SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน Film & Feel
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวสุชัญญา ชื่นสมบัติ เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 7
2. นางสาววีรยา อิ่นแก้วปวงคา เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวสุชัญญา ชื่นสมบัติ เลขที่ 5 ชั้น ม.6/7
2. นางสาววีรยา อิ่นแก้วปวงคา เลขที่ 10 ชั้น ม.6/7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ฟิล์ม แอนด์ ฟีล
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Film & Feel
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : 1. นางสาวสุชัญญา ชื่นสมบัติ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 5
2. นางสาววีรยา อิ่นแก้วปวงคา ชั้น ม.6/7 เลขที่ 10
ชื่อที่ปรึกษา : คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ภาพถ่ายก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เป็นสื่อที่ช่วยบอกหรือเล่าเรื่องราวหรือความประทับใจในอดีตแก่เรา ภาพถ่ายก็
เป็นอีกตัวเหลือหนึ่งที่ใครหลายๆคนใช้เป็นเครื่องบันทึกความทรงจา หรือการถ่ายภาพก็อาจจะเป็นงานอดิเรกที่
หลายๆคนชื่นชอบ หรือเป็นอีกงานหนึ่งที่หลายๆคนเลือกเป็นอาชีพ หรือใฝ่ฝัน ซึ่งภาพถ่ายนั้นก็มีหลายประเภท ทั้ง
ภาพถ่ายดิจิตอล ภาพถ่ายโพลาลอย ที่เป็นที่นิยมในหมู่วัยรุ่นปัจจุบัน และอีกประเภทหนึ่งของรูปภาพที่เรียกได้ว่าเป็น
คุณพ่อของภาพถ่ายในปัจจุบัน คือ ภาพถ่ายฟิล์ม ภาพที่ได้จากการถ่ายภาพฟิล์มนั้นจะค่อยข้างแตกต่างจากภาพ
ภาพถ่ายดิจิตอลคือ ความคมชัดจะไม่ได้มากเท่ากับภาพดิจิตอล ไม่สามารถนาไปปรับ หรือแก้ไขในคอมพิวเตอร์ ถ้า
ถ่ายแล้วแสงน้อย ภาพมืด หรือภาพสว่างเกิดไป ถ้าภาพเสียก็คือเสียเลย ไม่สามารถปรับหรือแก้ไขได้ แต่การถ่ายภาพ
ฟิล์มนั้นก็เป็นพื้นฐานของการถ่ายดิจิตอล และคนที่ชื่นชอบการชมภาพถ่าย ความรู้สึกจากการชมภาพที่เป็นภาพถ่าย
ดิจิตอล กับภาพถ่ายฟิล์มจะให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน โดยทุกอย่างแล้ว ทุกอย่างที่เป็นของเก่ามักจะดูมีเรื่องราว มี
เสน่ห์ และความขลังอยู่ตัวของมันเอง ภาพฟิล์มก็ให้ความรู้สึกอย่างนั้นเช่นกัน และในปัจจุบันนั้น ภาพฟิล์มนั้นไม่ค่อย
ได้รับความนิยมจากคนทั่วไปสักเท่าไหร่ บางคนก็อาจจะไม่เคยเห็น หรือได้ลองสัมผัสกระบวนการล้างฟิล์มเลย จึง
อยากให้ภาพฟิล์มเป็นที่นิยม และเป็นที่รู้จักมากกว่านี้ และบวกกับการที่เจ้าของโครงงานชื่นชอบในการถ่ายภาพฟิล์ม
เป็นพิเศษ จึงได้เลือกหัวข้อนี้ในการทาโครงงาน
3
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการถ่ายภาพแก่ผู้ที่สนใจ
2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาพถ่ายฟิล์มที่ถ่ายโดยฟิล์มที่ต่างชนิดกัน
3. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาพถ่ายฟิล์ม กับภาพถ่ายดิจิตอล
4. เพื่อเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่สนใจ และอยากจะเริ่มต้นในการถ่ายถ่ายภาพ
5. เพื่อศึกษาว่าสารแต่ละประเภทที่ฉาบบนแผ่นฟิล์มนั้น ส่งผลให้สีของภาพออกมาแตกต่างกันอย่างไร
6. เพื่อส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ขอบเขตโครงงาน
โดยศึกษาว่าสารที่ฉาบบนฟิล์มแต่ละชนิดที่แตกต่างกันนั้น ส่งผลให้ภาพที่ถ่ายออกมานั้นแตกต่างกันอย่างไร
เปรียบเทียบ และสรุปผล และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาพถ่ายกล้องฟิล์ม และภาพถ่ายจากกล้องดิจิดอล
ว่าแตกต่างกันอย่างไร เปรียบเทียบ และสรุปผล รวมศึกษาวิธีการเก็บดูแลรักษาฟิล์มถ่ายภาพ
หลักการและทฤษฎี
โครงสร้างของแผ่นฟิล์ม
- Protective Top Coat เป็นชั้นที่ฉาบไว้ด้วยสารเจลาติน (Geletin) เพื่อทาหน้าที่ป้องกัน การขีดข่วนที่อาจ
เกิดขึ้นได้กับเยื่อไวแสงของฟิล์ม
- Light Sensitive Base หรือ Emulsion เป็นชั้นของสารไวแสงที่ฉาบยึดติดอยู่กับฐานของฟิล์ม ถ้าเป็นฟิล์ม
ขาวดาจะฉาบสารไวแสงประเภทขาวดาเอาไว้ แต่ถ้าเป็นฟิล์มสีก็จะมีสารไวแสงที่ให้สีเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม
เยื่อ ไวแสงนี้ จะทาหน้าที่บันทึกภาพที่ไม่สามารถมองเห็น (Latent Image) อันประกอบด้วยอะตอมของเงิน
ประมาณ 3-6 อะตอม เมื่อนาไปล้างด้วยน้ายาล้างฟิล์ม แล้วจะเกิดเป็นอะตอมเพิ่มถึง 100 เท่า เนื่องจาก
น้ายาล้างภาพจะให้อิเล็กตรอน แก่ไอออนของเงิน ก็ทาให้มองเห็นภาพได้
- Plastic Film Base หรือ Suppport ชั้นนี้จะเป็นวัสดุโปร่งใสทาด้วยอาซีเตท (Cellulose Acetate) ใช้
เป็นพื้นสาหรับฉาบด้วยสารไวแสงมีลักษณะใสเหนียวไม่ยืดหด และไม่ไวไฟ
- Antihilation Backing ชั้นนี้จะฉาบด้วยสารที่ป้องกันแสงที่จะทะลุผ่านเนื้อฟิล์มออกไปแล้วสะท้อน
กลับมาทาอันตรายฟิล์ม เกิดเป็น ภาพเงาซ้อนขึ้น
การถ่ายภาพให้ตัวกล้องรับแสงสว่างอย่างเต็มที่โดยไม่ทาให้เสียคุณภาพ อาศัยหลักการที่ให้แสงสะท้อนจากวัตถุ
เดินทางเป็นเส้นตรงผ่านช่องเล็กๆ ของกล้อง ทาให้เกิดภาพของวัตถุบนฉากรองรับด้านตรงกันข้ามเป็นภาพหัวกลับ
เลนส์กล้องจึงเป็นเลนส์นูนเพื่อช่วยรวมแสงให้เข้าไปในตัวกล้องมากขึ้นภาพถ่ายจึงมีแสงสว่าง และชัดเจนขึ้น
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.) กาหนดหัวข้อ และขอบเขตของเรื่อง
2.) ศึกษา และค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับกล้องถ่ายรูป ชนิดของฟิล์มถ่ายรูป รวมถึงการเก็บดูแลรักษา
3.) สร้างสื่อการเรียนรู้ผ่านโปรแกรม powerpoint
4.) นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ : 1.) กล้องถ่ายรูปดิจิตอล Digital camera
2.) กล้องถ่ายรูปฟิล์ม
3.) ฟิล์มถ่ายรูป
4.) ขาตั้งกล้อง
งบประมาณ : 200-300 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน
สัปดาห์ที่
ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1
คิดหัวข้อโครงงาน 
สุชัญญา /
วีรยา
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
  
สุชัญญา /
วีรยา
3 จัดทาโครงร่าง
งาน
   วีรยา
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
  วีรยา
5
ปรับปรุงทดสอบ   สุชัญญา
6 การทา
เอกสารรายงาน
  วีรยา
7
ประเมินผลงาน   
สุชัญญา /
วีรยา
8
นาเสนอโครงงาน 
สุชัญญา /
วีรยา
5
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถแยกความแตกต่างระหว่างภาพฟิล์ม กับภาพถ่ายดิจิตอลได้
- ให้ความรู้เรื่องการถ่ายภาพ และเป็นแนวทางให้แก่ผู้ที่สนใจ
- ส่งเสริมการอนุรักษ์ การถ่ายภาพฟิล์มให้คนรุ่นหลังได้เห็น
- ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และได้ค้นพบงานอดิเรกที่ตนเองชื่นชอบ
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
-
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ (เคมี)
- กลุ่มสาระศิลปะ
แหล่งอ้างอิง
- เว็บไซต์ บ้านจอมยุทธ www.baanjomyut.com
- เว็บไซต์กระปุกดอทคอม www.men.kapook.com/view120158

More Related Content

Viewers also liked

Planeación didáctica distribución
Planeación didáctica distribuciónPlaneación didáctica distribución
Planeación didáctica distribución
jlonngi
 
Formatos de imagen
Formatos de imagenFormatos de imagen
Formatos de imagen
alelu199710
 
Educación a Distancia
Educación a DistanciaEducación a Distancia
Educación a Distancia
cardonavea007
 
Perfil geofísico de la región de aysen (1)
Perfil geofísico de la región de aysen (1)Perfil geofísico de la región de aysen (1)
Perfil geofísico de la región de aysen (1)
vickyhistoria24
 
Profe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajes
Profe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajesProfe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajes
Profe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajes
mvizcaya38
 

Viewers also liked (17)

3Com 03-0198-910
3Com 03-0198-9103Com 03-0198-910
3Com 03-0198-910
 
Planeación didáctica distribución
Planeación didáctica distribuciónPlaneación didáctica distribución
Planeación didáctica distribución
 
Internet y sus caraterísticas
Internet y sus caraterísticasInternet y sus caraterísticas
Internet y sus caraterísticas
 
2º Comunicado Oficial ENETO Araucanía 2013
2º Comunicado Oficial ENETO Araucanía 20132º Comunicado Oficial ENETO Araucanía 2013
2º Comunicado Oficial ENETO Araucanía 2013
 
Navegadores y marcadores
Navegadores y marcadoresNavegadores y marcadores
Navegadores y marcadores
 
Educación Ambiental.
Educación Ambiental.Educación Ambiental.
Educación Ambiental.
 
Colegio particular
Colegio particularColegio particular
Colegio particular
 
Métodos de búsqueda
Métodos de búsquedaMétodos de búsqueda
Métodos de búsqueda
 
Formatos de imagen
Formatos de imagenFormatos de imagen
Formatos de imagen
 
아드레닌『 W3.ow.to 』 톡 w2015 ♡ 아드레닌판매,아드레닌약효,아드레닌구입처,아드레닌구매처,아드레닌파는곳
아드레닌『 W3.ow.to  』 톡 w2015 ♡ 아드레닌판매,아드레닌약효,아드레닌구입처,아드레닌구매처,아드레닌파는곳아드레닌『 W3.ow.to  』 톡 w2015 ♡ 아드레닌판매,아드레닌약효,아드레닌구입처,아드레닌구매처,아드레닌파는곳
아드레닌『 W3.ow.to 』 톡 w2015 ♡ 아드레닌판매,아드레닌약효,아드레닌구입처,아드레닌구매처,아드레닌파는곳
 
Educación a Distancia
Educación a DistanciaEducación a Distancia
Educación a Distancia
 
SENTHIL.BIODATA.1 - Copy
SENTHIL.BIODATA.1 - CopySENTHIL.BIODATA.1 - Copy
SENTHIL.BIODATA.1 - Copy
 
Kimberly vera
Kimberly veraKimberly vera
Kimberly vera
 
Perfil geofísico de la región de aysen (1)
Perfil geofísico de la región de aysen (1)Perfil geofísico de la región de aysen (1)
Perfil geofísico de la región de aysen (1)
 
Profe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajes
Profe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajesProfe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajes
Profe flor la evaluación como medio para asegurar aprendizajes
 
Presentación1 [recuperado]
Presentación1 [recuperado]Presentación1 [recuperado]
Presentación1 [recuperado]
 
Trabajo cmc
Trabajo cmcTrabajo cmc
Trabajo cmc
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
Lift Ohm'
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
Milk MK
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
Milk MK
 
2562 final-project 03-610
2562 final-project 03-6102562 final-project 03-610
2562 final-project 03-610
pleng.mu
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
Nuchy Geez
 
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
ครู อ้วน
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทน
kanyaluk dornsanoi
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
Onin Goh
 
2557 โครงงาน 3-
2557 โครงงาน  3-2557 โครงงาน  3-
2557 โครงงาน 3-
Milk MK
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project อิม
2558 project อิม2558 project อิม
2558 project อิม
 
2558 project อิม
2558 project อิม2558 project อิม
2558 project อิม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
2561 project 06
2561 project 062561 project 06
2561 project 06
 
2562 final-project 03-610
2562 final-project 03-6102562 final-project 03-610
2562 final-project 03-610
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
My eyes your eyes
My eyes your eyesMy eyes your eyes
My eyes your eyes
 
My eyes your eyes
My eyes your eyesMy eyes your eyes
My eyes your eyes
 
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทน
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
2557 โครงงาน 3-
2557 โครงงาน  3-2557 โครงงาน  3-
2557 โครงงาน 3-
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน Film & Feel ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวสุชัญญา ชื่นสมบัติ เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 7 2. นางสาววีรยา อิ่นแก้วปวงคา เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวสุชัญญา ชื่นสมบัติ เลขที่ 5 ชั้น ม.6/7 2. นางสาววีรยา อิ่นแก้วปวงคา เลขที่ 10 ชั้น ม.6/7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ฟิล์ม แอนด์ ฟีล ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Film & Feel ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : 1. นางสาวสุชัญญา ชื่นสมบัติ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 5 2. นางสาววีรยา อิ่นแก้วปวงคา ชั้น ม.6/7 เลขที่ 10 ชื่อที่ปรึกษา : คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ภาพถ่ายก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เป็นสื่อที่ช่วยบอกหรือเล่าเรื่องราวหรือความประทับใจในอดีตแก่เรา ภาพถ่ายก็ เป็นอีกตัวเหลือหนึ่งที่ใครหลายๆคนใช้เป็นเครื่องบันทึกความทรงจา หรือการถ่ายภาพก็อาจจะเป็นงานอดิเรกที่ หลายๆคนชื่นชอบ หรือเป็นอีกงานหนึ่งที่หลายๆคนเลือกเป็นอาชีพ หรือใฝ่ฝัน ซึ่งภาพถ่ายนั้นก็มีหลายประเภท ทั้ง ภาพถ่ายดิจิตอล ภาพถ่ายโพลาลอย ที่เป็นที่นิยมในหมู่วัยรุ่นปัจจุบัน และอีกประเภทหนึ่งของรูปภาพที่เรียกได้ว่าเป็น คุณพ่อของภาพถ่ายในปัจจุบัน คือ ภาพถ่ายฟิล์ม ภาพที่ได้จากการถ่ายภาพฟิล์มนั้นจะค่อยข้างแตกต่างจากภาพ ภาพถ่ายดิจิตอลคือ ความคมชัดจะไม่ได้มากเท่ากับภาพดิจิตอล ไม่สามารถนาไปปรับ หรือแก้ไขในคอมพิวเตอร์ ถ้า ถ่ายแล้วแสงน้อย ภาพมืด หรือภาพสว่างเกิดไป ถ้าภาพเสียก็คือเสียเลย ไม่สามารถปรับหรือแก้ไขได้ แต่การถ่ายภาพ ฟิล์มนั้นก็เป็นพื้นฐานของการถ่ายดิจิตอล และคนที่ชื่นชอบการชมภาพถ่าย ความรู้สึกจากการชมภาพที่เป็นภาพถ่าย ดิจิตอล กับภาพถ่ายฟิล์มจะให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน โดยทุกอย่างแล้ว ทุกอย่างที่เป็นของเก่ามักจะดูมีเรื่องราว มี เสน่ห์ และความขลังอยู่ตัวของมันเอง ภาพฟิล์มก็ให้ความรู้สึกอย่างนั้นเช่นกัน และในปัจจุบันนั้น ภาพฟิล์มนั้นไม่ค่อย ได้รับความนิยมจากคนทั่วไปสักเท่าไหร่ บางคนก็อาจจะไม่เคยเห็น หรือได้ลองสัมผัสกระบวนการล้างฟิล์มเลย จึง อยากให้ภาพฟิล์มเป็นที่นิยม และเป็นที่รู้จักมากกว่านี้ และบวกกับการที่เจ้าของโครงงานชื่นชอบในการถ่ายภาพฟิล์ม เป็นพิเศษ จึงได้เลือกหัวข้อนี้ในการทาโครงงาน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการถ่ายภาพแก่ผู้ที่สนใจ 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาพถ่ายฟิล์มที่ถ่ายโดยฟิล์มที่ต่างชนิดกัน 3. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาพถ่ายฟิล์ม กับภาพถ่ายดิจิตอล 4. เพื่อเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่สนใจ และอยากจะเริ่มต้นในการถ่ายถ่ายภาพ 5. เพื่อศึกษาว่าสารแต่ละประเภทที่ฉาบบนแผ่นฟิล์มนั้น ส่งผลให้สีของภาพออกมาแตกต่างกันอย่างไร 6. เพื่อส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ขอบเขตโครงงาน โดยศึกษาว่าสารที่ฉาบบนฟิล์มแต่ละชนิดที่แตกต่างกันนั้น ส่งผลให้ภาพที่ถ่ายออกมานั้นแตกต่างกันอย่างไร เปรียบเทียบ และสรุปผล และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาพถ่ายกล้องฟิล์ม และภาพถ่ายจากกล้องดิจิดอล ว่าแตกต่างกันอย่างไร เปรียบเทียบ และสรุปผล รวมศึกษาวิธีการเก็บดูแลรักษาฟิล์มถ่ายภาพ หลักการและทฤษฎี โครงสร้างของแผ่นฟิล์ม - Protective Top Coat เป็นชั้นที่ฉาบไว้ด้วยสารเจลาติน (Geletin) เพื่อทาหน้าที่ป้องกัน การขีดข่วนที่อาจ เกิดขึ้นได้กับเยื่อไวแสงของฟิล์ม - Light Sensitive Base หรือ Emulsion เป็นชั้นของสารไวแสงที่ฉาบยึดติดอยู่กับฐานของฟิล์ม ถ้าเป็นฟิล์ม ขาวดาจะฉาบสารไวแสงประเภทขาวดาเอาไว้ แต่ถ้าเป็นฟิล์มสีก็จะมีสารไวแสงที่ให้สีเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม เยื่อ ไวแสงนี้ จะทาหน้าที่บันทึกภาพที่ไม่สามารถมองเห็น (Latent Image) อันประกอบด้วยอะตอมของเงิน ประมาณ 3-6 อะตอม เมื่อนาไปล้างด้วยน้ายาล้างฟิล์ม แล้วจะเกิดเป็นอะตอมเพิ่มถึง 100 เท่า เนื่องจาก น้ายาล้างภาพจะให้อิเล็กตรอน แก่ไอออนของเงิน ก็ทาให้มองเห็นภาพได้ - Plastic Film Base หรือ Suppport ชั้นนี้จะเป็นวัสดุโปร่งใสทาด้วยอาซีเตท (Cellulose Acetate) ใช้ เป็นพื้นสาหรับฉาบด้วยสารไวแสงมีลักษณะใสเหนียวไม่ยืดหด และไม่ไวไฟ - Antihilation Backing ชั้นนี้จะฉาบด้วยสารที่ป้องกันแสงที่จะทะลุผ่านเนื้อฟิล์มออกไปแล้วสะท้อน กลับมาทาอันตรายฟิล์ม เกิดเป็น ภาพเงาซ้อนขึ้น การถ่ายภาพให้ตัวกล้องรับแสงสว่างอย่างเต็มที่โดยไม่ทาให้เสียคุณภาพ อาศัยหลักการที่ให้แสงสะท้อนจากวัตถุ เดินทางเป็นเส้นตรงผ่านช่องเล็กๆ ของกล้อง ทาให้เกิดภาพของวัตถุบนฉากรองรับด้านตรงกันข้ามเป็นภาพหัวกลับ เลนส์กล้องจึงเป็นเลนส์นูนเพื่อช่วยรวมแสงให้เข้าไปในตัวกล้องมากขึ้นภาพถ่ายจึงมีแสงสว่าง และชัดเจนขึ้น
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.) กาหนดหัวข้อ และขอบเขตของเรื่อง 2.) ศึกษา และค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับกล้องถ่ายรูป ชนิดของฟิล์มถ่ายรูป รวมถึงการเก็บดูแลรักษา 3.) สร้างสื่อการเรียนรู้ผ่านโปรแกรม powerpoint 4.) นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ : 1.) กล้องถ่ายรูปดิจิตอล Digital camera 2.) กล้องถ่ายรูปฟิล์ม 3.) ฟิล์มถ่ายรูป 4.) ขาตั้งกล้อง งบประมาณ : 200-300 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน  สุชัญญา / วีรยา 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล    สุชัญญา / วีรยา 3 จัดทาโครงร่าง งาน    วีรยา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน   วีรยา 5 ปรับปรุงทดสอบ   สุชัญญา 6 การทา เอกสารรายงาน   วีรยา 7 ประเมินผลงาน    สุชัญญา / วีรยา 8 นาเสนอโครงงาน  สุชัญญา / วีรยา
  • 5. 5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ - สามารถแยกความแตกต่างระหว่างภาพฟิล์ม กับภาพถ่ายดิจิตอลได้ - ให้ความรู้เรื่องการถ่ายภาพ และเป็นแนวทางให้แก่ผู้ที่สนใจ - ส่งเสริมการอนุรักษ์ การถ่ายภาพฟิล์มให้คนรุ่นหลังได้เห็น - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และได้ค้นพบงานอดิเรกที่ตนเองชื่นชอบ สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ (เคมี) - กลุ่มสาระศิลปะ แหล่งอ้างอิง - เว็บไซต์ บ้านจอมยุทธ www.baanjomyut.com - เว็บไซต์กระปุกดอทคอม www.men.kapook.com/view120158