SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
กรณีศึกษา
ประเภทธุรกิจ: อาหารและเครื่ องดื่ม (การผลิตน้าแข็งเพื่อการบริโภค)
พื้นที่ประกอบการ: 5 ไร่
ผลิตภัณฑ์หลักและสัดส่วน: 1. น้าแข็งหลอด 80%
2. น้าแข็งบด 20%
สัดส่วนการขาย: ในประเทศ 100% (ร้านค้าในจังหวัด 100 %)
จานวนบุคลากร (คน): 40
ระบบคุณภาพ: GMP
ข้อมูลเบื้องต้น
กรณีศึกษา
ปัญหา
โรงงานผลิตน้าแข็งที่เป็นกรณีศึกษาในครั้งนี้ มีความสูญเสียในกระบวนการทางาน และมีต้นทุนการใช้พลังงานใน
กระบวนการผลิตค่อนข้างสูง ดังนั้นทางโรงงานจึงมุ่งเน้นในส่วนของการลดความสูญเสียในกระบวนการทางาน โดย
นาเทคนิคการลดความสูญเสีย 7 ประการมาประยุกต์ใช้ ทั้งนี้เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดต้นทุนในกระบวนการผลิตลง
อีกทั้งยังส่งผลทาให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งในส่วนของราคาขายได้ดียิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์และเป้าหมายในการดาเนินงาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อลดความสูญเสียในกระบวนการผลิต
2. เพื่อลดต้นทุนการผลิต
เป้าหมาย
1. สามารถลดความสูญเสียในกระบวนการผลิตได้ไม่น้อยกว่า 10%
2. สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ไม่น้อยกว่า 10%
กรณีศึกษา
แนวทางการดาเนินงาน
การลดความสูญเสียในกระบวนการทางาน โดยนาเทคนิคการลดความสูญเสีย 7 ประการ มาประยุกต์ใช้
1. แนะนาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการลดต้นทุนในการผลิต โดยการค้นหาความสูญเสีย 7
ประการในกระบวนการผลิตรวมทั้งแนะนาแนวทางในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และการกาหนดแนวทางการ
แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
2. วิเคราะห์กระบวนการผลิต และค้นหาความสูญเสียในกระบวนการผลิต ตลอดกระบวนการผลิตในทุกผลิตภัณฑ์
3. คัดเลือกความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ต้องแก้ไขเป็นกรณีเร่งด่วน พร้อมวิเคราะห์หาสาเหตุของความสูญเสีย
ดังกล่าว และกาหนดแนวทางการแก้ไขเพื่อลดความสูญเสียที่พบภายใต้กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
4. ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขความสูญเสียที่พบ
5. ดาเนินการติดตามผลการแก้ไขตามแนวทางที่ได้ระบุไว้
กรณีศึกษา
ผลการดาเนินงาน
กิจกรรมที่ปฏิบัติ ผลการดาเนินงานเมื่อเทียบกับเป้าหมาย
เปอร์เซ็นต์
ความสาเร็จวัตถุ
ประสงค์
กิจกรรม
เป้า
หมาย
ผลการดาเนินงาน
1. 1. แนะนาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการ
ลดต้นทุนในการผลิตโดยการค้นหาความสูญเสีย 7
ประการในกระบวนการผลิตรวมทั้งแนะนาแนวทางในการ
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและการกาหนดแนวทางการ
แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
1. 1. มีเอกสารอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ
การลดต้นทุนในการผลิตโดยการค้นหาความสูญเสีย 7 ประการในกระบวนการ
ผลิต 1 ฉบับ (อบรม 1 ครั้ง : 3 ชั่วโมง)
100%
2. วิเคราะห์กระบวนการผลิตและค้นหาความสูญเสียใน
กระบวนการผลิต ตลอดกระบวนการผลิตในทุกผลิตภัณฑ์
2. ประเด็นของความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ค้นพบคือ กระบวนการผลิตขาด
ประสิทธิภาพ เครื่องจักรมีประสิทธิภาพการผลิตต่า คิดเป็นมูลค่าความสูญเสีย
7,459,200 บาท/ปี (621,600 บาท/เดือน)
100%
3. คัดเลือกความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ต้องแก้ไข
เป็นกรณีเร่งด่วน พร้อมวิเคราะห์หาสาเหตุของความสูญเสีย
ดังกล่าว และกาหนดแนวทางการแก้ไขเพื่อลดความสูญเสีย
ที่พบภายใต้กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
3. ประเด็นของความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ต้องแก้ไขเป็นกรณีเร่งด่วนคือ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของเครื่องจักร ด้วยการตรวจเช็คสภาพของ
เครื่องจักรเพื่อหาจุดที่บกพร่องที่ทาให้ประสิทธิภาพการผลิตต่า แล้วดาเนินการ
แก้ไขข้อบกพร่องนั้นๆ ซึ่งจากการตรวจเช็คและเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าเป็น
เพราะเครื่องจักรเก่า และขาดการบารุงรักษาที่ดี จึงทาให้เครื่องจักรทางานได้ไม่เต็ม
ประสิทธิภาพ
100%
4. ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขความสูญเสียที่พบ 4. ความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ได้รับการแก้ไขปัญหาส่งผลทาให้การ
สูญเสียในส่วนของกระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิภาพจากเดิม7,459,200 บาท/ปี
ลดลง 3,427,200 บาท/ปี คิดเป็น 46% (285,600 บาท/เดือน) และลดต้นทุนการผลิต
ลงได้10% ทาให้ต้นทุนลดลงเหลือ1.44 บาท/กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า6,182 บาท/
วัน (185,460 บาท/เดือน)
100%
กรณีศึกษา
การคานวณมูลค่าความสูญเสีย
รายละเอียด ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง ผลต่าง
ปริมาณการผลิตตามแผน (ถุง/รอบ) 175 175 0
ปริมาณการผลิตจริงเฉลี่ย (ถุง/รอบ) 138 155 -17
ความสูญเสีย (ถุง/รอบ) 37 20 17
คิดเป็น % ความสูญเสีย 21.14 11.43 9.71
จานวนรอบการผลิตต่อวัน 14 14 0
ราคาขาย (บาท/ถุง) 40 40 0
* 1 ถุง น้าหนัก 20 กิโลกรัม 0
มูลค่าความสูญเสีย(บาท/รอบ) 1,480 800 680
มูลค่าความสูญเสีย(บาท/วัน) 20,720 11,200 9,520
มูลค่าความสูญเสีย(บาท/เดือน) 621,600 336,000 285,600
มูลค่าความสูญเสีย(บาท/ปี) 7,459,200 4,032,000 3,427,200
**ผลจากการดาเนินงานสามารลดต้นทุนการผลิต ได้ไม่น้อยกว่า 10% และคิดเป็นมูลค่าผลประหยัดได้เท่ากับ 3,427,200 บาท/ปี
กรณีศึกษา

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

กรณีศึกษาโรงงานผลิตน้ำแข็งเพื่อการบริโภค

  • 2. ประเภทธุรกิจ: อาหารและเครื่ องดื่ม (การผลิตน้าแข็งเพื่อการบริโภค) พื้นที่ประกอบการ: 5 ไร่ ผลิตภัณฑ์หลักและสัดส่วน: 1. น้าแข็งหลอด 80% 2. น้าแข็งบด 20% สัดส่วนการขาย: ในประเทศ 100% (ร้านค้าในจังหวัด 100 %) จานวนบุคลากร (คน): 40 ระบบคุณภาพ: GMP ข้อมูลเบื้องต้น กรณีศึกษา
  • 3. ปัญหา โรงงานผลิตน้าแข็งที่เป็นกรณีศึกษาในครั้งนี้ มีความสูญเสียในกระบวนการทางาน และมีต้นทุนการใช้พลังงานใน กระบวนการผลิตค่อนข้างสูง ดังนั้นทางโรงงานจึงมุ่งเน้นในส่วนของการลดความสูญเสียในกระบวนการทางาน โดย นาเทคนิคการลดความสูญเสีย 7 ประการมาประยุกต์ใช้ ทั้งนี้เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดต้นทุนในกระบวนการผลิตลง อีกทั้งยังส่งผลทาให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งในส่วนของราคาขายได้ดียิ่งขึ้น วัตถุประสงค์และเป้าหมายในการดาเนินงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดความสูญเสียในกระบวนการผลิต 2. เพื่อลดต้นทุนการผลิต เป้าหมาย 1. สามารถลดความสูญเสียในกระบวนการผลิตได้ไม่น้อยกว่า 10% 2. สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ไม่น้อยกว่า 10% กรณีศึกษา
  • 4. แนวทางการดาเนินงาน การลดความสูญเสียในกระบวนการทางาน โดยนาเทคนิคการลดความสูญเสีย 7 ประการ มาประยุกต์ใช้ 1. แนะนาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการลดต้นทุนในการผลิต โดยการค้นหาความสูญเสีย 7 ประการในกระบวนการผลิตรวมทั้งแนะนาแนวทางในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และการกาหนดแนวทางการ แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ 2. วิเคราะห์กระบวนการผลิต และค้นหาความสูญเสียในกระบวนการผลิต ตลอดกระบวนการผลิตในทุกผลิตภัณฑ์ 3. คัดเลือกความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ต้องแก้ไขเป็นกรณีเร่งด่วน พร้อมวิเคราะห์หาสาเหตุของความสูญเสีย ดังกล่าว และกาหนดแนวทางการแก้ไขเพื่อลดความสูญเสียที่พบภายใต้กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ 4. ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขความสูญเสียที่พบ 5. ดาเนินการติดตามผลการแก้ไขตามแนวทางที่ได้ระบุไว้ กรณีศึกษา
  • 5. ผลการดาเนินงาน กิจกรรมที่ปฏิบัติ ผลการดาเนินงานเมื่อเทียบกับเป้าหมาย เปอร์เซ็นต์ ความสาเร็จวัตถุ ประสงค์ กิจกรรม เป้า หมาย ผลการดาเนินงาน 1. 1. แนะนาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการ ลดต้นทุนในการผลิตโดยการค้นหาความสูญเสีย 7 ประการในกระบวนการผลิตรวมทั้งแนะนาแนวทางในการ วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและการกาหนดแนวทางการ แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ 1. 1. มีเอกสารอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ การลดต้นทุนในการผลิตโดยการค้นหาความสูญเสีย 7 ประการในกระบวนการ ผลิต 1 ฉบับ (อบรม 1 ครั้ง : 3 ชั่วโมง) 100% 2. วิเคราะห์กระบวนการผลิตและค้นหาความสูญเสียใน กระบวนการผลิต ตลอดกระบวนการผลิตในทุกผลิตภัณฑ์ 2. ประเด็นของความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ค้นพบคือ กระบวนการผลิตขาด ประสิทธิภาพ เครื่องจักรมีประสิทธิภาพการผลิตต่า คิดเป็นมูลค่าความสูญเสีย 7,459,200 บาท/ปี (621,600 บาท/เดือน) 100% 3. คัดเลือกความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ต้องแก้ไข เป็นกรณีเร่งด่วน พร้อมวิเคราะห์หาสาเหตุของความสูญเสีย ดังกล่าว และกาหนดแนวทางการแก้ไขเพื่อลดความสูญเสีย ที่พบภายใต้กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ 3. ประเด็นของความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ต้องแก้ไขเป็นกรณีเร่งด่วนคือ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของเครื่องจักร ด้วยการตรวจเช็คสภาพของ เครื่องจักรเพื่อหาจุดที่บกพร่องที่ทาให้ประสิทธิภาพการผลิตต่า แล้วดาเนินการ แก้ไขข้อบกพร่องนั้นๆ ซึ่งจากการตรวจเช็คและเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าเป็น เพราะเครื่องจักรเก่า และขาดการบารุงรักษาที่ดี จึงทาให้เครื่องจักรทางานได้ไม่เต็ม ประสิทธิภาพ 100% 4. ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขความสูญเสียที่พบ 4. ความสูญเสียในกระบวนการผลิตที่ได้รับการแก้ไขปัญหาส่งผลทาให้การ สูญเสียในส่วนของกระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิภาพจากเดิม7,459,200 บาท/ปี ลดลง 3,427,200 บาท/ปี คิดเป็น 46% (285,600 บาท/เดือน) และลดต้นทุนการผลิต ลงได้10% ทาให้ต้นทุนลดลงเหลือ1.44 บาท/กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า6,182 บาท/ วัน (185,460 บาท/เดือน) 100% กรณีศึกษา
  • 6.
  • 7. การคานวณมูลค่าความสูญเสีย รายละเอียด ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง ผลต่าง ปริมาณการผลิตตามแผน (ถุง/รอบ) 175 175 0 ปริมาณการผลิตจริงเฉลี่ย (ถุง/รอบ) 138 155 -17 ความสูญเสีย (ถุง/รอบ) 37 20 17 คิดเป็น % ความสูญเสีย 21.14 11.43 9.71 จานวนรอบการผลิตต่อวัน 14 14 0 ราคาขาย (บาท/ถุง) 40 40 0 * 1 ถุง น้าหนัก 20 กิโลกรัม 0 มูลค่าความสูญเสีย(บาท/รอบ) 1,480 800 680 มูลค่าความสูญเสีย(บาท/วัน) 20,720 11,200 9,520 มูลค่าความสูญเสีย(บาท/เดือน) 621,600 336,000 285,600 มูลค่าความสูญเสีย(บาท/ปี) 7,459,200 4,032,000 3,427,200 **ผลจากการดาเนินงานสามารลดต้นทุนการผลิต ได้ไม่น้อยกว่า 10% และคิดเป็นมูลค่าผลประหยัดได้เท่ากับ 3,427,200 บาท/ปี กรณีศึกษา