SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
การส่งเสริมสุข
ภาพผู้สูงอายุ
Elderly health promotion
1
Next
สารบัญ
วัตถุประสงค์
ที่มาและความสำคัญ
ขอบเขตโครงงาน
การส่งเสริมสุขภาพ
ผู้สูงอายุในประเทศไทย
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การพัฒนาทักษะในผู้สูงอายุ
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
หลักการ 10 อ.
วิธีป้องกันการหกล้ม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ
การสร้างภูมิคุ้มกัน
ความต้องการของผู้สูงอายุ
แหล่งอ้างอิง
ผู้จัดทำ
NextBack
2
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุไม่มองตัวเองด้อยค่า
- การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
- การมีสุขภาพที่ดี ปราศจากโรค
วัตถุประสงค์
NextBack
3
ที่มาและความสำคัญ
โครงงานนี้ทำเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เพื่อ
ให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีและแข็งแรง
ผู้สูงอายุมักคิดว่า ผู้สูงอายุมักมองว่าตนเองด้อยค่า ต้อง
พึ่งพาผู้อื่น
ไม่สามารถทำสิ่งใดได้ดี แต่แท้จริงแล้ว ผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มี
คุณค่าต่อสังคมเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งความรู้ความ
ชำนาญ และเป็นผู้ธำรงไว้ซึ่งประเพณี วัฒนธรรม อีกทั้งยัง
เป็นสายใยสำคัญของครอบครัวอีกด้วย
NextBack
4
ขอบเขตโครงงาน
- วิธีดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
- ให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมต่าง
- สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ
NextBack
5
การส่งเสริมสุขภาพ
หมายถึง ขบวนการส่งเสริมให้
ประชาชน เพิ่มสมรรถนะในการควบคุม และปรับปรุง สุขภาพของตนเอง ในการบรรลุซึ่งสุข
ภาวะอันสมบูรณ์ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม บุคคล และกลุ่มบุคคลจะต้องสามารถบ่ง
บอก และตระหนักถึงความ มุ่งมาดปรารถนาของตนเอง สามารถตอบสนองต่อปัญหาของ
ตนเอง และ สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม หรือปรับตนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม หรือปรับตน
ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ อีกทั้งยังสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ เช่น ลด
ปัจจัย
เสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็ง การขาดการออกกำลังกาย การขาดจิตสำนึกในเรื่องของความ
ปลอดภัย
ทำให้เกิดอุบัติเหตุ หลีกเลี่ยงจาก สิ่งแวดล้อมเป็นพิษที่เป็นสาเหตุที่ทำลายสุขภาพ
ขณะเดียวกันก็ให้ความสำคัญ หรือเน้นให้การเพิ่มในด้านปัจจัยส่งเสริมสุขภาพ เช่น การออก
กำลังกายมากขึ้น รับประทานอาหารที่มีประโยชน์อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
NextBack
6
ผู้สูงอายุในประเทศไทย
แนวโน้มทางประชากร ในช่วงเวลากว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมา สภาวการณ์ทางประชากร
ของ ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อัตราการเพิ่มประชากรลดลง จาก
ระดับสูง คือ ประมาณร้อยละ 3.0 ต่อปี ในช่วงปี พ.ศ. 2503 มาสู่ระดับที่ ค่อนข้างต่ำ
ประมาณร้อยละ 1.1 ต่อปีในปัจจุบัน การลดลงของภาวะการตาย ของประชากรไทย
เนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการ นำเอาวิทยาการทางการแพทย์
สมัยใหม่มาใช้ และการด าเนินงานทางด้านการ สาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นการขยายบริการ
การแพทย์ เช่น การเพิ่มจำนวน ศูนย์บริการสาธารณสุข และโรงพยาบาล ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ
ของประเทศ หรือการ มีโครงการสาธารณสุขขั้นมูลฐาน และการดำเนินการควบคุมโรค
ติดต่อที่สำคัญ อีกส่วนหนึ่งน่าจะเป็นผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอดีต ก็ส่งผลให้
รายได้4 ส่วนบุคคลเพิ่มขึ้น ทำให้ความสามารถในการใช้จ่ายในการป้องกันสุขภาพมีมาก
ขึ้น
นอกจากนี้การพัฒนาทางสังคม โดยเฉพาะในด้านการศึกษาและการส่งเสริม
สถานภาพสตรี น่าจะเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนช่วยลดระดับการตาย โดยเฉพาะ การตาย
ของทารกและเด็ก ทั้งนี้น่าจะเนื่องมาจากมารดาที่ได้รับการศึกษาที่ดีย่อมจะมีโลกทัศน์ที่
เปิดกว้าง ยอมเปิดรับวิทยาการสมัยใหม่ รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันรักษา
สุขภาพให้กับบุตร
NextBack
7
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ทำได้โดยการช่วยกันกำหนดนโยบายสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมกันของ
คนในชุมชนเพื่อเป้าหมายคือทุกคนในชุมชนต้องพร้อมใจกันทำทุกอย่างให้ทุก ๆคนในชุมชนมี
สุขภาพที่ดี ต่อมาคือการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพผู้สูงอายุ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ผู้สูงอายุได้แก่ ครอบครัว เพื่อนบ้าน ชุมชนและสังคม ต้องมีการช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมที่
อยู่รอบตัวผู้สูงอายุให้สะอาด มีความปลอดภัย เป็นระเบียบ รู้สึกอบอุ่นเต็มไปด้วยความรัก
ความเอาใจใส่ ฯลฯ ชุมชนควรมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการรวมกลุ่มเพื่อ
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนและดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เช่น รวมกลุ่มกันจัดกิจกรรม
ด้านใดด้านหนึ่งที่ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกในกลุ่มมีความสนใจร่วมกันเพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำ
กิจกรรมตามความถนัดเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
NextBack
8
การพัฒนาทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ
โดยให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกคนไม่ว่าจะเป็น ผู้สูงอายุ คนใน
ครอบครัวและชุมชนเพื่อให้เกิดความเข้าใจในทุก ๆ เรื่องที่เกี่ยวกับ
ผู้สูงอายุไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจและ
สังคมของผู้สูงอายุ ตลอดจนวิธีการดูแลผู้สูงอายุด้วยความเข้าใจ
รวมทั้งการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วย สุดท้ายคือการปรับเปลี่ยน
บริการด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นผู้สูงอายุหรือคนในชุมขนต้อง
สามารถเข้าถึงบริการได้ บริการสาธารณสุขต้องมีการดูแล คัดกรอง
ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพให้เป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมที่
ครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน
NextBack
9
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
จะสำเร็จได้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย
ทั้งจากการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ความร่วมมือของทั้งผู้สูงอายุ คนในครอบครัว คนใน
ชุมชนเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึง
ประสงค์ มีความสุขทั้งทางร่างกาย จิตใจและสังคม
ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานสามารถช่วยเหลือตนเอง
และสังคมได้ตามอัตภาพเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพที่
ลูกหลานให้ความเคารพและ
ภาคภูมิใจ
NextBack
10
หลัก 10 อ.
NextBack
11
1. อาหาร ควรลดประเภทไขมันและคาร์โบไฮเดตลง ส่วนโปนตีนควรเป็นเนื้อ
สัตว์มี่ย่อยง่าย เช่น เนื้อปลาและไข่ขาว ส่วนไข่แดงไม่เกินสัปดาห์ละ 3ฟอง ผลไ้ม้
ไม่หวานจนเกินไป เพราะอาจเป็นสาเหตุโรคเบาหวาน
2. ออกกำลังกาย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง เคลื่อที่ได้อย่างคล่องแคล่ว จะทำให้
การทรงตัวดีขึ้น ควรออกกำลังการสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง
หลักการ 10 อ. คือแนวทางการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
3. อุจจาระ ปัสสาวะ ผู้สูงอายุจะต้องให้ความสนใจเรื่องการขับถ่ายให้มากเป็นพิเศษ
หากมีปัญหาขับถ่ายยาก ถ่ายลำบาก หรือกลั้นการขับถ่ายไม่ได้ ก็ควรรีบแก้ ปัญหา
NextBack
12
4. อนามัย ผู้สูงอายุควรรู้จักสังเกตการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ระบบ
ขับถ่าย ควรพยายามลด ละ เลิกสิ่งที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น เหล้า บุหรี่
และพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ สำหรับผู้ที่อายุ 65 ปีขึ้นไป ควรตรวจสุขภาพเป็นประจำ
ทุกปี
5. อากาศ และแสงอาทิตย์ผู้สูงอายุควรได้อยู่ในสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดี เป็น
ธรรมชาติ มีอากาศบริสุทธิ์ และควรได้รับแสงแดดบ้าง
6. อารมณ์ ผู้สูงอายุจะมีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย เช่น หงุดหงิด โมโห โกรธง่าย ทำให้
ขาดสติในการไตร่ตรองเหตุผล ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับบุคคลอื่นได้ ง่าย
และต้องหาวิธีควบคุมอารมณ์ซึ่งมีหลายวิธี เช่น การทำสมาธิ การศึกษาธรรมะ จะ
ช่วยให้ผ่อนคลาย มีสติมากขึ้น
NextBack
13
7. อดิเรก ผู้สูงอายุควรหางานอดิเรกทำเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจหรือลดการ
หมกมุ่นในสิ่งที่ทำให้ไม่สบายใจ เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
8. อบอุ่น การเป็นบุคคลที่มีบุคลิกโอบอ้อม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือสมาชิกใน
ครอบครัวและบุคคลอื่น เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
9. อุบัติเหตุ ระมัดระวังไม่ให้เกิดอุบัติเหตุโดยวีการต่าง ๆ เช่น สายตายาวต้องใส่แว่น
สายตา ได้ยินไม่ชัดเจนต้องไปตรวจหูเพื่อแก้ไข ถ้ามีสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมต้อง ไป
ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
10. อนาคต ผู้สูงอายุต้องเตรียมเงินและที่อยู่อาศัยเพื่อเป็นหลักประกันในการดำเนิน
ชีวิต
NextBack
14
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ
NextBack
15
ประกอบด้วยปัจจัย 3 ด้าน
1.ปัจัยส่วนบุคคล
1.1 ระดับการศึกษา ผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาสูง จะมีความสามารถใน การ
ดูแลตนเอง และมีโอกาสเลือกท ากิจกรรมได้ดี และมากกว่ากลุ่มที่มีการศึกษาต่ำ
1.2 งานอดิเรก หมายถึง วิถีทางในการใช้เวลาทำกิจกรรมด้านต่าง ๆ
นอกเหนือไปจากหน้าที่การงานประจำ หรือเป็นกิจกรรมที่ทำในเวลาว่าง ด้วยความ
สมัครใจ เพื่อก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน แก่ผู้กระทำโดยตรง บทบาท และกิจกรรมใดก็
ตาม ที่บุคคลถูกผลักดันให้เลิกกระทำ จะต้องมีกิจกรรมใหม่ขึ้นมาทดแทน และ
กิจกรรมหนึ่งที่ถูกเลือกเข้ามาคือ งานอดิเรก
1.3 สุขภาพ ผู้สูงอายุมักประสบปัญหาสุขภาพที่ทรุดโทรมลง ซึ่งเป็น อุปสรรค
ต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และการต้องพึ่งพิงผู้อื่น สิ่งนี้ ทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึก
ด้อย ในสายตาของบุคคลทั่วไป และมีผลต่อความ พึงพอใจของผู้สูงอายุด้วย
NextBack
16
2. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
3. ปัจจัยด้านความสัมพัม์ทางสังคม
ปัญหาเศรษฐกิจเป็นปัญหาหลักของผู้สูงอายุ ทำให้รายได้ลด
น้อยลง ส่งผลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง ทางด้าน สุขภาพ และส่งผล
ต่อความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ
เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ทำให้ต้องเสีย บทบาทในการทำงาน ผู้สูง
อายุจึงเปลี่ยนจุดสนใจไปยังครอบครัว หาบทบาทใหม่ให้กับตนเอง
ด้วยการเป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำช่วยดูแล 24 ลูกหลานภายในบ้าน
หากความสัมพันธ์ในครอบครัวดี จะส่งผลต่อความ พึงพอใจในชีวิต
ของผู้สูงอายุ ส่วนด้านความสัมพันธ์ของผู้สูงอายุกับ บุคคลภายนอก
หรือสังคมนั้น ในปี 1986 เบอร์กแมน ได้ทำการศึกษา ผู้สูงอายุจำนวน
7,200 คน เป็นเวลา 10 ปี พบว่าผู้สูงอายุที่แยกตัวออกจากสังคม มี
อัตราการตายสูงกว่าผู้ที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคม ถึง 2.5 เท่า
NextBack
17
จากปัจจัย 3 ด้านที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ ในส่วน ของงาน
อดิเรก และการมีสัมพันธภาพกับบุคคลในครอบครัว รวมทั้งสังคม ใน การดำเนิน
ชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ ซึ่งอาจกลายเป็นบทบาทหน้าที่ของ ผู้สูงอายุ ที่ควรมีต่อสังคม
ครอบครัว และชุมชน เพื่อการมีคุณค่าในชีวิต และ เพิ่มความพึงพอใจตนเองของผู้สูงอายุ
อาจ
แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
Back Next
18
1. กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ
(Informal activity) เช่น
การช่วย. เหลืองานของ
สมาชิกใน
ครอบครัว และการพบปะ
สังสรรค์กับเพื่อน ญาติ
เป็นต้น
2. กิจกรรมที่มีรูปแบบ
(Formal activity) เช่น
เข้าร่วมในสมาคมต่าง ๆ
การเข้ากลุ่ม
ทางศาสนา การเป็น
อาสาสมัครเพื่อสังคม ซึ่ง
เป็นกิจกรรม ภายนอก
ครอบครัว เป็น
ต้น
3. กิจกรรมที่ทำคนเดียว
(Solitary activity) เช่น
การทำงานในยามว่าง
กิจกรรมเพื่อ
การพักผ่อนหย่อนใจส่วน
ตัว และกิจกรรมภายใน
บ้าน เป็น ต้น
Back Next
19
2. ควรใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน ที่มีความสูงเหมาะสม มั่นคง ปลายมียางหุ้ม
3. บันได เลี่ยงการใช้บันได ถ้าจำเป็นต้องใช้บันไดต้องมีความมั่นคง มี
ความกว้างพอดี
1. ห้องน้ำ/สุขา ควรมีราวเกาะข้างฝา และบริเวณที่ต้องลุกอย่างมั่นคง
ควรใช้โถส้วมแบบชักโครก ควรจัดวางของใช้ให้หยิบจับง่าย ในระดับ
ข้อศอก
วิธีป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
Back Next
20
4. ส่งเสริมผู้สูงอายุให้ออกก้าลังกาย เน้นการบริหารกล้ามเนื้อขาให้
แข็งแรง เช่น ออกก าลังกายแบบไท้เก็ก ฯ
5. ห้องนอน/ห้องนั่งเล่น ควรจัดของใช้ให้เป็นระเบียบ หยิบจับง่าย ไม่มี
ของเกะกะ ตามพื้นห้องโดยเฉพาะสายไฟ จัดให้มีแสงสว่างอย่างเพียงพอตาม
ทางเดิน ไม่มีหยดน้ าตามพื้นหรือทางเดิน เคลื่อนไหวหรือลุกจากเตียงอย่าง
ช้าๆ
Back Next
21
การสร้างภูมิคุ้มกันผู้สูงอายุ
Back Next
22
การสร้างภูมิแบบธรรมชาติ
นอนเพิ่มภูมิ
การนอนหลับไม่พอนั้น
มีผลทำให้ร่างกายลดการ
สร้างเซลล์ในระบบภูมิ
ต้านทาน ผลวิจัยพบว่าผู้
ที่นอนหลับมากกว่า 7 ชั่วโมง
ติดต่อกันเป็นเวลา4วัน พบ
ว่าร่างกายของคนกลุ่มนี้
สามารถสร้างแอนติบอดี้ ซึ่ง
เป็นเซลล์ในระบบภูมิ
ต้านทานได้มากกว่าผู้ที่นอน
หลับคืนละ 4ชั่วโมง ถึง50%
กินเพิ่มภูมิ
ทานอาหารเพิ่มภูมิ
ต้านทาน เช่น ผัก ผลไม้
ซึ่งมีผลเพิ่มการสร้างเซลล์
ต่างๆ ในระบบภูมิคุ้มกัน
นอกจากนี้ยังช่วยต้าน
อนุมูลอิสระป้องกันเซลล์
ต่างๆ ของร่างกายอันเป็น
ตัวการก่อมะเร็งได้อีกด้วย
Back Next
23
รับแสงเพิ่มภูมิ
การออกกำลังกายเบาๆ
หรือเดินเล่นรับแสงอาทิตย์
ยามเช้า จะช่วยให้ร่างกาย
ตื่นตัวและหลั่งสารเอนโด
ฟิน ทำให้อารมณ์ดี แจ่มใส
ส่งผลถึงสุขภาพจิตที่ดี ซึ่ง
ในแดดนั้นมีวิตามินดี ที่ส่ง
ผลในการควบคุมระดับ
แคลเซียมในร่างกาย
หัวเราะเพิ่มภูมิ
การหัวเราะเป็นยาวิเศษ
ทีาช่วยลดฮอร์โมน
ความเครียด และเพิ่มภูมิ
ต้านทานให้แก่ร่างกาย
นอกจากนี้การหัวเราะยัง
เป็นเหมือนการออกกำลัง
กายย่อมๆ ด้วย
Back Next
24
ความต้องการของผู้สูงอายุ
Back Next
25
1. ความต้องการทางด้านร่างกาย
1. ต้องการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์
2. ต้องการมีผู้ช่วยเหลือดูแลอย่างใกล้ชิด
3. ต้องการที่อยู่อาศัยที่สะอาด อากาศดี สิ่งแวดล้อมดี
4. ต้องการอาหารการกินที่ถูกสุขลักษณะตามวัย
5. ต้องการมีผู้ดูแลช่วยเหลือให้การพยาบาลอย่างใกล้ชิดเมื่อ
ยามเจ็บป่วย
6. ต้องการได้รับการตรวจสุขภาพ และการรักษาพยาบาลที่
สะดวก รวดเร็ว ทันท่วงที
7. ต้องการได้รับบริการรักษาพยาบาลแบบให้เปล่าจากรัฐ
8. ความต้องการได้พักผ่อน นอนหลับอย่างเพียงพอ
9. ความต้องการบำรุงรักษาร่างกาย และการออกกำลังกายอย่าง
สม่ำเสมอ
10. ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
Back Next
26
2. ความต้องการทางด้านจิตใจ
1. การรับรู้ ผู้สูงอายุจะยึดติดกับความคิด และเหตุผลของตัวเอง การรับรู้สิ่งใหม่ๆ
จึงเป็นไปได้ยาก ความจำก็เสื่อมลง
2. การแสดงออกทางอารมณ์ การแสดงออกทางอารมณ์ของผู้สูงอายุ เกี่ยวเนื่อง
กับการสนองความต้องการของจิตใจ ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผู้สูงอายุจะมีความ
รู้สึกต่อตนเองในแง่ต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นความท้อแท้ น้อยใจ โดยรู้สึกว่าสังคมไม่ให้
ความสำคัญกับตนเอง เหมือนที่เคยเป็นมาก่อนทำให้ผู้สูงอายุ มีอารมณ์ไม่มั่นคง การกระ
ทบกระเทือนใจเพียงเล็กน้อย จะทำให้ผู้สูงอายุเสียใจ หงุดหงิดหรือโกรธง่าย
ต้องการการยอมรับ และเคารพยกย่องนับถือ และการแสดงออกถึงความมีคุณค่าของผู้
สูงอายุ โดยสมาชิกในครอบครัว สังคมของผู้สูงอายุ
3. ความสนใจสิ่งแวดล้อม ผู้สูงอายุจะสนใจสิ่งแวดล้อม เฉพาะที่ทำให้เกิดความ
พึงพอใจ และตรงกับความสนใจ ของตนเองเท่านั้น
4. การสร้างวิถีดำเนินชีวิตของตนเอง การมีอายุมากขึ้นคือ การเข้าใกล้กาล
เวลาแห่งการสิ้นสุดของชีวิต การยอมรับสภาพดังกล่าว ทำให้ผู้สูงอายุบางคน มุ่งสร้าง
ความดีงามให้แก่ตนเองเพิ่มมากขึ้น
5. ความผิดปกติทางจิตใจและในวัยสูงอายุ แยกเป็นกลุ่มอาการทางจิต 2 กลุ่ม
ใหญ่ๆ คือ
1. กลุ่มอาการทางจิตเนื่องจากสมองเสื่อม
2. กลุ่มอาการผิดปกติด้านจิตใจและอารมณ์
Back Next
27
3. ความต้องการทางด้านสังคม
1. ต้องการได้รับความสนใจจากผู้อื่น
2. ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว สังคมและหมู่คณะ
3. ต้องการช่วยเหลือสังคมและมีบทบาทในสังคมตามความถนัด
4. ต้องการการสนับสนุน ช่วยเหลือจากครอบครัว และสังคมทั้ง
ทางด้านความเป็นอยู่รายได้บริการจากรัฐ
5. ต้องการมีชีวิตร่วมในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของ
ชุมชนและสังคม
6.ต้องการลดการพึ่งพาคนอื่นให้น้อยลง ไม่ต้องการความ
เมตตาสงสาร (ที่แสดงออกโดยตรง)
ต้องการการประกันรายได้ และประกันความชราภาพ
Back Next
28
แหล่งอ้างอิง
https://www.thaihealth.or.th/Content/
https://www.matichon.co.th/lifestyle/news_401563
https://eldercarenow.net/
http://www.smnc.ac.th/group/research/images/stories/nurse/promotion.pdf
http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/health/prepared/topic002.php
Back Next
29
ผู้จัดทำ
น.ส. ธัญชนก แก้ววงค์วาน ม.6/11 เลขที่ 44
น.ส. ชนิสรา ตุ้ยอุ่นเรือน ม.6/11 เลขที่40
Back
30

More Related Content

Similar to งานFinal

เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5Kongkrit Pimpa
 
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพpopmos333
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมUtai Sukviwatsirikul
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างdirectorcherdsak
 

Similar to งานFinal (20)

เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
Osdop swat
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
การจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนว
 
9
99
9
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 

งานFinal