SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ขบวนการปฏิวัติซ้อน หรือ ขบวนการปฏิวัติเพื่อปราบพวกปฏิวัติ
(Counter Revolutionary Movement)
การปฏิวัติ(Revolution) เป็นกฎของการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของสรรพสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติ หรือสังคม
เป็นการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งไม่ดีไปสู่สิ่งที่ดีกว่า นักปฏิวัติ คือ ผู้ที่รู้ว่าธรรมชาติ ย่อมมีกฎเกณฑ์
และรู้ว่าสังคมมนุษย์ต้องมีการเปลี่ยนแปลง แต่การรู้ว่าสังคมต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเดียว ไม่พอ
จะต้องรู้ว่าในกระบวนการเปลี่ยนแปลงนั้น มีลักษณะพิเศษชนิดหนึ่งเรียกว่า “ปฏิปักษ์ปฏิวัติ”หรือ
“ปฏิวัติซ้อน”(Counterrevolution) อยู่ด้วย
ปฏิวัติซ้อน(Counterrevolution) คือ ปัญหาของการปฏิวัติ เป็นความผิดถูกในขบวนปฏิวัติ แต่เป็นปรากฏการณ์ ภายใน
มิใช่ปรากฏการณ์ภายนอก ฉะนั้น จึงเข้าใจยาก ซึ่งการจะเข้าใจได้ต้องอาศัย ความรู้ทางทฤษฏี เท่านั้น
เพราะเป็นปัญหาของความคิดที่เรียกว่า “แนวความคิด” (Line of Thought) ซึ่งเป็นแนวความ คิดที่ต่างกับแนวปฏิวัติ
ปัญหานี้เป็นปัญหาสาคัญที่สุดของการปฏิวัติ เพราะเป็น ปัญหาชี้ขาดของการ ปฏิวัติ ดังนั้น นักปฏิวัติเงื่อนไขแรกที่สาคัญที่สุดก็คือ
ต้องเข้าใจว่า ในการปฏิวัตินั้น ย่อมต้องมีการ ปฏิวัติซ้อนและในขบวนการปฏิวัติจึงมีทั้งฝ่ายถูกและฝ่ายผิดร่วมกันอยู่
คือมีทั้งฝ่ายปฏิวัติจริง และ ฝ่ายปฏิวัติปลอม(ปฏิวัติซ้อน) มิใช่ว่าในขบวนการปฏิวัติแล้ว ต้องมีแต่นักปฏิวัติเพียงอย่างเดียว
ถ้าเข้าใจว่าใน ขบวนการปฏิวัติย่อมเป็นฝ่ายถูกทั้งหมดก็จะเป็นการเข้าใจผิดพลาดอย่างแรงและ
ความเข้าใจผิดพลาดนี้จะนาไปสู่ความผิดพลาดถึงขั้น ล้มเหลวของการปฏิวัติ และความ ฉิ...หายล่มจมของขบวนการ
ปฏิวัติทั้งขบวนด้วย
เพื่อความเข้าใจในปัญหานี้ จะต้องทาความเข้าใจกับขบวนการเมือง (Political Movement) ที่สาคัญคือ ขบวนการเผด็จการ
และขบวนการประชาธิปไตย
ขบวนการเผด็จการ เป็นขบวนการล้าหลัง (Back Ward) ขบวนการประชาธิปไตย เป็นขบวนการก้าวหน้า (Progressive)
นัยหนึ่ง ขบวนการเผด็จการเป็นขบวนการปฏิกิริยา (Reactionary) ขบวนการประชาธิปไตยเป็นขบวนการปฏิวัติ
(Revolutionary)
ในขบวนการปฏิวัติยังสามารถแยกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ การปฏิวัติประชาธิปไตย (Democratic Revolution) และ
การปฏิวัติสังคมนิยม (Socialist Revolution) เหตุที่จัดขบวนการ ปฏิวัติสังคมนิยมอยู่ในขบวนการปฏิวัติประชาธิปไตย
เพราะขบวนการปฏิวัติสังคมนิยม ในปัจจุบัน ยังไม่สามารถทาการปฏิวัติสังคมนิยม จึงต้องเข้าร่วมทาการปฏิวัติประชาธิปไตย
กับขบวนการ ประชาธิปไตยก่อน แต่ก็เป็นปัญหาเพียงด้านภารกิจเท่านั้น มิใช่จุดหมายปลายทาง
ขบวนการปฏิวัตินั้น นอกจากจะจาแนกเป็นขบวนการปฏิวัติประชาธิปไตย และขบวนการ ปฏิวัติสังคมนิยมแล้วยังจาแนกเป็น
ขบวนการปฏิวัติ (Revolutionary Movement) และขบวนการ ปฏิวัติซ้อน (Counter Revolutionary
Movement) อีกด้วย
ขบวนการปฏิวัติซ้อน โดยรูปแบบเป็นขบวนการปฏิวัติ ไม่ใช่ขบวนการปฏิกิริยา เป็นขบวน การก้าวหน้า ไม่ใช่ขบวนการล้าหลัง
แต่โดยเนื้อแท้ต่างกับขบวนการปฏิวัติ เพราะมีแนวทางและ นโยบายส่งเสริมแก่ระบอบเผด็จการ แต่มีเจตนารมณ์ประชาธิปไตย
เช่นเดียวกับขบวนการ ประชาธิปไตย ฉะนั้นบทบาทของขบวนการปฏิวัติซ้อน คือ เป็นหลักค้าของระบอบเผด็จการ
และทาลายประชาธิปไตย เพราะว่า ขบวนการณ์เหล่านี้ไม่มีการนาของตนเอง หากแต่ต้องอาศัย การนาของขบวนการอื่นๆ เช่น
การนาของพรรคคอมมิวนิสต์บ้าง การนาของพรรคเผด็จการบ้าง
ระบอบเผด็จการ ความจริงหาได้มีความเข้มแข็งแต่อย่างใดไม่เพราะเป็นอานาจของคน ส่วนน้อย
แต่ที่ระบอบเผด็จการสามารถดารงอยู่ได้นั้น ก็เพราะบทบาทของขบวนการปฏิวัติซ้อน หรือขบวนการประชาธิปไตยปลอมนี่เอง
ฉะนั้น ขบวนการประชาธิปไตยปลอม จึงเป็นอุปสรรคของการปฏิวัติประชาธิปไตยอย่างที่สุด
เพราะเป็นปฏิปักษ์ปฏิวัติที่คอยปกป้ องระบอบเผด็จการ การปฏิวัติจะเป็นไป ได้หรือไม่ จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับการต่อสู้ระหว่าง
ขบวนการเผด็จการ กับ ขบวนการประชาธิปไตย เป็นสาคัญ แต่ขึ้นอยู่กับการต่อสู้ระหว่างขบวนการประชาธิปไตย
กับขบวนการประชาธิปไตยปลอมเป็น สาคัญและเหตุที่การปฏิวัติประชาธิปไตยบ้านเราล้มเหลวมาตลอดก็เพราะสาเหตุตรงจุด
นี้นั่นเอง
ในสถานการณ์ปฏิวัติยังมาไม่ถึงปัญหานี้จะไม่ค่อยมี แต่ถ้าสถานการณ์ปฏิวัติใกล้จะมาถึง
ความขัดแย้งของขบวนการปฏิวัติซ้อนจะแสดงบทบาทปฏิปักษ์ปฏิวัติอย่างรุนแรง ในสถานการณ์ เช่นนี้
ถ้าขบวนการปฏิวัติประชาธิปไตยไม่สามารถจะโดเดี่ยวขบวนการปฏิวัติซ้อนได้ การปฏิวัติ ก็จะล้มเหลว
และฝ่ายปฏิวัติก็จะถูกทาลายหรือไม่ก็จะได้รับความเสียหายอย่างที่สุด
ซึ่งมีตัวอย่างที่สามารถศึกษาจากประวัติศาสตร์ยุคใกล้ที่ผ่านมาไม่นาน
จากประวัติศาสตร์การปฏิวัติของประเทศต่างๆ ความล้มเหลวของขบวนการปฏิวัติ เพราะเนื่อง
มาจากไม่เข้าใจขบวนการปฏิวัติซ้อนมีให้เห็นเป็นอุทธาหรณ์มากมาย ยกตัวอย่างเช่น การปฏิวัติของ จีน เมื่อพ.ศ. 2460
ซึ่งขบวนการปฏิวัตินาโดยพรรค “ก๊กมินตั๋ง” มีดร. ซุนยัดเซ็น เป็นผู้นาการปฏิวัติ ประชาธิปไตย
ต้องการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยของจีน ต้องการปฏิรูปที่ดินโดย ดร. ซุนยัดเซ็น ได้กาหนดทฤษฏีที่ถูกต้องสมบูรณ์
และประยุกต์เข้ากับสภาพของประเทศจีน เรียกว่า “ลัทธิไตรราษฎร” หมายถึงหลัก 3 ประการ คือ 1) ลัทธิชาตินิยม 2)
ลัทธิประชาธิปไตย 3) ลัทธิการ ครองชีพของประชาชน ดูเหมือนว่าการปฏิวัติของ ดร. ซุนยัดเซ็น จะสาเร็จเป็นอย่างดี เพราะ
ประชาชนให้การสนับสนุนอย่างกว้างขวาง ขบวนการปฏิวัติของ ดร. ซุนยัดเซ็น จึงสามารถโค่นล้ม ขบวนการปฏิกิริยาของ
พระนางซูสีไทเฮา ลงได้แต่พออยู่มาเพียง 10 ปีเท่านั้น การปฏิวัติของ ดร. ซุนยัดเซ็น ต้องล้มเหลวและนักปฏิวัติใน ขบวนการของ
ดร. ซุนยัดเซ็น ถูกทาลายจนสิ้น เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะใน ขบวนการปฏิวัติมี ขบวน ปฏิวัติซ้อน อยู่ด้วย โดยพรรค “ก๊กมินตั๋ง”
ได้รวบรวมเอาบุคคลทั้งฝ่ายผิดและฝ่ายถูกไว้ในขบวนการ เดียวกัน แม้จะรู้อยู่ว่ามีทั้งฝ่ายผิดฝ่ายถูกแต่เห็นว่าเป็นพวกเดียวกัน
จึงไม่ขจัดฝ่ายผิดให้หมด ปล่อยให้ ฝ่ายผิดอย่างเช่น เจียงไคเช็ค ขยายตัวเติบโตได้ เพราะเห็นว่า เจียงไคเช็ค ได้ไปศึกษาเล่าเรียนการ
ปฏิวัติมาจากโซเวียต มีคุณสมบัติเพรียบพร้อมสาหรับการปฏิวัติ ดร. ซุนยัดเซ็น จึงแต่งตั้งให้เป็นนาย ขุนศึก(ทหารใหญ่)
แม้จะมีการทัดทานจากสมาชิกพรรค ก๊กมินตั๋งเพราะภายในจิตใจของเจียงไคเช็คมีแต่ความทะเยอทะยานอยากเป็นใหญ่
เมื่อขบวนการประชาธิปไตย โค่นล้มขบวนการเผด็จการของพระนางซูสีไทเฮาลงได้ และดร. ซุนยัดเซ็น เสียชีวิต
เจียงไคเช็คจึงสบโอกาสปราบนักประชาธิปไตย โดยอาศัยข้ออ้างว่าปราบ คอมมิวนิสต์ เพื่อปราบนักประชาธิปไตย แต่จริงๆ
แล้วคอมมิวนิสต์ไม่ได้ถูกปราบ ทาให้พวก ประชาธิปไตยคือพวก “ก๊กมินตั๋ง” ถูกฆ่าตายเกีอบหมด
ส่วนหนึ่งได้หนีตายมาทางทะเลใต้ และเข้า ประเทศไทย ก็คือกองพล 93 ของ ดร. ซุนยัดเซ็น นั่นเอง ผลสุดท้ายประเทศจีน
จึงเหลือแต่คู่ต่อสู้ระหว่างเจียงไคเช็ค ซึ่งกลายเป็น ขบวนการเผด็จการแทน กับ ขบวนการปฏิวัติสังคมนิยม ของเหมาเจ๋ อตุงเท่านั้น
และผลก็คือ ขบวนการเผด็จการก็แพ้ ขบวนการปฏิวัติสังคมนิยมในที่สุด
ถ้าขบวนการประชาธิปไตยไม่ถูกขบวนการปฏิวัติซ้อนทาลาย
ขบวนการปฏิวัติสังคมนิยมจะไม่มีโอกาสทาการปฏิวัติได้สาเร็จอย่างแน่นอน นี่คือตัวอย่าง ของฝ่าย ปฏิวัติที่ไม่เข้าใจฝ่ายปฏิวัติซ้อน
โดยเฉพาะจะเห็นได้ว่า ฝ่ายปฏิวัติซ้อนปราบฝ่ายปฏิวัตินั้นมีความรุนแรงที่สุด รุนแรงยิ่งกว่าฝ่าย ปฏิกิริยาปราบฝ่ายปฏิวัติเสียอีก
เพราะฝ่ายปฏิกิริยาไม่ค่อยมีกาลังจึงมักไม่รุนแรง แต่ฝ่ายปฏิวัติซ้อน มีกาลังจึงมักรุนแรง โดยเฉพาะฝ่ายปฏิวัติด้วยกัน จึงต่างรู้ทันกัน
จึงมักถูกทาลาย อย่างรุนแรง
มีหลายประเทศต้องการทาปฏิวัติหลายครั้ง จึงปฏิวัติสาเร็จ เหตุที่การปฏิวัติ ไม่สาเร็จในครั้ง เดียวก็เพราะ
บทบาทของการปฏิวัติซ้อนเป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิวัติ เช่น ประเทศอังกฤษต้องทาการ ปฏิวัติใหญ่อยู่หลายครั้งจึงประสบความสาเร็จ
ยกตัวอย่างปฏิวัติใหญ่ปี ค.ศ. 1640 ล้มเหลว การปฏิวัติ ใหญ่ในปี ค.ศ. 1648 ล้มเหลว และการปฏิวัติที่โด่งดังที่สุดในปี ค.ศ.
1688 ข้าราชการและประชาชน เข้าร่วมการปฏิวัติครั้งใหญ่ เปลี่ยนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ใน
ระบบรัฐสภาแล้ว แต่อังกฤษก็ยังปฏิวัติไม่เสร็จอีก เพราะกลายเป็นระบอบเผด็จการรัฐสภาไปเสียอีก
ในทางเศรษฐกิจจึงเกิดเป็นระบบผูกขาดทาให้ประชาชนยากจนลงจนปี ค.ศ. 1837 ได้เกิดการปฏิวัติครั้งใหญ่เพื่อขจัดการผูกขาด
นาโดย ขบวนการชาร์ติสต์ เรียกร้อง “กฎบัตรของประชาชน” หรือที่เรียกว่า “ญัตติ 6 ประการ” ประเทศอังกฤษ จึงประสบความ
สาเร็จของการปฏิวัติประชาธิปไตย หรืออย่างการปฏิวัติในประเทศฝรั่งเศส ก็ต้องทาการปฏิวัติใหญ่อยู่ หลายครั้งเช่นกัน เช่น
การปฏิวัติใหญ่ในปี ค.ศ. 1789 ซึ่งเรียกว่า “มหาปฏิวัติฝรั่งเศส” (Great Frence Revolution) การปฏิวัติใหญ่ในปี
ค.ศ. 1848 จากการกาเนิดขึ้นของลัทธิคอมมิวนิสต์ และการปฏิวัติ ใหญ่ปี ค.ศ. 1871 จากการต่อสู้กันของรัฐบาลปารีส คอมมูน
กับรัฐบาลแวซาย ซึ่งมีกรรมกรล้มตาย ประมาณ 1 แสนคนการปฏิวัติฝรั่งเศสจึงประสบความสาเร็จ
สาหรับการปฏิวัติของประเทศไทย มีการปฏิวัติใหญ่ในปี พ.ศ. 2475 ซึ่งนาโดย “คณะราษฎร”
ทาการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบบรัฐสภา จนถึงทุกวันนี้ นั้น
ความจริงแล้วหาใช่ระบอบประชาธิปไตยไม่ เป็นเพียงระบอบเผด็จการรัฐสภาเท่านั้น จะเห็นได้ว่า
ทางเศรษฐกิจได้เกิดการเอารัดเอาเปรียบอย่างกว้างขวาง เรียกว่า “ระบบผูกขาด” ประชาชนยากจนลง
เป็นลาดับซึ่งไม่ต่างกับประชาชนในประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 1837 ดังนั้น การปฏิวัติของคณะราษฎร โดยแท้จริงแล้วก็คือ
การปฏิวัติของขบวนการประชาธิปไตยปลอม หรือขบวนการปฏิวัติซ้อน นั่นเอง เพราะในสมัยนั้นมีขบวนการปฏิวัติจริงอยู่แล้วคือ
ขบวนการของรัชกาลที่ 7 ซึ่งทรงทาการปฏิวัติแบบ สันติค่อยเป็นค่อยไป แต่ขบวนการปฏิวัติซ้อนฉวยโอกาสตัดหน้าไปเสียก่อน
ดังนั้นผลที่ออกมาก็คือ ประชาธิปไตยปลอม นั่นเอง เพราะทาการปฎิวัติจาก ขบวนการประชาธิปไตยปลอม ฉะนั้น การปฏิวัติ
ใหญ่ในปี 2475 ของประเทศไทย จึงไม่ใข่การปฏิวัติครั้งสุดท้าย ประเทศไทย จะต้องมีการ ปฏิวัติใหญ่เกิดขึ้นอีกอย่างแน่นอน
ขบวนการปฏิวัติซ้อน ดังได้กล่าวแล้วว่า เป็นปัญหาทางทฤษฏี เป็นปรากฎการณ์ภายในที่มอง ไม่เห็น
ฝ่ายปฏิวัติจริงมักจะไม่เข้าใจกัน เพราะเข้าใจยาก และมักจะไม่มีใครยอมเชื่อด้วย เพราะถือว่า ฝ่ายปฏิวัติย่อมถูกหมด
มองว่าเป็นพวกเดียวกัน ถ้าใครมามองที่ตรงจุดนี้ เข้ามักจะถูกโจมตีว่าเป็นพวก ขัดขวางปฏิวัติบ้าง เป็นพวกทาลายความสามัคคีบ้าง
เป็นต้น โดยไม่เข้าใจว่าในขบวนการปฏิวัตินั้น มีทั้งฝ่ายผิดและฝ่ายถูก ฝ่ายผิดแท้จริงก็คือกาลังที่เป็นของฝ่ายปฏิกิริยา
หาใช่เป็นกาลังให้แก่ฝ่ายปฏิวัติ ไม่แม้ว่าจะอ้างชื่อเป็นขบวนการประชาธิปไตยก็ตาม ฉะนั้น ถ้านักปฏิวัติไม่เข้าใจปัญหานี้ เป็น
อันตรายที่สุด
การปฏิวัติ ยุทธวิธีที่สาคัญประการหนึ่งคือ การเสนอความจริงหรือความถูกต้องต่อประชาชน
การปิดบังอาพรางความจริงต่อประชาชนย่อมถือเป็นข้อห้ามของนักปฏิวัติ เพราะเป็นการส่อให้เห็นถึง
ลักษณะเจตนาไม่บริสุทธิ์ใจต่อประชาชนเสียแล้ว ย่อมจะขาดคุณสมบัติของนักปฏิวัติประชาธิปไตย ไปทันที
ซึ่งต่างจากขบวนการปฏิวัติซ้อนเป็นขบวนการที่ไม่ต้องการให้ความจริงแก่ ประชาชน เพราะ
ในส่วนลึกของพวกนี้จะรักษาความไม่ถูกต้องไว้ จึงมักจะมีข้ออ้างต่างๆ ไม่ยอมให้ฝ่ายถูกชี้ผิดชี้ถูก ต่อประชาชน
แท้จริงก็คือการยึดถือหลักการของระบอบเผด็จการเอาไว้ หาใช่ถือหลักการของ ประชาชนไม่
โดยเฉพาะเพื่อการตบตาหลอกประชาชนให้แนบเนียนยิ่งขึ้น ขบวนการปฏิวัติซ้อน จึงมักแสดงเคร่งหรือเอาจริงเอาจังเกินกว่าปกติ
ทานองเดียวกับพวกอลัชชีมักจะเคร่งกว่าพระ และข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ
นักเคลื่อนไหวที่ชอบด่าฝ่ายตรงข้ามได้อย่างสะใจผู้ฟัง และด่าอย่างเดียว นั้นนั่นแหละพวกปฏิวัติซ้อนตัวจริง ฉะนั้น
บุคคลที่ทาอะไรเคร่งครัดเกินกว่าปกติ นั่นคือคุณสมบัติที่แท้จริงของพวกปฏิวัติซ้อน
ถ้าขบวนการปฏิวัติปล่อยให้สิ่งผิดครอบงาโดยไม่แก้ไข จึงเรียกว่า “การปฏิวัติเพื่อปราบพวกปฏิวัติ” คือ ฝ่ายผิดปราบฝ่ายถูกนั่นเอง
หลักประกันความสาเร็จของการปฏิวัติจึงมีอย่างเดียว คือ โดดเดี่ยวขบวนการปฏิวัติซ้อนให้สาเร็จ ไม่มีการประนีประนอมเด็ดขาด
เพราะความไม่ถูกต้อง เป็นพื้นฐานของการ แตกสามัคคี ที่ไหนมีความไม่ถูกต้องที่นั่นย่อมแตกความสามัคคี
การทาลายขบวนการปฏิวัติซ้อนในบ้านเราง่าย ไม่เหมือนต่างประเทศ เพราะฝ่ายปฏิวัติซ้อน
ในบ้านเราไม่มีทฤษฏีเป็นอาวุธจึงไม่เข้มแข็ง พวกปฏิวัติซ้อนในต่างประเทศ มักมีทฤษฏีเป็นเครื่องมือจึงเข้มแข็งมาก
ฝ่ายปฏิวัติจึงทาลายยาก การต่อสู้กับขบวนการปฏิวัติซ้อน มิใช่การอธิบายความไม่ถูกต้องต่อ พวกปฏิวัติซ้อน
การต่อสู้ชนิดนี้จะไม่ได้ผล การต่อสู้ที่ได้ผลก็คือ การอธิบายต่อประชาชน
ในขบวนการปฏิวัติย่อมมีขบวนการปฏิวัติซ้อนอยู่ด้วยฉันใด และขบวนการปฏิวัติซ้อนเป็น กาลังให้แก่ขบวนการปฏิกิริยาฉันใด
ในขบวนการเผด็จการ ก็เช่นเดียวกัน ย่อมมีขบวนการเผด็จการ ซ้อนอยู่ด้วยฉันนั้น และขบวนการเผด็จการซ้อน
ย่อมเป็นกาลังให้แก่ขบวนการปฏิวัติ ด้วยฉันนั้น เช่นกัน ฉะนั้น นักปฏิวัติประชาธิปไตยนอกจากจะต้องรู้ว่า
มีขบวนการปฏิวัติซ้อนซึ่งจะต้องโดดเดี่ยวแล้ว จะต้องรู้จักการใช้ประโยชน์จากขบวนการปฏิกิริยาซ้อนให้เป็นประโยชน์แก่ขบวน
การปฏิวัติด้วย ขบวนการปฏิวัติจึงจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด
Edit:thongk2014@gmail.com

More Related Content

More from Thongkum Virut

More from Thongkum Virut (20)

หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทยปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
ปฐมกาลการปกครองระบอบเผด็จการในประเทศไทย
 
ลัทธิประชาธิปไตย
ลัทธิประชาธิปไตยลัทธิประชาธิปไตย
ลัทธิประชาธิปไตย
 
พรรคการเมือง
พรรคการเมืองพรรคการเมือง
พรรคการเมือง
 
ปัญหาทางด้านการเมือง และปัญหาอื่นๆที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เพราะ
ปัญหาทางด้านการเมือง และปัญหาอื่นๆที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เพราะปัญหาทางด้านการเมือง และปัญหาอื่นๆที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เพราะ
ปัญหาทางด้านการเมือง และปัญหาอื่นๆที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เพราะ
 
ระบอบประชาธิปไตย คือ การเลือกตั้ง ใช่หรือไม่
ระบอบประชาธิปไตย คือ การเลือกตั้ง ใช่หรือไม่ระบอบประชาธิปไตย คือ การเลือกตั้ง ใช่หรือไม่
ระบอบประชาธิปไตย คือ การเลือกตั้ง ใช่หรือไม่
 
นโยบายปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
นโยบายปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยนโยบายปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
นโยบายปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
 

ขบวนการปฏิวัติซ้อน หรือ ขบวนการปฏิวัติเพื่อปราบพวกปฏิวัติ

  • 1. ขบวนการปฏิวัติซ้อน หรือ ขบวนการปฏิวัติเพื่อปราบพวกปฏิวัติ (Counter Revolutionary Movement) การปฏิวัติ(Revolution) เป็นกฎของการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของสรรพสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติ หรือสังคม เป็นการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งไม่ดีไปสู่สิ่งที่ดีกว่า นักปฏิวัติ คือ ผู้ที่รู้ว่าธรรมชาติ ย่อมมีกฎเกณฑ์ และรู้ว่าสังคมมนุษย์ต้องมีการเปลี่ยนแปลง แต่การรู้ว่าสังคมต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเดียว ไม่พอ จะต้องรู้ว่าในกระบวนการเปลี่ยนแปลงนั้น มีลักษณะพิเศษชนิดหนึ่งเรียกว่า “ปฏิปักษ์ปฏิวัติ”หรือ “ปฏิวัติซ้อน”(Counterrevolution) อยู่ด้วย ปฏิวัติซ้อน(Counterrevolution) คือ ปัญหาของการปฏิวัติ เป็นความผิดถูกในขบวนปฏิวัติ แต่เป็นปรากฏการณ์ ภายใน มิใช่ปรากฏการณ์ภายนอก ฉะนั้น จึงเข้าใจยาก ซึ่งการจะเข้าใจได้ต้องอาศัย ความรู้ทางทฤษฏี เท่านั้น เพราะเป็นปัญหาของความคิดที่เรียกว่า “แนวความคิด” (Line of Thought) ซึ่งเป็นแนวความ คิดที่ต่างกับแนวปฏิวัติ ปัญหานี้เป็นปัญหาสาคัญที่สุดของการปฏิวัติ เพราะเป็น ปัญหาชี้ขาดของการ ปฏิวัติ ดังนั้น นักปฏิวัติเงื่อนไขแรกที่สาคัญที่สุดก็คือ ต้องเข้าใจว่า ในการปฏิวัตินั้น ย่อมต้องมีการ ปฏิวัติซ้อนและในขบวนการปฏิวัติจึงมีทั้งฝ่ายถูกและฝ่ายผิดร่วมกันอยู่ คือมีทั้งฝ่ายปฏิวัติจริง และ ฝ่ายปฏิวัติปลอม(ปฏิวัติซ้อน) มิใช่ว่าในขบวนการปฏิวัติแล้ว ต้องมีแต่นักปฏิวัติเพียงอย่างเดียว ถ้าเข้าใจว่าใน ขบวนการปฏิวัติย่อมเป็นฝ่ายถูกทั้งหมดก็จะเป็นการเข้าใจผิดพลาดอย่างแรงและ ความเข้าใจผิดพลาดนี้จะนาไปสู่ความผิดพลาดถึงขั้น ล้มเหลวของการปฏิวัติ และความ ฉิ...หายล่มจมของขบวนการ ปฏิวัติทั้งขบวนด้วย
  • 2. เพื่อความเข้าใจในปัญหานี้ จะต้องทาความเข้าใจกับขบวนการเมือง (Political Movement) ที่สาคัญคือ ขบวนการเผด็จการ และขบวนการประชาธิปไตย ขบวนการเผด็จการ เป็นขบวนการล้าหลัง (Back Ward) ขบวนการประชาธิปไตย เป็นขบวนการก้าวหน้า (Progressive) นัยหนึ่ง ขบวนการเผด็จการเป็นขบวนการปฏิกิริยา (Reactionary) ขบวนการประชาธิปไตยเป็นขบวนการปฏิวัติ (Revolutionary) ในขบวนการปฏิวัติยังสามารถแยกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ การปฏิวัติประชาธิปไตย (Democratic Revolution) และ การปฏิวัติสังคมนิยม (Socialist Revolution) เหตุที่จัดขบวนการ ปฏิวัติสังคมนิยมอยู่ในขบวนการปฏิวัติประชาธิปไตย เพราะขบวนการปฏิวัติสังคมนิยม ในปัจจุบัน ยังไม่สามารถทาการปฏิวัติสังคมนิยม จึงต้องเข้าร่วมทาการปฏิวัติประชาธิปไตย กับขบวนการ ประชาธิปไตยก่อน แต่ก็เป็นปัญหาเพียงด้านภารกิจเท่านั้น มิใช่จุดหมายปลายทาง ขบวนการปฏิวัตินั้น นอกจากจะจาแนกเป็นขบวนการปฏิวัติประชาธิปไตย และขบวนการ ปฏิวัติสังคมนิยมแล้วยังจาแนกเป็น ขบวนการปฏิวัติ (Revolutionary Movement) และขบวนการ ปฏิวัติซ้อน (Counter Revolutionary Movement) อีกด้วย ขบวนการปฏิวัติซ้อน โดยรูปแบบเป็นขบวนการปฏิวัติ ไม่ใช่ขบวนการปฏิกิริยา เป็นขบวน การก้าวหน้า ไม่ใช่ขบวนการล้าหลัง แต่โดยเนื้อแท้ต่างกับขบวนการปฏิวัติ เพราะมีแนวทางและ นโยบายส่งเสริมแก่ระบอบเผด็จการ แต่มีเจตนารมณ์ประชาธิปไตย เช่นเดียวกับขบวนการ ประชาธิปไตย ฉะนั้นบทบาทของขบวนการปฏิวัติซ้อน คือ เป็นหลักค้าของระบอบเผด็จการ และทาลายประชาธิปไตย เพราะว่า ขบวนการณ์เหล่านี้ไม่มีการนาของตนเอง หากแต่ต้องอาศัย การนาของขบวนการอื่นๆ เช่น การนาของพรรคคอมมิวนิสต์บ้าง การนาของพรรคเผด็จการบ้าง ระบอบเผด็จการ ความจริงหาได้มีความเข้มแข็งแต่อย่างใดไม่เพราะเป็นอานาจของคน ส่วนน้อย แต่ที่ระบอบเผด็จการสามารถดารงอยู่ได้นั้น ก็เพราะบทบาทของขบวนการปฏิวัติซ้อน หรือขบวนการประชาธิปไตยปลอมนี่เอง ฉะนั้น ขบวนการประชาธิปไตยปลอม จึงเป็นอุปสรรคของการปฏิวัติประชาธิปไตยอย่างที่สุด เพราะเป็นปฏิปักษ์ปฏิวัติที่คอยปกป้ องระบอบเผด็จการ การปฏิวัติจะเป็นไป ได้หรือไม่ จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับการต่อสู้ระหว่าง ขบวนการเผด็จการ กับ ขบวนการประชาธิปไตย เป็นสาคัญ แต่ขึ้นอยู่กับการต่อสู้ระหว่างขบวนการประชาธิปไตย กับขบวนการประชาธิปไตยปลอมเป็น สาคัญและเหตุที่การปฏิวัติประชาธิปไตยบ้านเราล้มเหลวมาตลอดก็เพราะสาเหตุตรงจุด นี้นั่นเอง ในสถานการณ์ปฏิวัติยังมาไม่ถึงปัญหานี้จะไม่ค่อยมี แต่ถ้าสถานการณ์ปฏิวัติใกล้จะมาถึง ความขัดแย้งของขบวนการปฏิวัติซ้อนจะแสดงบทบาทปฏิปักษ์ปฏิวัติอย่างรุนแรง ในสถานการณ์ เช่นนี้ ถ้าขบวนการปฏิวัติประชาธิปไตยไม่สามารถจะโดเดี่ยวขบวนการปฏิวัติซ้อนได้ การปฏิวัติ ก็จะล้มเหลว และฝ่ายปฏิวัติก็จะถูกทาลายหรือไม่ก็จะได้รับความเสียหายอย่างที่สุด ซึ่งมีตัวอย่างที่สามารถศึกษาจากประวัติศาสตร์ยุคใกล้ที่ผ่านมาไม่นาน จากประวัติศาสตร์การปฏิวัติของประเทศต่างๆ ความล้มเหลวของขบวนการปฏิวัติ เพราะเนื่อง มาจากไม่เข้าใจขบวนการปฏิวัติซ้อนมีให้เห็นเป็นอุทธาหรณ์มากมาย ยกตัวอย่างเช่น การปฏิวัติของ จีน เมื่อพ.ศ. 2460 ซึ่งขบวนการปฏิวัตินาโดยพรรค “ก๊กมินตั๋ง” มีดร. ซุนยัดเซ็น เป็นผู้นาการปฏิวัติ ประชาธิปไตย ต้องการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยของจีน ต้องการปฏิรูปที่ดินโดย ดร. ซุนยัดเซ็น ได้กาหนดทฤษฏีที่ถูกต้องสมบูรณ์ และประยุกต์เข้ากับสภาพของประเทศจีน เรียกว่า “ลัทธิไตรราษฎร” หมายถึงหลัก 3 ประการ คือ 1) ลัทธิชาตินิยม 2) ลัทธิประชาธิปไตย 3) ลัทธิการ ครองชีพของประชาชน ดูเหมือนว่าการปฏิวัติของ ดร. ซุนยัดเซ็น จะสาเร็จเป็นอย่างดี เพราะ
  • 3. ประชาชนให้การสนับสนุนอย่างกว้างขวาง ขบวนการปฏิวัติของ ดร. ซุนยัดเซ็น จึงสามารถโค่นล้ม ขบวนการปฏิกิริยาของ พระนางซูสีไทเฮา ลงได้แต่พออยู่มาเพียง 10 ปีเท่านั้น การปฏิวัติของ ดร. ซุนยัดเซ็น ต้องล้มเหลวและนักปฏิวัติใน ขบวนการของ ดร. ซุนยัดเซ็น ถูกทาลายจนสิ้น เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะใน ขบวนการปฏิวัติมี ขบวน ปฏิวัติซ้อน อยู่ด้วย โดยพรรค “ก๊กมินตั๋ง” ได้รวบรวมเอาบุคคลทั้งฝ่ายผิดและฝ่ายถูกไว้ในขบวนการ เดียวกัน แม้จะรู้อยู่ว่ามีทั้งฝ่ายผิดฝ่ายถูกแต่เห็นว่าเป็นพวกเดียวกัน จึงไม่ขจัดฝ่ายผิดให้หมด ปล่อยให้ ฝ่ายผิดอย่างเช่น เจียงไคเช็ค ขยายตัวเติบโตได้ เพราะเห็นว่า เจียงไคเช็ค ได้ไปศึกษาเล่าเรียนการ ปฏิวัติมาจากโซเวียต มีคุณสมบัติเพรียบพร้อมสาหรับการปฏิวัติ ดร. ซุนยัดเซ็น จึงแต่งตั้งให้เป็นนาย ขุนศึก(ทหารใหญ่) แม้จะมีการทัดทานจากสมาชิกพรรค ก๊กมินตั๋งเพราะภายในจิตใจของเจียงไคเช็คมีแต่ความทะเยอทะยานอยากเป็นใหญ่ เมื่อขบวนการประชาธิปไตย โค่นล้มขบวนการเผด็จการของพระนางซูสีไทเฮาลงได้ และดร. ซุนยัดเซ็น เสียชีวิต เจียงไคเช็คจึงสบโอกาสปราบนักประชาธิปไตย โดยอาศัยข้ออ้างว่าปราบ คอมมิวนิสต์ เพื่อปราบนักประชาธิปไตย แต่จริงๆ แล้วคอมมิวนิสต์ไม่ได้ถูกปราบ ทาให้พวก ประชาธิปไตยคือพวก “ก๊กมินตั๋ง” ถูกฆ่าตายเกีอบหมด ส่วนหนึ่งได้หนีตายมาทางทะเลใต้ และเข้า ประเทศไทย ก็คือกองพล 93 ของ ดร. ซุนยัดเซ็น นั่นเอง ผลสุดท้ายประเทศจีน จึงเหลือแต่คู่ต่อสู้ระหว่างเจียงไคเช็ค ซึ่งกลายเป็น ขบวนการเผด็จการแทน กับ ขบวนการปฏิวัติสังคมนิยม ของเหมาเจ๋ อตุงเท่านั้น และผลก็คือ ขบวนการเผด็จการก็แพ้ ขบวนการปฏิวัติสังคมนิยมในที่สุด ถ้าขบวนการประชาธิปไตยไม่ถูกขบวนการปฏิวัติซ้อนทาลาย ขบวนการปฏิวัติสังคมนิยมจะไม่มีโอกาสทาการปฏิวัติได้สาเร็จอย่างแน่นอน นี่คือตัวอย่าง ของฝ่าย ปฏิวัติที่ไม่เข้าใจฝ่ายปฏิวัติซ้อน โดยเฉพาะจะเห็นได้ว่า ฝ่ายปฏิวัติซ้อนปราบฝ่ายปฏิวัตินั้นมีความรุนแรงที่สุด รุนแรงยิ่งกว่าฝ่าย ปฏิกิริยาปราบฝ่ายปฏิวัติเสียอีก เพราะฝ่ายปฏิกิริยาไม่ค่อยมีกาลังจึงมักไม่รุนแรง แต่ฝ่ายปฏิวัติซ้อน มีกาลังจึงมักรุนแรง โดยเฉพาะฝ่ายปฏิวัติด้วยกัน จึงต่างรู้ทันกัน จึงมักถูกทาลาย อย่างรุนแรง มีหลายประเทศต้องการทาปฏิวัติหลายครั้ง จึงปฏิวัติสาเร็จ เหตุที่การปฏิวัติ ไม่สาเร็จในครั้ง เดียวก็เพราะ บทบาทของการปฏิวัติซ้อนเป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิวัติ เช่น ประเทศอังกฤษต้องทาการ ปฏิวัติใหญ่อยู่หลายครั้งจึงประสบความสาเร็จ ยกตัวอย่างปฏิวัติใหญ่ปี ค.ศ. 1640 ล้มเหลว การปฏิวัติ ใหญ่ในปี ค.ศ. 1648 ล้มเหลว และการปฏิวัติที่โด่งดังที่สุดในปี ค.ศ. 1688 ข้าราชการและประชาชน เข้าร่วมการปฏิวัติครั้งใหญ่ เปลี่ยนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ใน ระบบรัฐสภาแล้ว แต่อังกฤษก็ยังปฏิวัติไม่เสร็จอีก เพราะกลายเป็นระบอบเผด็จการรัฐสภาไปเสียอีก ในทางเศรษฐกิจจึงเกิดเป็นระบบผูกขาดทาให้ประชาชนยากจนลงจนปี ค.ศ. 1837 ได้เกิดการปฏิวัติครั้งใหญ่เพื่อขจัดการผูกขาด นาโดย ขบวนการชาร์ติสต์ เรียกร้อง “กฎบัตรของประชาชน” หรือที่เรียกว่า “ญัตติ 6 ประการ” ประเทศอังกฤษ จึงประสบความ สาเร็จของการปฏิวัติประชาธิปไตย หรืออย่างการปฏิวัติในประเทศฝรั่งเศส ก็ต้องทาการปฏิวัติใหญ่อยู่ หลายครั้งเช่นกัน เช่น การปฏิวัติใหญ่ในปี ค.ศ. 1789 ซึ่งเรียกว่า “มหาปฏิวัติฝรั่งเศส” (Great Frence Revolution) การปฏิวัติใหญ่ในปี ค.ศ. 1848 จากการกาเนิดขึ้นของลัทธิคอมมิวนิสต์ และการปฏิวัติ ใหญ่ปี ค.ศ. 1871 จากการต่อสู้กันของรัฐบาลปารีส คอมมูน กับรัฐบาลแวซาย ซึ่งมีกรรมกรล้มตาย ประมาณ 1 แสนคนการปฏิวัติฝรั่งเศสจึงประสบความสาเร็จ สาหรับการปฏิวัติของประเทศไทย มีการปฏิวัติใหญ่ในปี พ.ศ. 2475 ซึ่งนาโดย “คณะราษฎร” ทาการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบบรัฐสภา จนถึงทุกวันนี้ นั้น ความจริงแล้วหาใช่ระบอบประชาธิปไตยไม่ เป็นเพียงระบอบเผด็จการรัฐสภาเท่านั้น จะเห็นได้ว่า ทางเศรษฐกิจได้เกิดการเอารัดเอาเปรียบอย่างกว้างขวาง เรียกว่า “ระบบผูกขาด” ประชาชนยากจนลง เป็นลาดับซึ่งไม่ต่างกับประชาชนในประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 1837 ดังนั้น การปฏิวัติของคณะราษฎร โดยแท้จริงแล้วก็คือ การปฏิวัติของขบวนการประชาธิปไตยปลอม หรือขบวนการปฏิวัติซ้อน นั่นเอง เพราะในสมัยนั้นมีขบวนการปฏิวัติจริงอยู่แล้วคือ
  • 4. ขบวนการของรัชกาลที่ 7 ซึ่งทรงทาการปฏิวัติแบบ สันติค่อยเป็นค่อยไป แต่ขบวนการปฏิวัติซ้อนฉวยโอกาสตัดหน้าไปเสียก่อน ดังนั้นผลที่ออกมาก็คือ ประชาธิปไตยปลอม นั่นเอง เพราะทาการปฎิวัติจาก ขบวนการประชาธิปไตยปลอม ฉะนั้น การปฏิวัติ ใหญ่ในปี 2475 ของประเทศไทย จึงไม่ใข่การปฏิวัติครั้งสุดท้าย ประเทศไทย จะต้องมีการ ปฏิวัติใหญ่เกิดขึ้นอีกอย่างแน่นอน ขบวนการปฏิวัติซ้อน ดังได้กล่าวแล้วว่า เป็นปัญหาทางทฤษฏี เป็นปรากฎการณ์ภายในที่มอง ไม่เห็น ฝ่ายปฏิวัติจริงมักจะไม่เข้าใจกัน เพราะเข้าใจยาก และมักจะไม่มีใครยอมเชื่อด้วย เพราะถือว่า ฝ่ายปฏิวัติย่อมถูกหมด มองว่าเป็นพวกเดียวกัน ถ้าใครมามองที่ตรงจุดนี้ เข้ามักจะถูกโจมตีว่าเป็นพวก ขัดขวางปฏิวัติบ้าง เป็นพวกทาลายความสามัคคีบ้าง เป็นต้น โดยไม่เข้าใจว่าในขบวนการปฏิวัตินั้น มีทั้งฝ่ายผิดและฝ่ายถูก ฝ่ายผิดแท้จริงก็คือกาลังที่เป็นของฝ่ายปฏิกิริยา หาใช่เป็นกาลังให้แก่ฝ่ายปฏิวัติ ไม่แม้ว่าจะอ้างชื่อเป็นขบวนการประชาธิปไตยก็ตาม ฉะนั้น ถ้านักปฏิวัติไม่เข้าใจปัญหานี้ เป็น อันตรายที่สุด การปฏิวัติ ยุทธวิธีที่สาคัญประการหนึ่งคือ การเสนอความจริงหรือความถูกต้องต่อประชาชน การปิดบังอาพรางความจริงต่อประชาชนย่อมถือเป็นข้อห้ามของนักปฏิวัติ เพราะเป็นการส่อให้เห็นถึง ลักษณะเจตนาไม่บริสุทธิ์ใจต่อประชาชนเสียแล้ว ย่อมจะขาดคุณสมบัติของนักปฏิวัติประชาธิปไตย ไปทันที ซึ่งต่างจากขบวนการปฏิวัติซ้อนเป็นขบวนการที่ไม่ต้องการให้ความจริงแก่ ประชาชน เพราะ ในส่วนลึกของพวกนี้จะรักษาความไม่ถูกต้องไว้ จึงมักจะมีข้ออ้างต่างๆ ไม่ยอมให้ฝ่ายถูกชี้ผิดชี้ถูก ต่อประชาชน แท้จริงก็คือการยึดถือหลักการของระบอบเผด็จการเอาไว้ หาใช่ถือหลักการของ ประชาชนไม่ โดยเฉพาะเพื่อการตบตาหลอกประชาชนให้แนบเนียนยิ่งขึ้น ขบวนการปฏิวัติซ้อน จึงมักแสดงเคร่งหรือเอาจริงเอาจังเกินกว่าปกติ ทานองเดียวกับพวกอลัชชีมักจะเคร่งกว่าพระ และข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ นักเคลื่อนไหวที่ชอบด่าฝ่ายตรงข้ามได้อย่างสะใจผู้ฟัง และด่าอย่างเดียว นั้นนั่นแหละพวกปฏิวัติซ้อนตัวจริง ฉะนั้น บุคคลที่ทาอะไรเคร่งครัดเกินกว่าปกติ นั่นคือคุณสมบัติที่แท้จริงของพวกปฏิวัติซ้อน ถ้าขบวนการปฏิวัติปล่อยให้สิ่งผิดครอบงาโดยไม่แก้ไข จึงเรียกว่า “การปฏิวัติเพื่อปราบพวกปฏิวัติ” คือ ฝ่ายผิดปราบฝ่ายถูกนั่นเอง หลักประกันความสาเร็จของการปฏิวัติจึงมีอย่างเดียว คือ โดดเดี่ยวขบวนการปฏิวัติซ้อนให้สาเร็จ ไม่มีการประนีประนอมเด็ดขาด เพราะความไม่ถูกต้อง เป็นพื้นฐานของการ แตกสามัคคี ที่ไหนมีความไม่ถูกต้องที่นั่นย่อมแตกความสามัคคี การทาลายขบวนการปฏิวัติซ้อนในบ้านเราง่าย ไม่เหมือนต่างประเทศ เพราะฝ่ายปฏิวัติซ้อน ในบ้านเราไม่มีทฤษฏีเป็นอาวุธจึงไม่เข้มแข็ง พวกปฏิวัติซ้อนในต่างประเทศ มักมีทฤษฏีเป็นเครื่องมือจึงเข้มแข็งมาก ฝ่ายปฏิวัติจึงทาลายยาก การต่อสู้กับขบวนการปฏิวัติซ้อน มิใช่การอธิบายความไม่ถูกต้องต่อ พวกปฏิวัติซ้อน การต่อสู้ชนิดนี้จะไม่ได้ผล การต่อสู้ที่ได้ผลก็คือ การอธิบายต่อประชาชน ในขบวนการปฏิวัติย่อมมีขบวนการปฏิวัติซ้อนอยู่ด้วยฉันใด และขบวนการปฏิวัติซ้อนเป็น กาลังให้แก่ขบวนการปฏิกิริยาฉันใด ในขบวนการเผด็จการ ก็เช่นเดียวกัน ย่อมมีขบวนการเผด็จการ ซ้อนอยู่ด้วยฉันนั้น และขบวนการเผด็จการซ้อน ย่อมเป็นกาลังให้แก่ขบวนการปฏิวัติ ด้วยฉันนั้น เช่นกัน ฉะนั้น นักปฏิวัติประชาธิปไตยนอกจากจะต้องรู้ว่า มีขบวนการปฏิวัติซ้อนซึ่งจะต้องโดดเดี่ยวแล้ว จะต้องรู้จักการใช้ประโยชน์จากขบวนการปฏิกิริยาซ้อนให้เป็นประโยชน์แก่ขบวน การปฏิวัติด้วย ขบวนการปฏิวัติจึงจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด Edit:thongk2014@gmail.com