SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
อาหารในญี่ปุ่น
日本料理
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับอาหารมีความรู้เพิ่มขึ้น
2.เพื่อใช้เป็นสื่อการสอนในวิชาต่างประเทศ
3.เพื่อให้ผู้ที่สนใจนาข้อมูลไปเผยแพร่ได้
4.เพื่อให้ผู้ที่ไม่เคยทราบเกี่ยวกับอาหารญี่ปุ่นได้มีความรู้
อูด้ง
ความเป็นมาอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นถูกพัฒนามานานหลายศตวรรษ อันเป็นผลจากการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและการเมืองในประเทศ อาหารญี่ปุ่นถูกเปลี่ยนแปลง
อย่างมากเมื่อเข้าสู่สมัยกลางซึ่งเป็นยุคสมัยที่ญี่ปุ่นถูกปกครองด้วยระบอบ
ศักดินาอันนาโดยโชกุน ต่อมาในช่วงต้นยุคใหม่หลังการเปิดประเทศ ญี่ปุ่น
รับวัฒนธรรมจากต่างชาติ โดยเฉพาะวัฒนธรรมตะวันตก ซึ่งมีอิทธิพลทา
ให้วัฒนธรรมการกินของชาวญี่ปุ่นเปลี่ยนแปลงอย่างมาก
อาหารญี่ปุ่นที่เป็นนิยม
อาหารญี่ปุ่นอยู่บนพื้นฐานของการจัดสารับอันประกอบด้วยอาหารจาน
หลัก โดยเป็นข้าวหรืออาหารเส้น ซุป และกับข้าวหรือโอะกะซุ ซึ่งทา
จาก ปลา เนื้อสัตว์ ผักและเต้าหู้ ปรุงรสด้วยดะชิ (หัวเชื้อน้าซุป) มิ
โซะ (เต้าเจี้ยวญี่ปุ่น) และโชยุ (ซีอิ๊วญี่ปุ่น) ทาให้อาหารญี่ปุ่นส่วนมาก มีไขมันต่า
แต่มีปริมาณเกลือสูง
ข้าว
ข้าวญี่ปุ่นมีเมล็ดสั้น และเมื่อสุกแล้วจะเหนียวเล็กน้อย ชาวญี่ปุ่นนิยมรับประทานข้าว
ขาว คือข้าวที่ถูกขัดสีจะไม่เหลือเยื่อหุ้มเมล็ดอยู่เลย ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่เชื่อว่าข้าวกล้อง หรือข้าวที่
ยังมีเยื่อกหุ้มเมล็ดติดอยู่นั้นอร่อยน้อยกว่า แต่ข้าวกล้องก็ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ใน
ฐานะที่เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเส้น
อาหารเส้นอาจรับประทานเป็นอาหารจานเดียว จัดสารับแทนข้าว
หรือจัดคู่กับข้าวเลยก็ได้ อาหารเส้นที่เป็นที่รู้จักกันดี สามารถ
รับประทานแบบร้อนในน้าซุป หรือแบบเย็นจุ่มซอสก็ได้
ขนมปัง
ญี่ปุ่นรับวัฒนธรรมการรับประทานขนมปังมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่
16 จนถึงปัจจุบัน ชาวญี่ปุ่นพัฒนาขนมปังจนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และนิยม
รับประทานกันโดยทั่วไป คาว่าขนมปังในภาษาญี่ปุ่นคือพัง มาจากภาษาโปรตุเกส
อูด้ง
ความหมาย
ความเป็นมา
อูด้งร้อน
อูด้งเย็น
อูด้ง
อูด้ง เป็นอาหารญี่ปุ่นที่เป็นที่นิยมชนิดหนึ่ง ทาจากแป้ง
สาลี ลักษณะเป็นเส้น หนา ยาว มีสีขาว
อูด้ง นิยมรับประทานทานร้อนๆ ในน้าซุปใส ซึ่งทาจากดา
ชิ (หัวเชื้อน้าซุป) และโชยุ (ซีอิ๊วญี่ปุ่น) และมิริน (เหล้าสาหรับปรุง
อาหาร)
ความเป็นมาอูด้ง
เส้นอุดงมีต้นกาเนิดมาจาก เส้นชูเมี่ยน ของประเทศจีน เป็นเส้นทาจากแป้งสาลี ยาว
หนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร นิยมทานในน้าซุปผสมเต้าเจี้ยว ถือเป็นอาหารภาคเหนือของ
จีนเส้นอุดง ได้เข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นโดยพระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นที่เดินทางไปจาริกยังประเทศจีน ชาว
ญี่ปุ่นได้ยกย่องพระคูไค และพระเอ็นนิ ให้เป็นต้นตารับการปรุงเส้นอุดงของญี่ปุ่น พระคูไค
เดินทางไปยังประเทศจีนเพื่อศึกษาพุทธศาสนา โดยอดีตจังหวัดซะนุคิ บนเกาะชิโกะกุ หรือ
ปัจจุบันคือจังหวัดคะงะวะ ประกาศตัวเป็นผู้สืบทอดสูตรการทาอุดงจากพระคูไค ส่วนพระเอ็น
นิ ซึ่งเป็นพระนิกายเซน สานักรินไซได้เดินทางไปประเทศจีนเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยมี
เมืองฮะคะตะ จังหวัดฟุกุโอะกะเป็นผู้ประกาศว่าสืบทอดสูตรของพระเอ็นนิ
อูด้งร้อน
รายชื่ออูด้งร้อน
คะเคะอุด้ง
เทมปุระอูด้ง
ทะนุคิอูด้ง
วากาเมะอูด้ง
อูด้งร้อน
คะเคะอูด้ง อูด้งร้อนในน้าซุปใส โรยต้นหอมญี่ปุ่นซอยบางๆ
อาจมีคะมะโบะโกะ หรือลูกชิ้นปลาเส้นญี่ปุ่น ฝาน 1 ชิ้นวางบนเส้นอูด้ง
อูด้งร้อน
เทมปุระอูด้ง อูด้งร้อนหน้าอาหารชุบแป้งทอด หรือเทมปุ
ระ เช่น กุ้ง หรือคะคิอะเกะ (ผักรวมชิ้นเล็กๆผสมแป้งแล้วทอด)
อูด้งร้อน
ทะนุคิอุดง อุดงร้อนหน้าเศษแป้งเทมปุระ ชื่อได้จากทานุ
กิ ซึ่งเป็นแรคคูนญี่ปุ่น และเชื่อว่ามีพลังวิเศษ
อูด้งร้อน
วากาเมะอุด้ง อุดงร้อนหน้าสาหร่ายวะกะเมะ
อูด้งเย็น
ซะรุอุดง อุดงแช่เย็น โรยสาหร่ายโนริฝอย เสิร์ฟในซะรุ (ภาชนะ
สานจากไม้ไผ่ รูปร่างคล้ายกระด้ง แต่ก้นบุ๋ม ใช้สะเด็ดน้า) พร้อมกับซอสแช่
เย็น มีส่วนผสมเข้มข้นของดาชิ มิริน และโชยุ เมื่อทาน ให้ใช้ตะเกียบคีบเส้น
อุดงพอคา จุ่มลงในซอสดังกล่าว แล้วจึงรับประทาน อาจใส่ต้นหอมซอย วา
ซาบิบด และขิงบดลงในซอสเพื่อเพิ่มรสชาติได้ เมื่อเสิร์ฟคู่กับเทมปุระ จะ
เรียก เทนซะรุอุดง
ซูชิ
ซูชิ หมายถึง การรวมกันระหว่างปลากับข้าว ซูชิมี
วิวัฒนาการมาเมื่อหลายร้อยปีมาแล้วซึ่งเกิดจากความต้องการถนอม
อาหารของคนญี่ปุ่น
คาว่า "ซูชิ" นิยมหมายถึง นิงิริซูชิ ที่เป็นข้าวมาอัดเป็นก้อน
และมีเนื้อปลาวางบนด้านหน้าเท่านั้น
ประเภทของซูซิ
นิงิริซูซิ โฮะโขะมะกิ
มากิชูชิ อุระมากิ
กันคังมากิ เทะมากิ
อินะริซูซิ ชิราชิซูซิ
โอซิซูซิ เทะมาริซูซิ
ซูซิ
นิงิริซูชิ เป็นซูชิพบได้บ่อยในภัตตาคาร ซูชิจะมีลักษณะข้าวเป็นก้อนรูปวงรีแล้ววาง
เนื้อปลาดิบ ปลาหมึก ฯลฯ ไว้ข้างบน อาจจะใส่วาซาบิเล็กน้อย หรือตกแต่งด้วย
สาหร่ายทะเลก็ได้ ซูชิแบบนี้เป็นที่นิยมมากที่สุด
ซูซิ
มากิซูชิ Makizushi หรือ Norimaki หรือ Makimono ซูชิรูปทรงกระบอกม้วน
ยาว ใช้สาหร่ายแผ่กว้างใส่ข้าวใส่ผักใส่เนื้อหรือปลาลงไป วางบนแผ่นไม่ไผ่ที่ใช่
ห่อซูชิ แล้วม้วนให้เข้ากัน ตัดให้พอดีคา
ซูซิ
Hosomaki ซูชิทรงกระบอกขนาดเล็กบางๆ ห่อด้วยสาหร่าย ส่วนใหญ่จะมีไส้เพียงอย่าง
เดียว เช่น แตงกวา แครอท ทูน่า เป็นต้น โดยที่ไส้แตงกวา จะเรียกว่า Kappamaki เป็นชื่อที่ได้มา
จากปีศาจน้ากัปปะที่ชื่นชอบการกินแตงกวาเป็นพิเศษ และซูชิชนิดนี้นิยมทานเพื่อล้างปากระหว่าง
การทานปลาดิบกับอาหารชนิดอื่นๆ เพื่อที่เราจะได้เข้าถึงรสชาติของปลาดิบได้มากขึ้นนั่นเอง
ซูซิ
Uramaki ซูชิรูปทรงกระบอกขนาดกลางๆ ใช้ข้าวห่อ สาหร่าย
แตงกวา มายองเนส อะโวคาโด แครอท เนื้อปู ทูน่า ม้วนละโรยด้วยเมล็ด
งา
ซูซิ
Gunkan maki ข้าวปั้นรูปไข่ ใช้สาหร่ายพันรอบข้าวและมี
อาหารทะเลหรือของสดวางไว้ข้างบน แต้มวาซาบิไว้ข้างในด้วย ส่วนใหญ่
จะเป็นไข่ปลา ไข่กุ้ง หอยเม่น เป็นต้น
ซูซิ
Temaki ซูชิรูปกรวยนั่นเอง ไส้ต่างๆ ห่อด้วยข้าวและ
สาหร่ายอีกชั้นพันห่อเป็นรูปกรวย ซูชิแบบนี้ใช้มือหยิบทานจะถนัด
กว่า
ซูซิ
อินะริซูชิ ทอดแผ่นบางยัดไส้ซูชิเข้าไป มีทั้งข้าว ปลาดิบ
และผัก บางที่ก็นาไข่บางๆ มาทาเป็นที่ห่อแทนด้วย แต่รสชาติจะ
หวานกว่า
ซูซิ
ชิราชิซูชิ การจัดปลาดิบ ปลาหมึก กุ้ง ผัก ฯลฯ ที่หั่นเป็นชิ้นๆ วางเรียงบน
ข้าวในภาชนะต่างๆ ชาวโอซาก้าเรียกว่า Gomokuzushi แบบคันไซไม่มีการ
จัดเรียงมากมายตักใส่ข้าวลงในชาม โรยด้วยสาหร่ายและผักตามแต่จะชอบแต่
ต้องเป็นของที่ไม่หนักท้องเท่าไหร่ ซูชิชนิดนี้จัดทาในแต่ละพื้นที่แตกต่างกันไป
ซูซิ
โอชิซูชิ หรือรูปแบบคันไซจากเมืองโอซาก้า เอาข้าวแล้ววางเนื้อปลา
ไว้ด้านบนมาอัดลงในแม่พิมพ์รูปสี่เหลี่ยมตามยาวหั่นขนาดพอดีให้
รับประทานเป็นคาๆ
ซูซิ
Temarizushi ข้าวปั้นของเป็นลูกกลมๆ วางหน้าซูชิแต้มวาซาบิ
นิดนึงแล้วห่อกับพลาสติกบีบด้วยฝ่ามือให้เข้ากัน ก็เสร็จเรียบร้อย ก็นิยม
ใช้อาหารทะเลและอาหารสด อาหารย่างก็ได้เหมือนกัน
ราเม็ง
มีต้นกาเนิดมาจากประเทศจีน เข้ามาสู่เกาะญี่ปุ่นในสมัยเมจิ (ราว
ค.ศ.1868-1912) จากชุมชนชาวจีนที่มาตั้งรกรากที่ญี่ปุ่น รวมทั้งชาวญี่ปุ่น
จานวนหนึ่งและทหารญี่ปุ่นที่อพยพกลับมาจากจีน เมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่
2 ก็ได้เอาวิชาทาบะหมี่กลับมาเปิดร้านขายจนได้รับความนิยมไปทั่วประเทศ
และเพื่อให้ได้รสชาติที่ถูกปากชาวญี่ปุ่น จึงมีการพัฒนาในรูปแบบต่างๆ
ราเม็งแต่ละท้องที่
ชาวฮอกไกโด ก็จะนิยมรับประทาน มิโซะราเม็ง ใส่ชีส ข้าวโพด
ธัญพืช กระเทียม และในแถบจังหวัดที่ติดทะเลก็จะนิยมใช้อาหารทะเล
เป็นเครื่องประกอบ
ชาวฮอนชู ก็จะนิยมราเม็งที่ใช้เส้นหนาและหยัก รับประทาน
พร้อมเนื้อหมูและปลาแห้ง และในบางเขตจะเรียกราเม็งว่า โซบะ
ราเม็งแต่ละท้องที่
ชาวโตเกียว นิยมรับประทานโชยุราเม็งที่มีรสเข้มและใช้เส้นขนาด
เล็ก ใส่เนื้อหมูหั่นบาง ปลาเส้น ผักโขม หอมทอด ไข่ต้ม สาหร่ายแผ่น
และหน่อไม้
ชาวโยโกฮาม่า นิยมรับประทานราเม็งที่ใช้เส้นขนาดใหญ่และหนา
คล้ายอุด้ง
ประเภทราเม็ง
ชิโอะ ราเมน
ทงคัสซึ ราเมน
โชยุ ราเมนซุป
มิโซะ ราเมนซุป
ราเม็ง
ชิโอะ ราเมน คือ ราเมนน้าซุปที่ปรุงรสจากเกลือ ผัก ไก่หรือกระดูกหมู น้าซุป
จะมีสีเหลืองใสๆ รสชาติเบาๆ และเส้นบะหมี่ส่วนใหญ่จะใช้แบบเส้นตรงและเล็ก ท็อปปิ้ง
ด้วย สาหร่ายทะเล ไข่ต้ม หมูชาชู (หมูย่างหั่นสไลด์) วางไว้อยู่บนราเมนอีกด้วย
ราเม็ง
ทงคัสซึ ราเมน คือ ราเมงในน้าซุปกระดูกหมูสีขาวขุ่น น้าซุป ทาจาก
น้าซุปที่เคี่ยวด้วยกระดูกหมูนานหลายชั่วโมง จนหอมและมีรส ชาติที่เข้มข้น
กลมกล่อม น้าซุปมีลักษณะสีขาวขุ่น อร่อยล้าโดยแทบไม่ต้องปรุงอะไรเพิ่ม
ซุปทงคัสซึ นิยมทานกับเส้นราเมนเส้นบางๆตรงๆ บางคนก็ใส่โชยุหรือน้ามัน
กระเทียม,น้ามันงาพริกเผาเพื่อให้รสเข้มข้นขึ้น ลักษณะของซุปทงคัสซึ จะคล้าย
ซุปกระดูกหมูของจีนที่มีสีขาวเช่นกัน เรียกว่า "Bai tang" (ป๋ายทัง) มีรสชาติ
ออกหวาน
ราเม็ง
โชยุ ราเมนซุป น้าซุปที่ใช้ซอสถั่วเหลืองเป็นส่วนผสม สีออก
น้าตาล หรือใส เคล็ดลับความอร่อยของ น้าซุปโชยุ อยู่ที่การตุ๋นน้าซุป
ซึ่งใช้เวลานานกว่าค่อนวันเพื่อให้ความ หวาน ความหอมและรสชาติที่
กลมกล่อม ปรุงด้วยซอสโชยุอย่างดีที่นาเข้ามาจาก ประเทศญี่ปุ่น ให้
ความเป็นซุปราเมนขนานแท้ซึ่งมีสีน้าตาลใส นิยมทานกับเส้น ramen
เส้นเล็กแบบลอนมากกว่าเส้นชนิดตรง เสิร์ฟร้อนๆ
ราเม็ง
มิโซะ ราเมนซุป มีต้นกาเนิดจากฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น
เอกลักษณ์เฉพาะตัวคือเต้าเจี้ยวบดที่เป็นองค์ประกอบหลัก ให้ความ
หอม มัน เค็ม กลมกล่อม ของถั่วเหลืองหมักที่อุดมไปด้วยไฟโตนิวเต
รียนที่มีส่วนช่วยเสริม สร้างกระดูก ลดอาการขณะเริ่มหมดประจาเดือน
จัดว่าเป็นเมนูสาหรับผู้ที่รัก สุขภาพไม่ควรพลาด
ซาซิมิ
ซาชิมิ คือ การนาเนื้อดิบจากสัตว์ เช่น ปลาทะเลมาหั่นหรือแล่
สดๆ แล้วรับประทานควบคู่กับเครื่องปรุงรสอย่าง โซยุ และ ทสึมะ
(เครื่องเคียง) ต่างๆ เช่น วาซาบิ ขิงดอง หัวไชเท้าขูดเส้น และ ใบชิโสะ
ปัจจุบันซาชิมิมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการหลักๆ 2 ชื่อ ซึ่งเรียกแตกต่าง
กันไปตามแต่ละท้องถิ่น คือ “โอะซาชิมิ” แถบภูมิภาคคันโต และ
“โอะทสึคุริ” แถบภูมิภาคคันไซ
โซบะ
โซบะ เป็นอาหารญี่ปุ่นที่ได้ความนิยมชนิดหนึ่ง ทาจากแป้งบัค
วีท (ไม่ใช่แป้งสาลี) มีลักษณะเป็นเส้นยาว สีน้าตาล นิยมรับประทาน
ทั้งแบบเย็น จุ่มกับซอส และแบบร้อน ในน้าซุป ซึ่งมีชื่อเรียกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับวิธีนาเส้นโซบะไปประกอบอาหารนั้นนอกจากนี้ ในประเทศ
ญี่ปุ่นเอง ยังนิยมเรียกอาหารเส้น ที่เป็นเส้นขนาดเล็กว่า โซบะ อีกด้วย
ซึ่งต่างจาก อูด้ง ซึ่งมีลักษณะเส้นหนา ทาจากแป้งสาลี
ทาโกยากิ
ลักษณะของทาโกะยากิ (โดยส่วนใหญ่) จะเป็นลูกกลมๆทอดจนเป็น
สีน้าตาลราดด้วยซอสและมายองเนสแล้วโรยหน้าด้วยผงสาหร่ายและแผ่น
ปลาแห้ง ส่วนผสมของทาโกะยากินั้นจะประกอบด้วยน้าแป้ง, ขิงดอง, แป้ง
ทอด, หอมสับ , แล้วก็ที่ขาดไม่ได้คือหนวดปลาหมึกยักษ์ (Tako) ซึ่งเป็นส่วน
หนึ่งของชื่อทาโกะยากินั่นเอง และอีกคาหนึ่งคือ "Yaki" ก็แสดงถึงวิธีทาก็คือ
การเอาส่วนผสมเหล่านี้ลงไปทอดในกระทะที่มีลักษณะเป็นหลุมนั่นเอง
เท็มปุระ
เท็มปุระมักจะเสิร์ฟในลักษณะเรียงพูนสูงในแนวตั้ง
มารยาทในการรับประทานอาหารที่พูนในแนวตั้ง คือ ไม่ทาให้ของที่พูน
ไว้ล้มลง
อาหารที่จัดในลักษณะพูนสูงนี้ ตามปกติจะเรียงเพื่อให้รับประทาน
ตามลาดับจากซ้าย ขวา และกลาง ดังนั้น หากรับประทานตามลาดับนี้ ก็
จะไม่ทาให้อาหารที่พูนไว้ พังลงมา
ปลาย่าง
ปลาที่มีครีบเกะกะ ให้ใช้ตะเกียบตัดครีบเหล่านั้น และนาไปกอง
เรียงไว้ทางมุมขวามือด้านบนของจาน
รับประทานเนื้อปลาไล่ตั้งแต่บริเวณส่วนหัว ไปจนถึงส่วนหาง
เมื่อรับประทานหมดซีกหนึ่งแล้ว ไม่พลิกปลากลับข้าง แต่ให้ใช้
ตะเกียบเลาะก้างปลาออก แล้วนาไปวางไว้ทางมุมขวามือด้านบนของจาน
เช่นกัน
คุณครูเขื่อนทอง มูลวงษ์
ครูผู้ควบคุม
นางสาวณัฐชรินทร์ ชัยพนัส เลขที่ 22
นางสาวศิริพร เต๋จ๊ะ เลขที่ 34
ผู้จัดทา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 /15
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
http://th.wikipedia.org/wiki/อาหาร
http://th.wikipedia.org/wiki/ซูชิ
http://th.wikipedia.org/wiki/อุดง
http://th.wikipedia.org/wiki/ทงกะสึ
http://www.student.chula.ac.th/~53373259/food.htm
http://www.j-campus.com/article/view.php?id=1010
https://narupol.wikispaces.com/วัฒนธรรมของญี่ปุ่น
http://travel.truelife.com/detail/114018
http://travel.truelife.com/detail/114018#sthash.RiZTVs2b.dpuf
อ้างอิง
ขอบคุณค่ะ
ありがとうごさいます。

More Related Content

Similar to japan food

Similar to japan food (8)

มารยาทในการรับประทานอาหารญี่ปุ่น
มารยาทในการรับประทานอาหารญี่ปุ่นมารยาทในการรับประทานอาหารญี่ปุ่น
มารยาทในการรับประทานอาหารญี่ปุ่น
 
Pasta
PastaPasta
Pasta
 
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
อาหารญี่ปุ่น1
อาหารญี่ปุ่น1อาหารญี่ปุ่น1
อาหารญี่ปุ่น1
 

More from Victor Ploy (6)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

japan food