SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
การเขียนคาสั่งควบคุม
แบบมีทางเลือก
การเขียนคาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก การจัดเก็บข้อมูลลลงหน่วยความจา
คอมพิวเตอร์ ภาษากาหนดให้ดาเนินการผ่านชื่อ(identifier) ที่ผู้สร้างงานโปรแกรม
เป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและตาแหน่งที่อยู่ (address)
ในหน่วยความจา เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมาใช้งาน การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บ
ข้อมูลต้องทาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้องศึกษาวิธีกาหนด ลักษณะการจัดเก็บข้อมูล
ตามที่ภาษากาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบ
- แบบค่าคงที่
- แบบตัวแปร
ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่งกาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิดข้อมูลก่อน
คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
สิ่งที่จาเป็นต้องรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเขียนคาสั่งจะมีดังนี้ คือ
เกณฑ์การกาหนดชื่อหน่วยความจา ชนิดข้อมูลพื้นฐานในภาษาซี และคาสั่งกาหนด
ค่าคงที่
1.คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
1.1กฏเกณฑ์การกาหนดชื่อ
1.อักขระแรกต้องเป็นตัวอักษร หรือ เครื่องหมายขีดล่าง ( _ ) ตัวถัดไปเป็น
อักษร ตัวเลข หรือ เครื่องหมายขีดล่างก็ได้
2.ในภาษาซีตัวพิมพ์ใหญ่จะมีความหายต่างกับตัวพิมพ์เล็ก เช่น A จะมี
ความหมายไม่เหมือน a
3. ห้ามมีอักขระพิเศษ เช่น s e และห้ามมีช่องว่างระหว่างอักขระ
4. ควรตั้งชื่อให้สอดคล้องกับงาน
5. ต้องไม่ซ้ากับค่าสงวนภาษาซี
1.คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
1.2.ชนิดข้อมูล
1. ภาษาซีชนิดพื้นฐาน 3 กลุ่มหลัก คือ
- อักขระ - ตัวเลขจานวนเต็ม - ตัวเลขทศนิยม
2. ผู้สร้างโปรแกรมควรเลือกใช้ชนิดข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อใช้หน่วยความจา
อย่างมีประสิทธิภาพ
1.คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
1.3 คาสั่งกาหนดข้อมูลแบบค่าคงที่
1.3.1 แบบที่ 1 ไม่ต้องกาหนดชื่อของ ข้อมูล เช่น printf (“2 x2 = %dn”,4)
1.3.2 แบบที่ 2 เขียนบริเวณส่วนหัว ในโครงสร้างภาษาซี รูปแบบ #define
macro_name data; อธิบาย macro_name คือชื่อของข้อมูล ต้องใช้ตัวพิมพ์
ใหญ่ data คือข้อมูล ตัวอย่าง #define PI 3.14;
1.3.3 แบบที่ 3 เขียนบริเวณฟังก์ชันหลัก รูปแบบ const variable = data;
อธิบาย variable คือชื่อตัวแปร data คือข้อมูล ตัวอย่าง const x = a*b
การเขียนนิพจน์เชิงตรรกะ
ในการเขียนนิพจน์เชิงตรรกะต้องมีความรู้ดังนี้
2.1 ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
การเขียนนิพจน์เชิงตรรกะ
2.1 ตัวดาเนินการความสัมพันธ์
กาหนด a = 3 ; b = 2 ;
การเขียนนิพจน์เชิงตรรกะ
ตารางการสรุปค่าความจริงของพจน์ตรรกะ
การเขียนนิพจน์เชิงตรรกะ
2.3 ตัวดาเนินการเชิงตรรกะ
เป็นสัญลักษณ์ใช้เชื่อมประโยคคาสั่งแบบมีเงื่อนไข 2 ประโยคขึ้นไป ตรรกะ
คือ การคิดเชิงเหตุผลที่มีความจริงค่าใดค่าหนึ่งคือ จริง True:1 หรือ False:0
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if คาสั่งควบคุมแบบ if มี 3 ลักษณะคือ
แบบ if แบบ if – else และแบบ if – else if – else
3.1 กรณีใช้ประโยคคาสั่งแบบ if คาสั่ง if มีการทางานดังนี้ หากประโยค
เงื่อนไขเป็นจริงให้ไป ทางานตามคาสั่งต่อจากเงื่อนไข แล้วไปตาแหน่งคาสั่งชุดต่อไป
หากเงื่อนไขเป็นเท็จก็ไม่ต้องทาอะไร ให้ไปตาแหน่งคาสั่งชุด ต่อไป
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if
3.1.1 รูปแบบการเขียนคาสั่งแบบ if
รูปแบบ 1
กรณีหลังเงื่อนไข if มี 1 คาสั่ง if
(เงื่อนไข)
คาส่ง ; (กรณีเงื่อนไขเป็นจริง)
คาสั่งชุดต่อไป ; (กรณีเงื่อนไขเป็นเท็จ)
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if
รูปแบบ 2
กรณีหลังเงื่อนไข if มีมากกว่า 1 คาสั่ง
if (เงื่อนไข)
{ กลุ่มคาสั่ง ; (กรณีเงื่อนไขเป็นจริง) } ;
คาสั่งชุดต่อไป ; (กรณีเงื่อนไขเป็นเท็จ)
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if
3.2 กรณีใช้ประโยคคาสั่งแบบ if – else
คาสั่ง if – else มีการทางานดังนี้หากเงื่อนไขเป็นจริง ให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ 1
แล้วไปที่คาสั่งชุดต่อไป แต่หากเงื่อนไขเป็นเท็จ ให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ 2 แล้วไปที่คาสั่งชุด
ต่อไป
3.2.1 รูปแบบการเขียนคาสั่งแบบ if – else รูปแบบ การใช้คาสั่งแบบ if – else
If (เงื่อนไข)
คาสั่งชุดที่ 1 (กรณีเงื่อนไขเป็นจริง) ; else
คาสั่งชุดที่ 2 (กรณีเงื่อนไขเป็นเท็จ) ;
คาสั่งชุดต่อไป ; ข้อควรจา หากแต่ละทางเลือกมีมากกว่า 1 คาสั่ง ต้องใช้
เครื่องหมาย { } กั้นขอบเขต
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if
3.3 กรณีใช้ประโยคคาสั่งแบบ if – else if – else
คาสั่ง if – else if – else มีการทางานดังนี้ หากเงื่อนไข 1 เป็นจริง ให้
ทางานตามคาสั่งชุดที่ 1 แล้วทาตามคาสั่งชุดต่อไป หากเงื่อนไข 1 เป็นเท็จ ให้
ตรวจสอบว่าเงื่อนไข 2 เป็นจริงหรือไม่ หากเงื่อนไข 2 เป็น จริงให้ทางานตามคาสั่ง
ชุดที่ 2 แล้วทาตามคาสั่งชุดต่อไป หากเงื่อนไข 2 เป็นเท็จ ให้ตรวจสอบว่าเงื่อนไข n
เป็นจริงหรือไม่ หากเงื่อนไข n เป็นจริง ให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ n แล้วทาตามคาสั่ง
ชุดต่อไป หาก เงื่อนไข n เป็นเท็จ ให้ทาตามคาสั่งที่อยู่หลัง else แล้วทาตามคาสั่ง
ชุด ถัดไป
คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ if
3.3.1 รูปแบบการเขียนคาสั่งแบบ if – else if –
else
รูปแบบ รูปแบบการเขียนคาสั่งแบบ if – else if –
else if (เงื่อนไข 1)
คาสั่งชุดที่ 1 ; (กรณีเงื่อนไข 1 เป็นจริง) else if
(เงื่อนไข 2)
คาสั่งชุดที่ 2 ; (กรณีเงื่อนไข 2 เป็นจริง)
…..
else
คาสั่งชุดที่ n ; (นอกเหนือจากเงื่อนไขข้างต้น) คาสั่ง
ชุดต่อไป ; ข้อควรจา หากแต่ละทางเลือกมีมากกว่า 1
คาสั่ง ต้องใช้เครื่องหมาย { } กั้นขอบเขต
4.คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ switch
การควบคุมการทางานเชิงตรรกะในภาษาซี นอกจากคาสั่ง if แล้ว ยังมีคาสั่ง
switch ที่ให้เลือกนาไปใช้ควบคุมการทางานแบบมีทางเลือก กรณีทางเลือกการ
ทางานมีเป็นจานวนมาก ตัวอย่างเช่น งานตัดสินผลการ เรียนแบบ 8 ระดับ หากใช้
คาสั่ง if รูปแบบการเขียนประโยคคาสั่งจะมีจานวนบรรทัดคาสั่งจานวนมาก ทาให้
อ่านคาสั่งได้ยากภาษาซีออกแบบคาสั่ง switchให้ทางานลักษณะวิเคราะห์ตรวจสอบ
ค่าของตัวแปร หรือนิพจน์ว่า ตรงกับคาภายในคาสั่ง caseใด จะทางานตามคาสั่ง
ภายใต้การควบคุมของ คาสั่ง case นั้น แต่หากตรวจสอบแล้วไม่ตรงกับคาสั่งใดเลย
จะทางาน ภายใต้คาสั่ง default (ผู้เขียนคาสั่งอาจไม่เลือกเขียนคาสั่ง default ก็ได้)
4.คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ลักษณะ switch
4.1 รูปแบบการเขียนคาสั่งและแนวทางผัง
งานแบบ switch
Switch { var / expression}
{ case ค่าที่ 1 : คาสั่งชุดที่ 1 ; break ;
case ค่าที่ 2 : คาสั่งชุดที่ 2 ; break ;
case ค่าที่ n : คาสั่งชุดที่ n ;
break ;
: คาสั่ง ; }
คาสั่งชุดต่อไป
กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
-กรณีใช้คาสั่ง switch
-โจทย์ : จงเขียนงานโปรแกรม
ในลักษณะเมนูเลือกการทางาน ด้วย
คาสั่ง switch ดังนี้
-กาหนดให้ กด 1 คานวณพื้นที่
สี่เหลี่ยมจัตุรัส
-กด 2 คานวณพื้นที่สามเหลี่ยม
-กด 3 ออกจากระบบงาน
นอกเหนือจากนี้ แจ้งข้อความ การกด
หมายเลขผิดพลาด
ขั้นตอนการพัฒนางานโปรแกรม
1.การวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น
1.1 สิ่งที่ต้องการ โปรแกรมเมนูเลือกการ
คานวณพื้นที่สี่เหลี่ยม และพื้นที่สามเหลี่ยม
1.2 สมการคานวณ พื้นที่สี่เหลี่ยม = กว้าง x
ยาว พื้นที่สามเหลี่ยม = ฐาน x สูง /2
1.3 ข้อมูลนาเข้า ตัวเลือกเมนู ความกว้าง
ความยาว หรือฐานกับสูง
1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
1.5 กาหนดคุณสมบัติตัวแปร
กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)
1) เริ่มต้นการทางาน
2) แสดงส่วนเมนูเลือกงาน
3) ป้อนค่าตัวเลือกเมนู (ans)
4)เลือกทางานด้วยคาสั่ง switch (ans)
4.1) ถ้า ans เป็น ‘1’ ให้ทา งาน กลุ่มคาสั่ง ดังนี้
- ป้อนคาสั่ง w, l
- คานวณ area = w * l
- พิมพ์ area O
(ออกไปทางานข้อ 5)
กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
4.2) ถ้า ans เป็น ‘2’ ให้ทางานกลุ่มคาสั่ง ดังนี้
- ป้อนคาสั่ง b, h
- คานวณ area = b * h/2
- พิมพ์ area
(ออกไปทางานข้อ 5) O
4.3) ถ้า ans เป็น ‘3’ ให้ทางานกลุ่ม คาสั่ง ดังนี้
- ออกจากส่วนการทางาน
(ออกไปทางานข้อ 5) O
4.4) นอกเหนือจากนี้ พิมพ์ข้อความแจ้ง ข้อผิดพลาด
(ออกไปทางานข้อ 5) O 5)
สิ้นสุดการทางาน
กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
3.คาสั่งควบคุมการทางาน
ตัวอย่างโปรแกรม
ก ร ณี ศึ ก ษ า โ ป ร แ ก ร ม
ระบบงาน ลักษณะเมนูเลือก
การทางาน ควบคุมการ
เลือก การทางานด้วยคาสั่ง
switch
จบการนาเสนอ

More Related Content

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุม แบบมีทางเลือก

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกView Nudchanad
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์Oraphan4
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpimon Aom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระWorapod Khomkham
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nuchy Suchanuch
 
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือกKEk YourJust'one
 

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุม แบบมีทางเลือก (8)

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
Presenttttttt
PresentttttttPresenttttttt
Presenttttttt
 
งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมมีทางเลือก
 

More from Sutinun Goodour

บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรมบทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรมSutinun Goodour
 
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคตนวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคตSutinun Goodour
 
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคตนวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคตSutinun Goodour
 

More from Sutinun Goodour (6)

บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรมบทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 คำสั่งควบคุมโปรแกรม
 
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคตนวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
 
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคตนวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
นวัตกรรมเพื่อโลกอนาคต
 
งาน It news
งาน It newsงาน It news
งาน It news
 
IT News
IT NewsIT News
IT News
 
IT News
IT NewsIT News
IT News
 

การเขียนคำสั่งควบคุม แบบมีทางเลือก