระ) จนแข่งขันต่อไปไม่ได้ จะเปลี่ยนตัวตามกติกา ถ้าเปลี่ยนตัวตามกติกาไม่ได้ ทีมนั้นจะได้รับการ ยกเว้นให้เปลี่ยนได้ นอกเหนือจากกติกาที่กำาหนดไว้ใน การเปลี่ยนตัวที่ ได้รับยกเว้นจะไม่นับรวม กับการเปลี่ยนตัวตามปกติ ไม่ว่ากรณีใด 8.3 การเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่ถูกทำาโทษออกจากการแข่งขันหรือขาด คุณสมบัติที่จะแข่งขันหรือ ขาดคุณสมบัติที่จะแข่งขัน (SUBSTITUTION FOR EXPULSION OR DISQUALIFICATION) ผู้เล่นที่ถูกทำาโทษให้ออกจากการแข่งขันหรือขาดคุณสมบัติที่จะแข่งขัน ต้องทำาการเปลี่ยนตัวตามกติกา ถ้าทำาการเปลี่ยนตัวตามกติกาไม่ได้ จะถือว่าทีมนั้นเป็นทีมที่ไม่พร้อมจะ แข่งขัน 8.4 การเปลี่ยนตัวที่ผิดกติกา (ILLEGAL SUBSTITUTION) 16
  • 17. 8.4.1 การเปลี่ยนตัวจะผิดกติกา ถ้านอกเหนือจากข้อจำากัด ที่กำาหนดไว้ในกติกาข้อ 8.1 8.4.2 เมื่อทีมทำาการเปลี่ยนตัวผิดกติกา และการแข่งขันได้ เล่นต่อไปแล้วจะต้องดำาเนินการดังนี้ (กติกาข้อ 9.1) 8.4.2.1 ทีมถูกลงโทษให้เป็นฝ่ายแพ้ในการเล่นลูก ครั้งนั้น 8.4.2.2 แก้ไขการเปลี่ยนตัวให้ถูกต้อง 8.4.2.3 คะแนนที่ทำาได้ตั้งแต่ทำาผิดกติกาของทีมนั้น จะถูกตัดออก ส่วนคะแนนของทีมตรงข้ามยังคงไว้ตามเดิม บทที่ 4 ลักษณะการแข่งขัน (PLAYING ACTION) กติกาข้อที่ 9 รูปแบบต่างๆของการเล่น (STATES OF PLAY) 9.1 ลูกบอลที่อยู่ในการเล่น (BALL IN PLAY) ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นตั้งแต่ขณะที่ทำาการเสิร์ฟ โดยผู้ตัดสินที่ 1 เป็นผู้อนุญาต (กติกาข้อ 13.3) 9.2 ลูกบอลที่ไม่ได้อยู่ในการเล่น หรือลูกตาย (BALL OUT OF PLAY) ลูกบอลที่ไม่ได้อยู่ในการเล่น ตั้งแต่ขณะที่มีการทำาผิดกติกาซึ่งผู้ ตัดสินคนใดคนหนึ่งจะเป็นผู้ให้สัญญาณนกหวีด การทำาผิดกติกาสิ้นสุด ลงพร้อมๆกับสัญญาณนกหวีด 9.3 ลูกบอลอยู่ในสนาม (BALL IN) ลูกบอลอยู่ในสนาม เมื่อลูกบอลถูกพื้นสนามแข่งขันรวมทั้งเส้นเขต สนาม (กติกาข้อ 1.1, 1.3.2) 9.4 ลูกบอลออกนอกสนาม (BALL OUT) ลูกบอลออกนอกสนามเมื่อ 9.4.1 บางส่วนของลูกบอลตกลงบนพื้น นอกเส้นเขตสนาม อย่างสมบูรณ์ 9.4.2 ลูกบอลถูกสิ่งของที่อยู่ภายนอกสนาม เพดาน หรือผู้ที่ ไม่ได้แข่งขันด้วย 9.4.3 ลูกบอลถูกเสาอากาศ เชือก เสา หรือตาข่ายที่อยู่นอก แถบข้าง (กติกาข้อ 2.3) 9.4.4 ลูกบอลข้ามตาข่าย นอกเขตแนวตั้งที่กำาหนดให้ 17
  • 18. ลูกบอลผ่านอย่างสมบูรณ์หรือเพียงบางส่วน (ยกเว้นกรณีกติกาข้อ 11.1.2, 11.1.1) 9.4.5 ลูกบอลลอดใต้ตาข่ายไปยังแดนของทีมตรงข้าม อย่างสมบูรณ์ กติกาข้อที่ 10 การเล่นลูกบอล (PLAYING THE BALL) แต่ละทีมต้องเล่นลูกบอลภายในพื้นที่เล่นลูกและที่ว่างของทีม ตนเอง (ยกเว้นกติกาข้อ 11.1.2) อย่างไรก็ตามผู้เล่นสามารถนำาบอลที่ ออกไปนอกเขตรอบสนามกลับมาเล่นต่อได้ 10.1 การถูกลูกบอลของทีม (TEAM HITS) ทีมถูกลูกบอลได้มากที่สุด 3 ครั้ง (นอกจากทำาการสกัดกั้นตาม กติกาข้อ 15.4.1) เพื่อส่งลูกบอลกลับไปยังทีมตรงข้าม ถ้าถูกลูกบอล มากกว่านี้ ถือว่าทีมทำาผิดกติกา “ถูกลูก 4 ครั้ง” การถูกลูกบอลของทีม นับรวมทั้งที่ผู้เล่นตั้งใจถูกหรือไม่ตั้งใจถูกก็ตาม 10.1.1 การถูกลูกบอลอย่างต่อเนื่อง (CONSECUTIVE CONTACTS) ผู้เล่นจะถูกลูกบอล 2 ครั้งติดต่อกันไม่ได้ (ยกเว้นกติกาข้อ 10.2.3, 15.2, 15.4.2) 10.1.2 การถูกลูกบอลพร้อมกัน (SIMULTENEOUS CONTACTS) ผู้เล่น 2 คนหรือ 3 คน อาจถูกลูกบอลพร้อมๆกันได้ในเวลาเดียวกัน 10.1.2.1 เมื่อผู้เล่นทีมเดียวกัน 2 คน (3 คน) ถูก บอลพร้อมๆกัน จะถือว่าเป็นการถูกบอล 2 ครั้ง (3 ครั้ง) ยกเว้นเมื่อ ทำาการสกัดกั้น ถ้าผู้เล่นหลายคนถึงลูกบอลพร้อมกัน แต่มีผู้เล่นถูก ลูกบอลเพียงคนเดียว จะถือว่าถูกลูกบอล 1 ครั้ง ถึงแม้ว่าผู้เล่นชนกันก็ ไม่ถือว่าผิดกติกา 10.1.2.2 เมื่อทั้งสองทีมถูกลูกบอลพร้อมๆกันเหนือ ตาข่าย และยังเล่นลูกบอลนั้นต่อไปได้ ทีมรับที่รับลูกนั้นสามารถถูก ลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง ถ้าลูกบอลออกนอกสนาม จะถือว่าทีมที่อยู่ฝั่งตรง ข้ามกับลูกบอลเป็นฝ่ายทำาลูกบอลออกนอกสนาม 10.1.2.3 ถ้าการถูกลูกบอลพร้อม ๆ กันทั้งสองทีม เป็นการจับลูก (CATCH) จะถือว่าผิดกติกาทั้งสองทีม และต้องเล่นลูก นั้นใหม่ 10.1.3 การเล่นลุกบอลโดยมีกาช่วยเหลือ (ASSISTED HIT) ภายในบริเวณพื้นที่เล่น ไม่อนุญาตให้ผู้เล่นอาศัยเพื่อนร่วมทีม 18
  • 19. หรือสิ่งใด ๆ ช่วยให้ไปถึงลูกบอลได้ อย่างไรก็ตาม ผู้เล่นที่กำาลังจะทำา ผิดกติกา(โดยกำาลังจะถูกตาข่ายหรือเส้นขั้นเขตแดน) อาจถูกฉุดหรือดึง โดยเพื่อนร่วมทีมได้) 10.2 การถูกลูกบอลในลักษณะต่าง ๆ (CHARACTERISTICS OF THE HIT) 10.2.1 ลูกบอลอาจถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายได้ 10.2.2 การถูกลูกบอลต้องเป็นการกระทบ ไม่ใช่จับหรือ โยน ลูกบอลจะสะท้อนกลับในทิศทางใดก็ได้ 10.2.3 ลูกบอลอาจถูกหลายส่วนของร่างกายได้ ถ้าการถูก นั้นเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน 10.2.3.1 ในการสกกัดกั้น ลูกบอลอาจถูกผู้สกัดกั้น คนเดียวหรือมากกว่าติดต่อกันได้ ถ้าการถูกลูกบอลเป็นลักษณะการเล่น ลูกบอลเพียงครั้งเดียว 10.2.3.2 การถูกลูกบอลครั้งแรกของทีม ลูกบอลอาจ ถูกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต่อเนื่องกันได้ ถ้าการถูกลูกบอลเป็นลักษณะ การเล่นลูกครั้งเดียว 10.3 การทำาผิดกติกาในการเล่นลูกบอล (FAULT IN PLATING THR BALL) 10.3.1 การถูกลูกบอล 4 ครั้ง ทีมถูกลูกบอล 4 ครั้งก่อนส่ง ลูกบอลไปยังทีมตรงข้าม 10.3.2 การถูกลูกบอลโดยมีการช่วยเหลือ ผู้เล่นอาศัย เพื่อนร่วมทีมหรือสิ่งของใด ๆ ช่วยให้ เข้าถึงลูกบอลภายในบริเวณพื้นที่เล่นลูก 10.3.3 การจับลูกบอล ผู้เล่นไม่ได้กระทบลูกแต่จับและ / หรือโยนลูกบอล 10.3.4 การถูกลูกบอลติดต่อกัน 2 ครั้ง ผู้เล่นถูกลูกบอล 2 ครั้ง หรือถูกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการเล่นลูก 1 ครั้ง กติกาข้อที่ 11 ลูกบอลที่บริเวณตาข่าย (BALL AT THE NET) 11.1 การข้ามตาข่ายของลูกบอล (BALL CROSSING THE NET) 11.1.1 ลูกบอลที่ส่งไปยังทีมตรงข้าม ต้องข้ามเหนือตาข่าย ภายในพื้นที่สำาหรับข้ามตาข่าย 19
  • 20. พื้นที่สำาหรับข้ามตาข่ายคือ พื้นที่ในแนวตั้งของตาข่ายที่ถูกกำาหนดด้วย สิ่งต่อไปนี้ 11.1.1.1 ส่วนตำ่าสุด โดยขอบบนของตาข่าย 11.1.1.2 ด้านข้าง โดยมีเสาอากาศและแนวสมมุติที่ สูงขึ้นไป 11.1.1.3 ส่วนบนสุด โดยเพดาน 11.1.2 ลูกบอลที่ข้ามแนวตาข่ายไปยังเขตรอบสนามของ ทีมตรงข้ามโดยทุกส่วนของลูกบอล หรือเพียงบางส่วนของลูกบอลอยู่ นอกแนวข้ามตาข่าย ลูกบอลอาจกลับมาเล่นต่อได้โดยเล่นลูกไม่เกิน 3 ครั้ง ถ้า 11.1.2.1 ผู้เล่นไม่ถูกแดนของทีมตรงข้าม 11.1.2.2 ลูกบอลที่เล่นกันมา ข้ามนอกเขตข้าม ตาข่ายลูกบอล ทางด้านเดียวกันของสนามทั้งลูกหรือเพียงบางส่วนของ ลูก ทีมตรงข้ามจะกีดขวางการเล่นลูกนี้ไม่ได้ 11.2 การถูกตาข่ายของลูกบอล (BALL TOUCHING THE NET) ลูกบอลอาจถูกตาข่ายได้ขณะที่กำาลังข้ามตาข่าย 11.3 ลูกบอลที่ชนตาข่าย (BALL IN THE NET) 11.3.1 ลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายยังเล่นต่อไปได้จนครบ 3 ครั้ง ตามกำาหนดการเล่นลูก 11.3.2 ถ้าลูกบอลทำาให้ลูกบอลทำาให้ตาข่ายฉีกขาด หรือ ทำาให้ตาข่ายหลุดให้ยกเลิกการเล่นลูกครั้งนั้นและนำามาเล่นกันใหม่ กติกาข้อที่ 12 ผู้เล่นบริเวณตาข่าย (PLAYER AT THE NET) 12.1 การลำ้าเหนือตาข่าย (REACHING BEYOND THE NET) 12.1.1 ในการสกัดกั้น ผู้สกัดกั้นอาจลำ้าตาข่ายเข้าไปถูก ลูกบอลได้ถ้าไม่กีดขวางการเล่นลูกของทีมตรงกันข้าม คือไม่ถูกลูกก่อน หรือไม่ถูกลูกขณะที่ทีมตรงกันข้ามทำาการรุก 12.1.2 ภายหลังการตบลูกบอล มือของผู้เล่นอาจลำ้าตาข่าย ได้ ถ้าขณะถูกลูกเป็นการถูกลูกบอลในแดนของทีมของตนเอง 12.2 การลำ้าใต้ตาข่าย (PENETRATION UNDER THE NET) 12.2.1 อนุญาตให้ลำ้าเข้าไปในแดนของทีมตรงข้ามใต้ ตาข่ายได้ ถ้าไม่ขัดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม 12.2.2 การลำ้าเส้นแบ่งแดนเข้าไปในแดนของทีมตรงข้าม 20
  • 21. 12.2.2.1 อนุญาตให้เท้าหรือมือข้างเดียว (2 ข้าง) ถูกแดนของทีมตรงข้ามได้ ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าหรือมือยังคงแตะ หรืออยู่เหนือเส้นแบ่งแดน 12.2.2.2 ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายจะถูกแดนของทีม ตรงข้ามไม่ได้ 12.2.3 ผู้เล่นอาจเข้าไปในแดนของทีมตรงข้ามได้หลังจาก ลูกตายแล้ว 12.2.4 ผู้เล่นอาจลำ้าเข้าไปในเขตรอบสนามของทีมตรงกัน ข้ามได้ ถ้าไม่กีดขวางการเล่นของทีมตรงกันข้าม 12.3 การถูกตาข่าย (CONTACT WITH THE NET) 12.3.1 การถูกตาข่ายหรือเสาอากาศไม่ผิดกติกา เว้นแต่ เมื่ออยู่ในลักษณะเล่นลูกหรือกีดขวางการเล่น การเล่นลูกบางลักษณะ อาจรวมถึงลักษณะที่ผู้เล่นไม่ได้ถูกลูกบอลในขณะนั้นด้วย 12.3.2 เมื่อผู้เล่นได้เล่นลูกบอลไปแล้ว ผู้เล่นอาจถูกเสา เชือก หรือสิ่งใด ๆ ที่อยู่นอกระยะความยาวของตาข่ายได้ ถ้าไม่ กีดขวางการเล่น 12.3.3 ถ้าลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายทำาให้ตาข่ายไปถูกผู้เล่น ทีมตรงข้ามไม่ถือว่าผิดกติกา 12.4 การผิดกติกาของผู้เล่นที่ตาข่าย (PLAYERS’ FAULTS AT THE NET) 12.4.1 ผู้เล่นถูกลูกบอลหรือถูกผู้เล่นทีมตรงข้าม ในแดน ของทีมตรงกันข้าม หรือระหว่างที่ทีมตรงกันข้ามทำาการรุก 12.4.2 ผู้เล่นลำ้าเข้าไปในที่ว่างใต้ตาข่ายของทีมตรงข้าม และกีดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม 12.4.3 ผู้เล่นลำ้าเข้าไปในแดนของทีมตรงข้าม 12.4.4 ผู้เล่นถูกตาข่าย หรือเสาอากาศขณะอยู่ในลักษณะ ของการเล่นลูก หรือกีดขวางการเล่น กติกาข้อที่ 13 การเสิร์ฟ (SERVICE) การเสิร์ฟ เป็นการนำาลูกเข้าสู่การเล่น โดยผู้เล่นตำาแหน่งหลังขวา ที่ยืนอยู่ในเขตเสิร์ฟ 13.1 การเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซต (FIRST SERVICE IN A SET) 21
  • 22. 13.1.1 ทีมใดจะได้เสิร์ฟลูกแรกในเซตที่ 1 และเซตตัดสิน (เซต 5) มีผลมาจากการตัดสินใจของทีมเมื่อทำาการเสี่ยง 13.1.2 ในเซตอื่น ๆทีมที่ไม่ได้เสิร์ฟลูกแรกในเซตที่ผ่านมา จะเป็นทีมที่ทำาการเสิร์ฟลูกแรก 13.2 ลำาดับการเสิร์ฟ (SERVICE ORDER) 13.2.1 ลำาดับการเสิร์ฟของผู้เล่นต้องเป็นไปตามที่ บันทึกไว้ในใบส่งตำาแหน่ง 13.2.2 หลังจากากรเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซตผู้เล่น ที่เสิร์ฟครั้งต่อไปจะเป็นดังนี้ 13.2.2.1 เมื่อฝ่ายเสิร์ฟชนะการเล่นลูกนั้น ผู้ ที่ทำาการเสิร์ฟอยู่แล้ว (หรือผู้เล่นสำารองเปลี่ยนตัวเข้ามาแทน) จะทำาการ เสิร์ฟต่อไปอีก 13.2.2.2 เมื่อฝ่ายรับลูกเสิร์ฟชนะในการเล่นลูก นั้นจะได้สิทธ์ทำาการเสิร์ฟและต้องหมุนตำาแหน่งก่อนทำาการเสิร์ฟ ผู้เล่น ที่หมุนจากตำาแหน่งหน้าขวาไปยังหลังขวาจะเป็นผู้เสิร์ฟ 13.3 การอนุญาตให้เสิร์ฟ (AUTHORIZATION OF THE SERVICE) ผู้ตัดสินที่ 1 เป็นผู้อนุญาตให้เสิร์ฟ หลังจากการตรวจดูว่าทั้งสอง ทีมพร้อมแข่งขัน และผู้เสิร์ฟถือลูกบอลไว้แล้ว 13.4 การปฏิบัติในการเสิร์ฟ (EXECUTION OF THE SERVICE) 13.4.1 หลังจากผู้เสิร์ฟโยนหรือปล่อยลูกบอลออกจากมือ แล้วจะเสิร์ฟด้วยมือหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของแขนเพียงข้างเดียว 13.4.2 อนุญาตให้ทำาการโยนลูกบอลเพื่อทำาการเสิร์ฟเพียง ครั้งเดียว แต่อนุญาตให้เดาะหรือเคลื่อนไหวลูกบอลในมือได้ 13.4.3 ขณะทำาการเสิร์ฟหรือกระโดดเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟต้องไม ถูกพื้นที่เขตสนาม (รวมทั้งเส้นหลังด้วย) หรือพื้นที่นอกเขตเสิร์ฟหลัง จากทำาการเสิร์ฟแล้ว ผู้เสิร์ฟจึงสามารถเหยียบหรือถูกพื้นนอกเขตเสิร์ฟ และพื้นในเขตสนามได้ 13.4.4 ผู้เสิร์ฟต้องทำาการเสิร์ฟลูกภายใน 8 นาที หลังจาก ผู้ตัดสินที่ 1 เป่านกหวีดให้ทำาการเสิร์ฟ 13.4.5 การเสิร์ฟก่อนสัญญาณนกหวีดของผู้ตัดสิน ต้อง ยกเลิกและให้ทำาการเสิร์ฟใหม่ 13.5 การกำาบัง (SCREENING) 13.5.1 ผู้เล่นของทีมที่กำาลังจะทำาการเสิร์ฟ คนเดียวหรือ หลายคนก็ตามไม่บังทีมตรงข้ามเพื่อมิให้มองเห็นผู้เสิร์ฟเคลื่อนไหวแขน 22
  • 23. กระโดด หรือเคลื่อนที่ไปข้าง ๆ ขณะที่กำาลังทำาการเสิร์ฟ เพื่อบังทิศทาง ที่ลูกบอลพุ่งไป จะถือว่าเป็นการกำาบัง 13.6 การกระทำาผิดระหว่างทำาการเสิร์ฟ (FAULTS MADE DURING THE SEERVIC) 13.6.1 การเสิร์ฟที่ผิดกติกา การผิดกติกาต่อไปนี้จะต้อง เปลี่ยนเสิร์ฟ ถึงแม้ว่าทีมตรงข้ามจะ ผิดตำาแหน่ง 13.6.1.1 ทำาการเสิร์ฟผิดลำาดับการเสิร์ฟ 13.6.1.2 ทำาการเสิร์ฟไม่ถูกต้อง 13.6.2 การผิดกติกาหลังจากการเสิร์ฟลูกบอลออกไปอย่าง ถูกต้องแล้ว การเสิร์ฟนั้นอาจผิดกติกาได้ 13.6.2.1 ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นของทีมที่ทำาการเสิร์ฟ หรือไม่ผ่านพื้นที่ว่างเหนือตาข่ายอย่างสมบูรณ์ 13.6.2.2 ลูก “ออก” กติกาข้อ 9.4 13.6.2.3 ลูกบอลผ่านเหนือการกำาบัง 13.7 การผิดกติกาหลังจากการเสิร์ฟและการผิด ตำาแหน่ง(FAULTS MADE AFTER THE SERVICE AND POSITIONAL FAULT) 13.7.1 ถ้าผู้เสิร์ฟทำาการเสิร์ฟผิดกติกา (ทำาการเสิร์ฟไม่ถูก ต้อง หรือ ผิดลำาดับการเสิร์ฟเป็นต้น) และทีมตรงข้ามผิดตำาแหน่งการ เสิร์ฟผิดกติกาจะถูกทำาโทษ 13.7.2 ถ้าการเสิร์ฟกระทำาอย่างถูกต้อง แต่ผิดพลาดใน เวลาต่อมา (ลูกออก หรือ ผ่านการกำาบังเป็นต้น) จะถือว่าการผิด ตำาแหน่งเกิดขึ้นก่อน และจะทำาโทษการผิดตำาแหน่ง กติกาข้อที่ 14 การรุก (ATTACK HIT) 14.1 การรุก (ATTACK HIT) 14.1.1 การกระทำาใด ๆ ที่ส่งลูกบอลไปยังทีมตรงข้าม ยกเว้นการเสิร์ฟและการสกัดกั้น ถือว่าเป็นการรุก 14.1.2 ขณะทำาการรุก อนุญาตให้ใช้ปลายนิ้วเล่นลูกได้ถ้า การถูกลูกเป็นไปอย่างชัดเจน และไม่ได้ใช้ฝ่ามือจับหรือโยนลูกบอล ออกไป 14.1.3 การรุกจะสมบูรณ์เมื่อลูกได้ข้ามแนวดิ่งของตาข่าย ไป แล้วทั้งลูกหรือเมื่อทีมตรงข้ามถูกลูก 23
  • 24. 14.2 ข้อกำาจัดของการรุก (RESTRICTIONS OF THE ATTACK HIT) 14.2.1 ผู้เล่นแถวหน้าสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง เท่าใดก็ได้ ถ้าการถูกลูกบอลอยู่ภายในแดนของผู้เล่นเอง 14.2.2 ผู้เล่นแถวหลังสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง เท่าใดก็ได้ จากหลังเขตรุก 14.2.2.1 ขณะกระโดด เท้าข้างหนึ่ง (ทั้งสองข้าง) ต้องไม่แตะหรือข้ามเส้นรุก 14.2.2.2 หลังจากตบลูกแล้ว จึงจะลงยืนในเขตรุกได้ 14.2.3 ผู้เล่นแถวหลังสามารถทำาการรุกในเขตรุกได้ ถ้าถูก ลูกบอลในขณะที่ทุกส่วนของลูกบอลไม่อยู่เหนือกว่าขอบบนสุดของ ตาข่าย 14.2.4 ไม่อนุญาตให้ผู้เล่นทุกคนตบลูกบอลที่ทีมตรงข้าม เสิร์ฟมา เมื่อลูกบอลอยู่ในเขตรุก และลูกบอลอยู่ในเขตรุก และลูกบอลทั้งลูกอยู่เหนือขอบบนสุดของ ตาข่าย 14.3 การรุกที่ผิดกติกา (FAULTS OF THE ATTACK HIT) 14.3.1 ถ้าลูกบอลในแดนขิงทีมตรงข้าม 14.3.2 ตบลูกออกนอกเขตสนาม 14.3.3 ผู้เล่นแถวหลังทำาการรุกในเขตรุก ขณะที่ลูกบอลอยู่ เหนือขอบบนสุดของตาข่ายทั้ง ลูก 14.3.4 ตบลูกบอลที่ทีมตรงข้ามเสิร์ฟมา ขณะที่ลูกบอลอยู่ ในเขตรุกและอยู่เหนือขอบ บนสุดของตาข่ายทั้งลูก 14.3.5 ตัวรับอิสระทำาการรุก โดยขณะถูกลูกบอล ลูกบอล ทั้งลูกอยู่เหนือขอบบนสุดของตา ข่าย 14.3.6 ผู้เล่นทำาการรุกขณะลูกบอลอยู่เหนือขอบบนสุดของ ตาข่าย โดยตัวรับอิสระที่อยู่ในแดนหน้าเป็นผู้ใช้นิ้วส่งลูกบอลมาให้ด้วย การเล่นลูกบนมือบน กติกาข้อที่ 15 การสกัดกั้น (BLOCK) 15.1 การสกัดกั้น (BLOCK) 15.1.1 การสกัดกั้นคือ การเล่นของผู้เล่นที่อยู่ชิดตาข่าย เพื่อป้องกันลูกบอลที่จะมาจากทีมตรงข้าม โดยเอื้อมมือสูงกว่าระดับ 24
  • 25. สูงสุดของตาข่ายผู้เล่นแถวหน้าเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้ทำาการสกัดกั้น ได้ 15.1.2 ความพยายามที่จะสกัดกั้น คือลักษณะของการ ทำาการสกัดกั้นแต่ไม่ถูกลูกบอล 15.1.3 การสกัดกั้นที่สมบูรณ์ คือการสกัดกั้นที่สมบูรณ์ คือ การสกัดกั้นที่ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอล 15.1.4 การสกัดกั้นเป็นกลุ่ม คือการสกัดกั้นโดยผู้เล่นสอง หรือสามคนที่อยู่ใกล้ ๆ กัน การสกัดกั้นจะสมบูรณ์เมื่อผู้เล่นคนใดคน หนึ่งถูกลูกบอล 15.2 การถูกลูกบอลขณะทำาการสกัดกั้น (BLOCK CONTACT) การถูกลูกบอลหลายครั้ง (อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง) โดยผู้สกัด กั้นคนเดียวหรือมากกว่าอาจเกิดขึ้นได้ ถ้าการถูกลูกนั้นเป็นลักษณะ ทำาการสกัดกั้นเพียงครั้งเดียว 15.3 การสกัดกั้นในแดนของทีมตรงข้าม (BLOCKING WITHIN THE OPPONENT’S SPACE) ในการสกัดกั้น ผู้เล่นยื่นมือแขนลำ้าตาข่ายได้ ถ้าไม่กีดขวางการเล่นของ ทีมตรงข้าม การสกัดกั้นจะถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ามไม่ได้ จนกว่าทีมตรงข้ามจะถูกลูกเพื่อทำาการรุกแล้ว 15.4 การสกัดกั้นและการถูกลูกบอลของทีม (BLOCK AND TEAM HITS) 15.4.1 การถูกลูกบอลโดยการสกัดกั้น ไม่นับเป็นการถูก ลูกบอลของทีม หลังจากถูกลูกบอลโดยการสกัดกั้นแล้ว ทีมนั้นยังถูก ลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง เพื่อส่งลูกกลับไปยังทีมตรงข้าม 15.4.2 หลังจากทำาการสกัดกั้น ผู้ถูกลูกแรกจะเป็นผู้เล่นคน ใดคนหนึ่งรวมทั้งผู้เล่นที่ถูกลูกบอลในการสกัดกั้นด้วยก็ได้ 15.5 การสกัดกั้นลูกเสิร์ฟ (BLOCKING THE SERVICE) ห้ามสกัดกั้นลูกบอลที่ทีมตรงข้ามเสิร์ฟมา 15.6 การสกัดกั้นที่ผิดกติกา (BLOCKING FAULT) 15.6.1 ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ามก่อน หรือพร้อมกับการถูกลูกเพื่อทำาการรุกของทีมตรงข้าม 15.6.2 ผู้เล่นแถวหลังหรือตัวรับอิสระ ทำาการสกัดกั้นหรือ รวมกลุ่มทำาการสกัดกั้นโดยสมบูรณ์ 15.6.3 สกัดกั้นลูกเสิร์ฟของทีมตรงข้าม 15.6.4 ลูกบอลถูกสกัดกั้นแล้วออกนอกเขตสนาม 15.6.5 สกัดกั้นลูกบอลด้านนอกเสาอากาศในแดนของทีม ตรงข้าม 25
  • 26. 15.6.6 ตัวรัยอิสระพยายามทำาการสกัดกั้นด้วยตัวเองหรือ รวมกับผู้เล่นอื่น บทที่ 5 การหยุดการแข่งขันและการถ่วงเวลา (INTERRUPTION AND DELATS) กติกาข้อที่ 16 การหยุดการแข่งขันตามกติกา (REGULAR GAME INTERRUPTION) การหยุดการแข่งขันตามกติกา ได้แก่ การขอเวลานอกและการ เปลี่ยนตัว 16.1 จำานวนครั้งของการขอหยุดการแข่งขันตามกติกา (NUMBER OF REGULAR INTERRUPTIONS) แต่ละทีมของเวลานอกได้อย่างมากที่สุด 2 ครั้ง และเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้ 6 คนต่อเซต 16.2 การขอหยุดการแข่งขันตามกติกา (REQUEST FOR REGULAR INTERRUPTIONS) 16.2.1 ผู้ฝึกสอนหรือหัวหน้าทีมที่ลงแข่งขันเท่านั้นที่ขอ หยุดการแข่งขันได้ การขอหยุดการแข่งขันได้ การขอหยุดการแข่งขัน กระทำาโดยแสดงสัญญาณมือเมื่อลูกตาย และก่อนสัญญาณนกหวีด ทำาการเสิร์ฟ 16.2.2 การขอเปลี่ยนตัวก่อนเริ่มการแข่งขันของเซต สามารถทำาได้ และต้องบันทึกไว้เหมือนกับการขอเปลี่ยนตัวปกติในเซต นั้น 16.3 ลำาดับการขอหยุดการแข่งขัน (SEQUENCE OF INTERRUPTION) 16.3.1 ทีมที่สามารถขอเวลานอกหนึ่งหรือสองครั้งติดต่อ กันได้และตามด้วยการขอเปลี่ยนตัวได้อีกด้วย โดยไม่ต้องรอให้มีการ แข่งขันแทรกระหว่างการขอหยุดการแข่งขันแต่ละครั้ง 16.3.2 ไม่อนุญาตให้ทีมขอเปลี่ยนตัวสองครั้งติดต่อกัน เว้นเสียแต่ว่ามี การแข่งขันเกิดขึ้นหลังจากการขอเปลี่ยนตัวครั้งแรกแล้วจึงขอเปลี่ยน ตัวครั้งต่อไปได้ การเปลี่ยนตัวแต่ละครั้งจะเปลี่ยนครั้งละสองคนหรือ มากว่าก็ได้ 26