SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
การเขียนคาสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
1.คำสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยควำมจำ
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ภาษากาหนดให้ดาเนินการผ่านซื้อ ที่ผู้สร้างงาน
โปรแกรมเป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและตาแหน่งที่อยู่ (address) ในหน่วยความจา
เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมาใช้งาน การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้อง
ศึกษาวิธีกาหนดลักษณะการจัดเก็บข้อมูลที่ภาษากาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบ
ค่าคงที่และแบบตัวแปร ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่งกาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิดข้อมูล
ก่อน
1.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐำน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบบค่าคงที่หรือแบบตัวแปร ต้องกาหนดชนิดข้อมูลให้
ระบบรับทราบ ในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่มหลักเท่านั้น
ชนิดข้อมูล ขอบเขตของข้อมูล อธิบาย
Char -128 ถึง 127 เก็บข้อมูลแบบอักขระ
Int -32768 ถึง 32767 เก็บข้อมูลแบบตัวเลขจานวน
เต็ม
Float 3.4 x 10-38
ถึง 3.4 x
1038
เก็บข้อมูลแบบตัวเลข
ทศนิยม ตัวเลขหลังจด 6
หลัก
1.2คำสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่ำคงที่
ประสิทธิภำพคำสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
รูปแบบ Const data_type var = data ;
อธิบำย data_type คือที่ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
Var คือชื่อหน่วยความจาที่ผู้ใช้ต้องกาหนดตามกฎการตั้งชื่อ
Data คือข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าคงที่
1.3คำสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบตัวแปร
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาสามารถเปลี่ยนแปลงได้
รูปแบบ 1 var_type var_name[,….];
รูปแบบ 2 var_type var_name = data ;
อธิบาย var_type คือหน่วยชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
var name คือชื่อหน่วยความจา ที่ผู้ใช้ต้องกาหนดตามกฎการตั้งชื่อ
data คือข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าเริ่มต้น (อาจมีหรือไม่ก็ได้)
2.กำรเขียนนิพจน์เชิงตรรกะ
ในกำรเขียนนิพจน์เชิงตรรกะต้องมีควำมรู้ดังนี้
2.1 ตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์
ตารางสัญลักษณ์ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดาเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง
+ บวก 10+2
– ลบ 10-2
* คูณ 10*2
/ หาร 10/2
% หารเอาเศษ 10%2
2.2 ตัวดำเนินกำรควำมสัมพันธ์
ใช้เขียนประโยคคาสั่งแบบมีเงื่อนไข 1 ประโยค
ตารางสัญลักษณ์ตัวดาเนินการความสัมพันธ์
ตัวดาเนินการ ศัพท์เฉพาะ ความหมาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์
< less than น้อยกว่า 3<2 ; คาตอบคือ false
> greater than มากกว่า 3>2 ; คาตอบคือ true
<= less than or equal น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3<=2 ; คาตอบคือ false
>= greater than or equal มากกว่าหรือเท่ากับ 3>=2 ; คาตอบคือ true
== equal เท่ากับ 3==2 ; คาตอบคือ false
!= not equal ไม่เท่ากับ 3!=2 ; คาตอบคือ true
2.3ตัวดำเนินกำรเชิงตรรกะ
เป็นสัญลักษณ์ใช้เชื่อมประโยคคาสั่งแบบมีเงื่อนไข 2 ประโยคขึ้นไป
ตรรกะ คือ การคิดเชิงเหตุผลที่มีความจริงค่าใดค่าหนึ่งคือ จริง (True: 1) หรือ (False: 0)
ตารางสัญลักษณ์ตัวดาเนินการเชิงตรรกะ
ตัวดำเนินกำร ศัพท์เฉพำะ ควำมหมำย ตัวอย่ำง ผลลัพธ์
&& AND และ (9>0)&&(9<5) ; คาตอบคือ false
|| OR หรือ (9>0)|| (9<5) ; คาตอบคือ true
! NOT นิเสธ !(9>0) ; คาตอบคือ false
3.คำสั่งควบคุมแบบมีทำงเลือก ลักษณะ if
คาสั่ง if มีการทางานดังนี้หากประโยคเงื่อนไขเป็นจริงให้ไปทางานตามคาสั่งต่อจากเงื่อนไข แล้วไป
ตาแหน่งคาสั่งชุดต่อไป หากเงื่อนไขเป็นเท็จก็ไม่ต้องทาอะไร ให้ไปตาแหน่งคาสั่งชุดต่อไป
3.1 รูปแบบกำรเขียนคำสั่งแบบ if
รูปแบบ 1 กรณีหลังเงื่อนไข if มี 1 คาสั่ง
รูปแบบ 2 กรณีหลังเงื่อนไข if มีมากกว่า 1 คาสั่ง
3.2กรณีใช้ประโยคคำสั่งแบบ if – else
คาสั่ง if – else มีการทางานดังนี้หากเงื่อนไขเป็นจริง ให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ 1 แล้วไปที่คาสั่งชุด
ต่อไป แต่หากเงื่อนไขเป็นเท็จ ให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ 2 แล้วไปที่คาสั่งชุดต่อไป
รูปแบบกำรเขียนคำสั่งแบบ if – else
3.3กรณีใช้ประโยคคำสั่งแบบ if – else if – else
คาสั่ง if – else if – else มีการทางานดังนี้หากเงื่อนไข 1 เป็นจริง ให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ 1
แล้วทาตามคาสั่งชุดต่อไป หากเงื่อนไข 1 เป็นเท็จ ให้ตรวจสอบว่าเงื่อนไข 2 เป็นจริงหรือไม่ หาก
เงื่อนไข 2 เป็นจริงให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ 2 แล้วทาตามคาสั่งชุดต่อไป หากเงื่อนไข 2 เป็นเท็จ
ให้ตรวจสอบว่าเงื่อนไข n เป็นจริงหรือไม่ หากเงื่อนไข n เป็นจริง ให้ทางานตามคาสั่งชุดที่ n แล้ว
ทาตามคาสั่งชุดต่อไป หากเงื่อนไข n เป็นเท็จ ให้ทาตามคาสั่งที่อยู่หลัง else แล้วทาตามคาสั่ง
ชุดถัดไป
4.คำสั่งควบคุมแบบมีทำงเลือก ลักษณะ switch
การควบคุมการทางานเชิงตรรกะในภาษาซี นอกจากคาสั่ง if แล้ว ยังมีคาสั่ง switch ที่ให้เลือกนาไปใช้
ควบคุมการทางานแบบมีทางเลือก กรณีทางเลือกการทางานมีเป็นจานวนมาก ตัวอย่างเช่น งานตัดสินผล
การเรียนแบบ 8 ระดับ หากใช้คาสั่ง if รูปแบบการเขียนประโยคคาสั่งจะมีจานวนบรรทัดคาสั่งจานวนมาก
ทาให้อ่านคาสั่งได้ยากภาษาซีออกแบบคาสั่ง switch ให้ทางานลักษณะวิเคราะห์ตรวจสอบค่าของตัวแปร
หรือนิพจน์ว่าตรงกับค่าภายในคาสั่ง case ใด จะทางานตามคาสั่งภายใต้การควบคุมของคาสั่ง case นั้น
แต่หากตรวจสอบแล้วไม่ตรงกับคาสั่งใดเลย จะทางานภายใต้คาสั่ง default (ผู้เขียนคาสั่งอาจไม่เลือก
เขียนคาสั่ง default ก็ได้)
แนวการเขียนผังงานคาสั่งswitch
5.กรณีศึกษำกำรใช้คำสั่งควบคุมแบบมีทำงเลือก กรณีมี2ทำงเลือก
บริษัท BT ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน
กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไขดังนี้
*ถ้ายอดขายมากกว่า 40,000 บาท ให้โบนัส
20 % ของยอดขาย
*นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย
กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้
แนวทางขั้นตอนการสร้างงานโปรแกรม
1.การวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น
1.1สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน
1.2สมการคานวณ เลือกคานวณค่าโบนัสตามเงื่อนไขดังนี้
ถ้ายอดขาย > 40,000 คานวณโบนัส =ยอดขาย *20%
นอกเหนือจากนี้ คานวณโบนัส =ยอดขาย*10%
1.3ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
1.4การแสดงผล ตามโจทย์กาหนด
1.5กาหนดคุณสมบัติตัวแป
1.6ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)
1)พิมพ์หัวข้อรายงาน
2)ป้ อนข้อมูล รหัสพนักงาน (en) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย(sum)
3)คานวณโบนัส (bonus) ตามเงื่อนไขดังนี้
ถ้า sum >40,000 ให้คานวณ bonus=sum*20%
นอกเหนือจากนี้ให้คานวณ bonus=sum*10%
4)พิมพ์ bonus
5)จบการทางาน
2.ลาดับการทางานด้วยผังงานโปรแกรม
3.คาสั่งควบคุมการทางาน
อ้ำงอิง
https://pondkhaijeaw.wordpress.com เข้าถึงเมื่อ 21/6/2558
https://cacalott.wordpress.com เข้าถึงเมื่อ 21/6/2558
https://phijittra.wordpress.com/2013/09/18/ เข้าถึงเมื่อ 21/6/2558
สมำชิก
1. นายศุภณัฐ รุ่งแสง เลขที่ 8
2. นายนราวิชญ์ เรียบร้อย เลขที่ 11
3. นางสาวกนกวรรณ ทวีสุข เลขที่ 20
4. นางสาวพรพิมล ทองไพโรจน์ เลขที่ 26
5. นางสาวระวีวรรณ อินวารี เลขที่ 35
6. นางสาววีระวรรณ อินวารี เลขที่ 36
7. นางสาวสุดารัตน์ แสงสุริยะ เลขที่ 38

More Related Content

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3Supicha Ploy
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกView Nudchanad
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์Oraphan4
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpimon Aom
 

Similar to การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (7)

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
 
Presenttttttt
PresentttttttPresenttttttt
Presenttttttt
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์
 
งานทำ Blog บทที่ 6
งานทำ Blog บทที่ 6งานทำ Blog บทที่ 6
งานทำ Blog บทที่ 6
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from Pornpimon Aom

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPornpimon Aom
 
นาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็ม
นาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็มนาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็ม
นาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็มPornpimon Aom
 
เกาะติด project ara
เกาะติด project araเกาะติด project ara
เกาะติด project araPornpimon Aom
 

More from Pornpimon Aom (6)

Itnews
ItnewsItnews
Itnews
 
It news
It newsIt news
It news
 
It news
It newsIt news
It news
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
นาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็ม
นาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็มนาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็ม
นาฬิกาอัจฉริยะแบบเข็ม
 
เกาะติด project ara
เกาะติด project araเกาะติด project ara
เกาะติด project ara
 

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก