SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
ทวีปอเมริกาเหนือ
Canada
Cuba
Dominican
Guatemala
Haiti
Jamaica
Mexico
Panama
United States of America (USA)
แคนนาดา CANADA
 ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และทางตะวันออกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ
ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์คติก และทางใต้ติดกับ
ประเทศสหรัฐอเมริกา
 พื้นที่ 9,984,670 ตารางกิโลเมตรมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ2ของโลก(ใหญ่กว่าไทยประมาณ19เท่า)
 เมืองหลวง กรุงออตตาวา (Ottawa)
 เมืองสาคัญ โทรอนโต (Toronto) มอนทรีออล(Montreal) แวนคูเวอร์
(Vancouver) นครควิเบก (Quebec City) แฮลิแฟกซ์ (Halifax) วินนิเพก
(Winnipeg) เอดมันตัน (Edmonton)
 ประชากร 34,605,346 คน
ประชากรแคนาดา
 แคนาดามีประชากรประมาณ 32 ล้านคน มีอัตราส่วนของ
ประชากรต่อตารางกิโลเมตร = 3 ซึ่งถือว่าน้อยที่สุดในโลก
ชาวแคนาดาส่วนใหญ่ เป็นผู้อพยพมาจากที่ต่างๆ เช่น
อังกฤษ ฝรั่งเศส แอฟริกา อเมริกาใต้ และ เอเชีย เป็นต้น
แคนาดาเป็นสังคมที่มีวัฒนธรรมแบบ ผสมผสาน มีภาษา
ราชการ 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส
ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ มีเพียง
มณฑล ควิเบคเท่านั้นที่ประชากรจะพูดภาษาฝรั่งเศส
ประวัติศาสตร์
 ฝรั่งเศสได้เข้ายึดครองแคนาดาฝั่งตะวันออกในปี
พ.ศ. 2077 (ค.ศ. 1534) และได้เริ่มตั้งถิ่นฐานใน
ปี พ.ศ. 2147 (ค.ศ. 1604) ปัญหาความขัดแย้ง
ระหว่างฝรั่งเศสกับอังกฤษเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2256
(ค.ศ. 1713) อันเนื่องจากเหตุผลด้านการประมง
และการค้าขนสัตว์ ซึ่งในที่สุดดินแดนแคนาดาก็
ตกเป็นของอังกฤษ
 ปี พ.ศ. 2392 (ค.ศ. 1849) แคนาดาได้รับการ
ยอมรับในสิทธิการปกครองตนเอง
เศรษฐกิจแคนาดา
 แคนาดาเป็นประเทศที่มีความอุดม สมบูรณ์
ประเทศหนึ่ง และจัดอยู่ใน 10 อันดับแรกของ
ประเทศ ผู้นาทางอุตสาหกรรม โดยอุตสาหกรรม
ที่สาคัญของประเทศส่วนใหญ่เป็น อุตสาหกรรม
การ ผลิตรถยนต์ และอุตสาหกรรมการผลิตที่
สาคัญประเภทอื่นๆ เช่น อาหาร เครื่องดื่ม เหล็ก
ดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
ผู้นาและรูปแบบการปกครอง
 ผู้นารัฐบาล: นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล
โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ซึ่งเป็นองค์
พระประมุข ทรงแต่งตั้งผู้สาเร็จราชการเป็นผู้แทน
พระองค์
 แบบสหพันธรัฐประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา และ
เป็นระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ แคนาดา
จัดเป็นสหพันธรัฐ ซึ่งหมายความว่า อานาจการ
บริหารจะมีการจัดสรรให้รัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละ
มณฑลและเขตปกครองสามารถปกครองตนเองได้
เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในประเทศแคนาดา
 โครงการทดสอบรถยนต์ไร้คนขับในเมือง Stratford ประเทศแคนาดา
Driverless cars หรือเทคโนโลยีรถยนต์ที่สามารถขับเคลื่อนได้ด้วยตนเอง
หรือไร้คนขับซึ่งในช่วง แรก Google เป็นผู้บุกเบิกแนวความคิดรถขับเคลื่อน
อิสระ มีการทดสอบการขับเคลื่อนในพื้นที่จริงมากกว่า 2 ล้านกิโลเมตร โดยทุก
กิโลเมตรที่รถขับเคลื่อนไปจะมีการเก็บข้อมูล เพื่อใช้เพิ่มการตัดสินใจในความเสี่ยง
ต่างๆ แทนคนขับและความปลอดภัยในการขับเคลื่อนอย่างอิสระมากยิ่งขึ้น ปัจจุบัน
เทคโนโลยียานยนต์รูปแบบใหม่ นี้มีการพัฒนาต่อยอดอย่างรวดเร็วโดยบริษัทยาน
ยนต์ชั้นนาของโลก ในงานแสดง Consumer Electronics Show
(CES) เมือง Las Vegas
 เทคโนโลยีการขุดเจาะน้ามันและความต้องการใช้พลังงานที่ ขยายตัว
ขึ้นทุกปีนาไปสู่การขยายตัวของอุตสาหกรรมพัฒนาน้ามันและ ก๊าซ
ขนาดใหญ่ ในแต่ละปีพบว่ามีแท่นขุดเจาะเกิดขึ้นใหม่ประมาณ 5 หมื่น
จุดเขตอเมริกาเหนือตอนกลาง โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ที่มีชื่อว่า
Bakken, Eagle Ford และ Marcellus Shale
กลายเป็นพื้นที่สาหรับ การขุดเจาะน้ามันและก๊าซธรรมชาติที่มักจะเป็น
ข่าวอยู่ตลอดเวลา
เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในประเทศแคนาดา
สภาพสังคมและแนวโน้มวัฒนธรรม
 ประเทศแคนาดามีประชากรน้อยมากเมื่อเทียบกับพื้นที่
ของประเทศ ชาวแคนาดาส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพมาจาก
ประเทศต่างๆ จึงมีขนบธรรมเนียมประเพณีและนโยบาย
ส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย และกิจกรรม
สันทนาการของชนชาติจากวัฒนธรรม ในย่านใจกลาง
เมืองใหญ่ๆ สนุกหรรษา กับ งาน คาร์นิวัลฤดูหนาว
ปัจจัยจุลภาค
อัตราการเปิดรับสื่อออนไลน์
 กลายเป็นส่วนหนึ่งของพฤติกรรมการชมรายการโทรทัศน์ไปซะแล้ว กับการใช้งาน
สมาร์ทโฟนระหว่างชมรายการโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนี้พฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการ
สื่อสารทางการตลาด จึงเป็นหน้าที่ของนักการตลาดที่จะทาอย่างไรให้สื่อทั้งสอง
ทางานได้อย่างผสมผสานจนเกิดเป็นรายได้ในจากผลการวิจัยของ Television
Bureau of Canada ที่ดาเนินการโดย BBM Analytics พบว่า
ผู้ใหญ่ในประเทศแคนาดากว่าครึ่ง จะค้นหาข้อมูลสินค้าบนอินเทอร์เน็ตหลังชม
โฆษณาบนโทรทัศน์ แม้พวกเขาจะแสดงความสนใจในผลิตภัณฑ์ แต่น้อยคนนักที่จะ
ตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ในทันที
ปัญหาหรือประเด็นที่มีความสาคัญต่อคนในประเทศ
 ทุกวันนี้ผู้คนอาศัยอยู่ในยุคที่มีวัฒนธรรมขับเคลื่อนด้วยข้อมูล
ข่าวสาร และผลจากรวมกัน ระหว่างเทคโนโลยีดิจิตอลอุปกรณ์
สื่อสาร (ทั้งโทรศัพท์สมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต) และโซเซียล มีเดีย
มีผลให้เปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้คนทั่วไป วิธีการสื่อสารใน
ชีวิตประจาวันที่แตกต่างไปจากอดีต เปลี่ยนไปมากการ
เปลี่ยนแปลงครั้งนี้หมายถึงการปฏิวัติการสื่อสารของมนุษย์
Campaign
 แคมเปญ หรือ ตัวอย่างการสื่อสารแบรนด์ที่ประสบความสาเร็จ
McDonald's ที่แคนาดาปล่อยแคมเปญซื้ออาหารชุด
Happy Meal แถม fitness tracker
 การออกกาลังกายเป็นสิ่งสาคัญสาหรับคนทุกเพศทุกวัย โดย
STEP-it เป็นของเล่นที่ส่งเสริมพัฒนาการทั้งในส่วนของ
ร่างกายและจินตนาการซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาทั่วไปของ
McDonald's" Michelle McIImoyle
ผู้จัดการฝ่ายการตลาดอาวุโสของ McDonald's สาขา
แคนาดาอธิบาย
สาธารณรัฐคิวบา หรือ Republic of Cuba
 ที่ตั้ง : ตั้งอยู่กลางทะเลแคริบเบียน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดใน West Indies ทางทิศใต้ของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา
บริเวณทางตอนเหนืออยู่ใกล้กับอ่าวเม็กซิโก ด้านตะวันออกอยู่ใกล้กับไฮติ และสาธารณรัฐโดมินิกัน ทางตอนใต้ของประเทศ
มีภูเขาสาคัญคือ Sierra Maestra
 พื้นที่ : พื้นที่ทั้งหมด 110,860 ตารางกิโลเมตร
 อาณาเขต : พรมแดนติดต่อกับฐานทัพเรือสหรัฐฯที่อ่าวกัวเตนาโม 29 กิโลเมตร ชายฝั่งทะเลยาว 3,735 กิโลเมตร
 สภาพภูมิประเทศ : ส่วนใหญ่เป็นที่ราบถึงที่ราบลูกคลื่น เนินเขาและภูเขาขรุขระทางด้านตะวันออกเฉียงใต้
 สภาพภูมิอากาศ : ร้อนชื้น (tropical) ฤดูแล้งระหว่างเดือน พ.ย. - เม.ย. ฤดูฝนระหว่างเดือน พ.ค. - ต.ค.
 ทรัพยากรธรรมชาติ : โคบอล นิเกิล เหล็ก โครเมียม ทองแดง เกลือ ไม้ ซิลิกา น้ามัน พื้นที่เพาะปลูก
 ภัยธรรมชาติ : พายุ(Hurricane)
 พื้นที่รวม : 110,861 ตร.กม. (105) 42,803 ตร.ไมล์
 - แหล่งน้า ( % ) : น้อยมาก
สัญชาติ : Cuban
เชื้อชาติ : ผิวขาวร้อยละ 64.1 ผิวขาวผสมชนพื้นเมือง (Mestizo)
ร้อยละ 26.6 ผิวดาร้อยละ 9.3 (สารวจ พ.ศ. 2555)
ศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
ภาษา : สเปน
เมืองหลวง : กรุงฮาวานา (Havana)
การแบ่งเขตการปกครอง : คิวบาแบ่งการปกครองออกเป็น 14 จังหวัด (provinces)
และ 1 เทศบาลพิเศษ* (special municipality) ได้ประกอบขึ้นเป็นประเทศคิวบา เขต
ปกครองนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จากเดิมมีเพียง 6 จังหวัด คือ ปีนาร์เดลรีโอ (Pinar del
Río) อาบานา (Habana) มาตันซัส (Matanzas) ลัสบียัส (Las Villas) กามากู
เอย์ (Camagüey) และโอเรียนเต (Oriente)
1. อิสลาเดลาฮูเบนตุด (Isla de la Juventud)
2. ปีนาร์เดลรีโอ (Pinar del Río)
3. ลาอาบานา (ฮาวานา) (La Habana)
4. ซิวดัดเดลาอาบานา (ฮาวานาซิตี) (Ciudad de la Habana)
5. มาตันซัส (Matanzas)
6. เซียมฟวยโกส (Cienfuegos)
7. บียากลารา (Villa Clara Province)
8. ซังก์ตีสปีรีตุส (Sancti Spíritus Province)
9. เซียโกเดอาบีลา (Ciego de Ávila)
10. กามากูเอย์ (Camagüey)
11. ลัสตูนัส (Las Tunas)
12. กรัมมา (Granma)
13. ออลกิง (Holguín)
14. ซันเตียโกเดกูบา (Santiago de Cuba Province)
15. กวันตานาโม(Guantánamo)
ราอุล โมเดสโต กัสโตร รุซ หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม ราอุล กัสโตร
ฝ่ายบริหาร : ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขของรัฐและหัวหน้าคณะรัฐบาล รัฐสภาเป็นผู้เลือกตั้ง
ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี วาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี ประธานาธิบดีของสภาแห่งรัฐ
(president of the Council of State) เป็นผู้เสนอชื่อรัฐมนตรี เพื่อให้รัฐสภาเป็นผู้
แต่งตั้ง ซึ่ง Council of State มีสมาชิก 31 คน ได้รับการเลือกตั้งจากรัฐสภาเพื่อให้ทาหน้าที่
แทนในช่วงที่ไม่มีการประชุม
ฝ่ายนิติบัญญัติ : ระบบสภาเดียว (Unicameral National Assembly of
People's Power หรือ Asemblea Nacional del Poder Popular)
จานวนที่น่ังของสมาชิกรัฐสภาขึ้นอยู่กับจานวนประชากร ปัจจุบันมีสมาชิกจานวน 614 ที่นั่ง มาจากการ
เลือกตั้งโดยตรงจากรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้ง ที่ได้ความเห้นชอบจากคณะกรรมการชุดพิเศษ
(special candidacy commissions) วาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี
ฝ่ายตุลาการ : ศาลสูงสุดได้แก่ People's Supreme Court หรือ Tribunal
Supremo Popular ประกอบด้วยประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี และผู้พิพากษาคนอื่นๆ
ที่มาจากการเลือกตั้งโดยรัฐสภา
ระบบกฎหมาย : ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System) มีรากฐานมาจากประมวล
กฎหมายสเปน
รูปแบบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์(Communist state)
เปโซคิวบา (อังกฤษ: Cuban peso) คือหน่วยสกุลเงินหนึ่งที่ใช้ในประเทศ
คิวบาแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คิวบาเปโซ (CUP) ถือเป็นสกุลเงินหลักในประเทศ
และคอนเวอร์ทิเบิลเปโซ (CUC) หรือสกุลเงินที่ออกมาเพื่อใช้แทนดอลลาร์สหรัฐ โดย
1 ดอลลาร์สหรัฐ มีค่าเท่ากับ 1 CUC และ 1 CUC มีค่าเท่ากับ 24 CUP แสดงให้
เห็นว่าสกุลเงินในประเทศถูกกว่าสกุลเงินที่ใช้ทดแทนเงินภายนอกมาก แต่ทั้ง CUP
และ CUC สามารถเรียกรวมกัน ง่ายๆ ว่า เปโซ (Peso)ในคิวบาตามร้านค้าจะไม่
ค่อยรับ CUC มากนัก หรือรับก็มีมาตรฐานค่าเงินต่างกัน จึงมักเกิดกรณีที่
ชาวต่างชาติจ่ายเงินเกินจานวนบ่อย
เศรษฐกิจตามระบอบสังคมนิยม
คิวบามีนโยบายเศรษฐกิจตามระบอบสังคมนิยม โดยรัฐมีบทบาทในการกาหนดนโยบาย บริหารจัดการ และขับเคลื่อน
เศรษฐกิจและสังคม เป็นผู้ควบคุมกลไกในการผลิตส่วนใหญ่ เป็นผู้จ้างแรงงานที่สาคัญ เป็นผู้กาหนดราคาสินค้าส่วนใหญ่และ
แจกจ่ายสิ่งของแก่ประชาชน พร้อมทั้งควบคุมการลงทุนของภาคธุรกิจ อย่างไรก็ดี ในช่วงทศวรรษ 1990 รัฐบาลคิวบาเริ่มมีการ
ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ โดยผ่อนคลายความเข้มงวดในธุรกิจบางประเภท อาทิ การท่องเที่ยวและโรงแรม เพื่อดึงดูดเงินตราจาก
ต่างประเทศ ดาเนินมาตรการเปิดเสรี และส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
(GDP) : 128.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
GDP รายบุคคล : 6,789.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2556)
อัตราการเจริญเติบโต GDP : 1.3% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
GDP แยกตามภาคการผลิต : ภาคการเกษตร 3.9% ภาคอุตสาหกรรม 23% ภาคการบริการ 72.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
มูลค่าการส่งออก : 3.428 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
สินค้าส่งออก : น้าตาล นิเกิล ยาสูบ ปลา เวชภัณฑ์ มะกรูดมะนาว กาแฟ
ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สาคัญ : Canada 17.7%, Venezuela 13.8%, China 13%, Netherlands 6.4%,
Spain 5.4%, Belize 4.7%
มูลค่าการนาเข้า : 12.34 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
สินค้านาเข้า : เชื้อเพลิง อาหาร เครื่องจักรและอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์
ประเทศคู่ค้า (นาเข้า)ที่สาคัญ : Venezuela 31.8%, China 17.6%,
Spain 10%, Brazil 4.8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
ประเทศคิวบาไม่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้โดยบล็อก
facebookทั้งประเทศ และบล็อกข้อมูลdigitalต่างๆ
ภายในประเทศ ประเทศคิวบาจึงไม่มี 4.0
สาธารณรัฐโดมินิกัน หรือ Dominican Republic
 ที่ตั้ง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งมีขนาดใหญ่เป็น อันดับที่ 2 ในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่
 พื้นที่ทั้งหมด 48,730 ตารางกิโลเมตร
 สภาพภูมิประเทศ เนินสูงขรุขระและภูเขาที่ว่างระหว่างหุบเขาอุดม สมบูรณ์โปรยปราย
 สภาพภูมิอากาศ ร้อนแบบชายทะเลแต่ละฤดูอุณหภูมิแตกต่างกันเล็ก น้อย
 จานวนประชากร 10,606,865 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559)
 สัญชาติ Dominican
 เชื้อชาติ ผสม 73% ผิวขาว 16% ผิวดา 11%
 ศาสนา โรมันคาทอลิก 95% อื่น 5%
 ภาษา ภาษาสเปน
การเมืองและการปกครอง
รูปแบบการปกครอง สาธารณรัฐประชาธิปไตย
เมืองหลวง กรุงซันโตโดมิงโก (Santo Domingo)
การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 31 จังหวัด
ข้อมูลทางเศรษฐกิจ
 GDP รายบุคคล 15,900 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 GDP แยกตามภาคการผลิต
ภาคการเกษตร 5.1%
ภาคอุตสาหกรรม 32.8%
 ภาคการบริการ 62.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 ผลผลิตทางการเกษตร
อ้อย กาแฟ ฝ้าย โกโก้ ยาสูบ ข้าว ถั่วเหลือง มันฝรั่ง ข้าวโพด กล้วย ปศุสัตว์ สุกร ผลิตภัณฑ์นม เนื้อวัว ไข่
 อุตสาหกรรม
ท่องเที่ยว น้าตาล เหล็กนิเกิลและเหมืองทอง สิ่งทอ ซีเมนต์ ยาสูบ
 สินค้าส่งออก
ทองคา แร่เงิน โกโก้ น้าตาล กาแฟ ยาสูบ เนื้อสัตว์ สินค้าอุปโภคบริโภค
 ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สาคัญ
US 42.5%, Haiti 16.5%, Canada 8.1%, India 4.8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
 สินค้านาเข้า
ปิโตรเลียม เครื่องบริโภค ฝ้ายและสิ่งทอ เคมีภัณฑ์และเวชภัณฑ์
 ประเทศคู่ค้า (นาเข้า) ที่สาคัญ
US 42%, China 9.2%, Venezuela 5.6%, Trinidad and Tobago 4.5%, Mexico 4.4%
(ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า(ต่อ)
วัฒนธรรม
เนื่องจากสาธารณรัฐโดมินิกันเคยเป็นเมื่อขึ้นของสเปนมาก่อนดังนั้นจึงทาให้วัฒนธรรมประเพณีส่วน
ใหญ่จะได้รับตกทอดมาจากชาวสเปน นอกจากนั้นยังมีวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานของวัฒนธรรมที่
ได้รับจากชาวแอฟริกันและชาวอเมริกันอีกด้วย
ระบบกฏหมาย
ระบบประมวลกฎหมาย(Civil Law System) มีรากฐานมาจากประมวล กฏหมายของฝรั่งเศส
ปัจจัยจุลภาค
 สภานที่จับจ่ายใช้สอยส่วนใหญ่เป็นห้างสรรพสินค้า เพราะมีจานวนถึง 92 ที่ในประเทศ
 รายได้ของประเทศจากภาคบริการต่างๆ เป็นหลัก
 สภาพการแข่งขัน
 ประเทศคู่ค้า (ส่งออก) ที่สาคัญ
US 42.5%, Haiti 16.5%, Canada 8.1%, India 4.8%
 ประเทศคู่ค้า (นาเข้า) ที่สาคัญ
US 42%, China 9.2%, Venezuela 5.6%, Trinidad and Tobago 4.5%, Mexico 4.4%
การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมMasculinity = ค่อนข้างสู้ เนื้อจากเราจะเห็นข่าวที่เกี่ยวกับการแข่งขันของประเทศโดมินิกันอยู่บ่อยครั้ง
เช่น วอลเลย์บอล การประกวดนางงามต่างๆ
สาธารณรัฐกัวเตมาลา
Republic of Guatemala
ปัจจัยมหาภาค
 ชื่อประเทศอย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐกัวเตมาลา หรือ Republic of Guatemala
 ที่ตั้ง อยู่ในภูมิภาคอเมริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับเบลิซและทะเลแคริบเบียนทิศเหนือและตะวันออก
ติดกับเม็กซิโกและมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ติดกับฮอนดูรัสและ
เอลซัลวาดอร์
 พื้นที่ 108,890 ตารางกิโลเมตร พื้นดิน 108, 430 ตารางกิโลเมตร พื้นน้า 460 ตารางกิโลเมตร
 อาณาเขต มีพรมแดนยาว 1,6871 กิโลเมตร ติดกับเบลิซ 266 กิโลเมตร เอล ซัลวาดอร์ 203 กิโลเมตร
ฮอนดูรัส 256 กิโลเมตร เม็กซิโก 962 กิโลเมตร
ปัยจัยมหาภาค
 สภาพภูมิประเทศ เกือบทั้งประเทศเป็นภูเขามีที่ราบต่าชายฝั่งและที่ราบหินปูน
 สภาพภูมิอากาศ ร้อนชื้นในบริเวณที่ราบต่าและอากาศเย็นในบริเวณที่สูง
 ทรัพยากรธรรมชาติ ปิโตรเลียม นิเกิล ปลา ไม้
 ภัยธรรมชาติ มีภูเขาไฟอยู่หลายแห่ง เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงบางครั้ง ชายฝั่งทะเลคาริบเบียนมักเกิดพายุ
เฮอร์ริเคนและพายุประเภทอื่นๆ
 จานวนประชากร 15,189,958 คน (ค่าประมาณการ เดือนกรกฏคมคม พ.ศ. 2559)
 อัตราการเติบโตของประชากร 1.79%(ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
ปัจจัยมหาภาค
 สัญชาติ Guatemalan (s)
 เชื้อชาติ Meztizo (คนผิวขาวกับชาวพื้นเมือง) 59.4% K'iche 9.1% Kaqchikel
8.4% Mam 7.9% Q'eqchi 6.3% ชาวมายันอื่นๆ 8.6% ชนพื้นเมืองที่ไม่ใช่เผ่ามายัน
0.2% อื่นๆ 0.1%
 ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกโปรแตสเตนท์
 ภาษา ภาษาสเปน 60% อย่างไรก็ดี ยังมีชาวกัวเตมาลา 40% ที่สื่อสารโดยใช้ภาษาพื้นเมือง
ประวัติศาสตร์
 กัวเตมาลามีพื้นฐานอารยธรรมมาจากอาณาจักรมายาที่รุ่งเรือง เป็นเวลา
พันปีก่อนที่อาณาจักรสเปนเข้ามายึดครอง กัวเตมาลาอยู่ภายใต้การ
ปกครองของประเทศสเปนในระหว่างปี ค.ศ. 1524-1821 และได้รับเอกราช
จากประเทศสเปนเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1821 ประวัติชนพื้นเมือง
โบราณที่สาคัญของประเทศกัวเตมาลา คือ ชนเผ่ามายา เป็นอาณาจักรที่
ใหญ่มาก เพราะมีพื้นที่ ประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา และ ฮอนดูรัส ชาว
มายา ประกอบด้วย ชุมชนเกษตรอยู่ชั้นนอก ชุมชนเมืองอยู่ชั้นใน ล้อมรอบ
จุดศูนย์กลาง ซึ่งเป็นบริเวณสิ่งก่อสร้างที่ใช้ ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ซึ่ง
สิ่งก่อสร้างนั้นมีหลายแบบ เช่น ปิรามิด วิหาร และปราสาทราชวัง ซึ่งสร้าง
จากศิลาล้วนๆ บ่งบอกความเจริญรุ่งเรืองของชาวมายาอย่างดี
การเมือง
รูปแบบการปกครอง
 สาธารณรัฐ (Constitutional Democratic Republic)
 เมืองหลวง กรุงกัวเตมาลา (Guatemala City)
 การแบ่งเขตการปกครอง
22 เขต ได้แก่ Alta Verapaz, Baja Verapaz, Chimaltenango, Chiquimula, El Progreso,
Escuintla, Guatemala, Huehuetenango, Izabal, Jalapa, Jutiapa, Peten,
Quetzaltenango, Quiche, Retalhuleu, Sacatepequez, San Marcos, Santa Rosa,
Solola, Suchitepequez, Totonicapan, Zacapa
 วันที่ได้รับเอกราช 15 กันยายน ค.ศ. 1821 (พ.ศ. 2364)
การเมือง
 รัฐธรรมนูญ มีผลบังคับใช้เมื่อ 14 ม.ค. 2529
 ฝ่ายบริหาร
ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและหัวหน้าคณะรัฐบาล รวมถึงเป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐบาล ประธานาธิบดีและรอง
ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งในครั้งเดียวกัน ด้วยระบบคะแนนนิยม วาระการดารงตาแหน่ง 4 ปี แต่ไม่สามารถรับ
ตาแหน่งในวาระติดต่อกันได้
 ฝ่ายนิติบัญญัติ
ระบบสภาเดียว (unicameral Congress of the Republic หรือ Congreso de la
Republica) สมาชิกจานวน 158 ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อแบบสัดส่วน
การเมือง ระบบกฎหมาย
 ฝ่ายตุลาการ
 ศาลสูงสุดของประเทศคือ ศาลรัฐธรรมนูญ (Constitutional Court หรือ Corte de
Constitucionalidad) ศาลอื่นๆ ได้แก่ Supreme Court of Justice หรือ Corte
Suprema de Justicia
 ระบบกฎหมาย
ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System) มีการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฏหมายที่
ออกโดยสภานิติบัญญัติ (judicial review of Legislative acts)
เศรษฐกิจ
 โครงสร้างเศรษฐกิจกัวเตมาลาส่วนใหญ่พึ่งพาภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก มีรายได้จากการส่งออก สินค้า
ทางการเกษตรเช่น กล้วย กาแฟ และน้าตาล ปัจจุบันกัวเตมาลากาลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาประเทศ
โดยเฉพาะในด้านการพัฒนาโครงสร้างขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้ถูกทาลายเสียหายมากในระหว่างเกิดสงคราม
ในประเทศ รัฐบาลชุดปัจจุบันมีนโยบายเสรีนิยม สนับสนุนการพัฒนาเขตการค้าเสรีร่วมกับประเทศ
เพื่อนบ้านในอเมริกากลาง รวมทั้งเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของเขตการค้าเสรีอเมริกากลาง-เม็กซิโก และ
อเมริกากลาง-สหรัฐฯ CAFTA) นอกจากนี้กัวเตมาลายังเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
เนื่องจากได้รับสิทธิพิเศษทางการค้า (GSP) จากสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป มีค่าแรงงานที่ถูก
และอยู่ใกล้กับตลาดอเมริกาเหนือ
เทคโนโลยี/นวัตกรรม
 การเชื่อมต่อไร้สายของโรงเรียนในชนบท 15 แห่งในประเทศกัวเตมาลา
 เด็กๆ ชาวกัวเตมาลาได้รับประโยชน์จากความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการของกัวเตมาลา กับ FunSEPA และ
USAID ซึ่งประธานาธิบดีออสการ์ เบอร์เจอร์ได้เข้าร่วมพิธีเปิดโครงการ ด้วยการประกาศให้อุปกรณ์และบริการ
CDMA2000® 1xEV-DO เพื่อสนับสนุนการเชื่อมต่อไร้สายความเร็วสูง ให้แก่โรงเรียนยากจนในกัวเตมาลา ใน
ฐานะส่วนหนึ่งของโครงการริเริ่ม Wireless Reach? แก่ทั่วโลก โครงการนี้สนับสนุนโปรแกรม “โรงเรียนในอนาคต” ของ
กระทรวงศึกษาธิการ ที่มุ่งสู่การปรับปรุงการศึกษาด้วยการให้การอบรมแก่คุณครูอย่างหนัก การเกี่ยวข้องของชุมชน การรวม
เทคโนโลยีแห่งยุคหน้าและการเพิ่มโครงสร้างพื้นฐานให้แก่โรงเรียน เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองการเปิดตัวของโครงการริเริ่มในครั้งนี้
ประธานาธิบดีของกัวเตมาลา ออสการ์ เบอร์เจอร์ จะเป็นประธานตัดริบบิ้นในงานเฉลิมฉลองที่ Escuela Los Lirios ใน
เขต Escuintla ซึ่งเป็นโรงเรียนแรกในการเปิดตัวเทคโนโลยีใหม่นี้
การเปิดรับสื่อออนไลน์ ออฟไลน์
 ประเทศกัวเตมาลามีการเปิดรับสื่อออฟไลน์ คือแบบไม่ใช้สายหรือไม่มีการติดต่อกันทาง
สาย เป็นแอพพลิเคชั่น
 คู่มือสาหรับนักท่องเที่ยวออกแบบมาเพื่อการใช้งานแบบออฟไลน์ ไม่จาเป็นต้องมีการ
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต อันหมายถึงไม่มีการเรียกเก็บค่าบริการเพิ่มเติมในใบแจ้งหนี้
หลังจากการร้องขอมากมาย ได้นาเอาขั้นตอนที่สามารถทาด้ด้วยตนเอง ที่มาพร้อมกับ
ฟีเจอร์สาหรับ GPS อย่างเพลิน เพียงอค่ดูสถานที่ที่ยืนอยู่ เป็นคู่มือเที่ยวชมเมืองที่ใช้ได้
จริง โดยได้รับการออกแบบเพื่อใช้สาหรับการเดินทาง ยังให้บริการทิปและคาแนะนา
สาหรับนักเดินทาง วิธีการเข้าเมือง วิธีการเดินทางไปรอบๆ สถานที่สาหรับการจับจ่าย
สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ และอื่นๆ
สถานที่จับจ่ายใช้สอย
 Plaza Fontabella ที่นี่ยอดเยี่ยม เต็มไปด้วยชีวิต และ
คุณสามารถหาอาหารประเภทที่แตกต่างกัน และทุกอย่างก็อร่อย
 Oakland Mall แหล่งช้อปปิ้งที่หรูหราที่สุดแห่งหนึ่ง หากวัง
ในกัวเตมาลา สูงขนาดร้านค้า โรงภาพยนตร์วีไอพี ร้านอาหารที่มี
ความพิเศษร้านค้าปลีก 4 เรื่องราวของการช้อปปิ้ง และความ
บันเทิงสาหรับทุกเพศทุกวัย และทุกคน
ปัจจัยจุลภาค
 สถานที่จัดแสดงงานหรือนิทรรศการ
- พิพิธภัณฑ์การแต่งการพื้นเมืองอิกซ์เชล ศิลปะการจัดนิทรรศการผ้าของ Mayas เดอะสีสันและวัสดุที่ใช้ทาให้เป็นการแสดง
ที่ยอดเยี่ยม
- พิพิธภัณฑ์โปปอล วูห์ มีนิทรรศการของมายา พบของวัฒนธรรมในกัวเตมาลา และบริเวณเมโสอเมริกา ได้เรียนรู้วัฒนธรรมของ
ที่นี่ก่อน และหลังจากที่สเปนจะพิชิตดินแดน รูปแบบที่ทันสมัย มีการจัดนิทรรศการรายละเอียดด้วยภาษาอังกฤษสเปน
 แบรนด์ที่ประสบความสาเร็จ
กาเเฟจากประเทศ กัวเตมาลา ติดอันดับ9 กาแฟที่ดีที่สุด สายพันธุ์ Bourbon Amarillo เบอร์บอน เป็นกาแฟที่กลาย
พันธุ์มาจากกาแฟทริปิก้า ลักษณะต้นกาแฟไม่สูงมาก มีข้อถี่ใบกว้าง ยอดอ่อนมีสีเขียว ให้ผลสุกที่ช้า แต่ให้ผลผลิตกาแฟที่ดีกว่า
และมีคุณภาพ ด้านรสชาติและกลิ่นหอมกว่ากาแฟทริปิก้า ฟาร์มที่ผลิต Teanzu
สาธารณรัฐเฮติ Republic
of Haiti
สาธารณรัฐเฮติ หรือ Republic of Haiti
 ที่ตั้ง บนแคริบเบียน ด้านตะวันตกมีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐโดมินิกัน
 พื้นที่ 27,750 ตารางกิโลเมตร พื้นดินเท่ากับ 27,560 ตารางกิโลเมตร พื้นน้า 190 ตารางกิโลเมตร
 อาณาเขต พรมแดนยาว 360 กิโลเมตร ติดกับสาธารณรัฐโดมินิกัน ความยาวชายฝั่งเท่ากับ 1,771 กิโลเมตร
 สภาพภูมิประเทศ เกือบทั้งประเทศมีลักษณะเป็นภูเขาขรุขระ
 สภาพภูมิอากาศ แบบร้อนชื้น ส่วนทางฝั่งตะวันออกอากาศแห้งเนื่องจากมีแนวเขาบังลมสินค้า
 ทรัพยากรธรรมชาติ บอกไซต์, ทองแดง, แคลเซียมคาร์บอเนต, ทองคา, หินอ่อน, พลังน้า
 ภัยธรรมชาติ ประเทศ ตั้งยู่ตรงกลางแนวเฮอร์ริเคน จึงเกิดพายุอย่างรุนแรงช่วงเดือนมิถุนายน- ตุลาคม น้าท่วมและ
แผ่นดินไหวเป็นครั้งคราว เผชิญกับภัยแห้งแล้งเป็นระยะๆ
 จานวนประชากร 10,485,800 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559)
 อัตราการเติบโตของประชากร 1.71% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 สัญชาติ Haitian (s)
ข้อมูลทั่วไป(ต่อ)
 ผิวดา 95% คนที่มีเชื้อสายผสมระหว่างคนผิวขาวกับนิโกร และชนผิวขาว 5 %
 ศาสนา ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก 54.7% โปรแตสแตนท์ 28.5% (แบบติสต์ 15.4% Pentecostal 7.9% แอตเวนทิสต์
3% Methodist 1.5% อื่นๆ 0.7%) ลัทธิวูดู 2.1% ไม่นับถือศาสนาใดๆ 10.2% ศาสนาอื่นๆ 4.6%
 ภาษาราชการ ได้แก่ ฝรั่งเศส และ Creole
 การเมืองการปกครอง รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตย สาธารณรัฐ
 เมืองหลวง เมือง Port-au-Prince
 การแบ่งเขตการปกครอง 10 เขตจังหวัด ได้แก่ Artibonite, Centre, Grand' Anse, Nippes, Nord,
Nord-Est, Nord-Ouest, Ouest, Sud, Sud-Est
 วันที่ได้รับเอกราช1 มกราคม 1804 (พ.ศ. 2347) จากฝรั่งเศส
 รัฐธรรมนูญ มีนาคม 2544 แต่มีการปฏิวัติและยกเลิกการใช้รัฐธรรมนูญหลายครั้ง จนกระทั่งกลับมาใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้อีกครั้งเมื่อ
พฤษภาคม 2549
 ระบบกฎหมาย มีรากฐานจากประมวลกฎหมายแพ่งของโรมัน
ข้อมูลทั่วไป(ต่อ)
 รัฐธรรมนูญ มีนาคม 2544 แต่มีการปฏิวัติและยกเลิกการใช้รัฐธรรมนูญหลายครั้ง จนกระทั่งกลับมาใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้อีก
ครั้งเมื่อพฤษภาคม 2549
 ระบบกฎหมาย มีรากฐานจากประมวลกฎหมายแพ่งของโรมัน
 ประธานาธิบดี มีวาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี
 สภานิติบัญญัติ
 มีระบบสองสภา ประกอบด้วยวุฒิสมาชิก 27 คน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 83 คน มีวาระการดารงตาแหน่ง 4 ปี
 ฝ่ายบริหาร
 นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขของรัฐบาล คณะรัฐมนตรีเลือกโดยนายกรัฐมนตรีจากการหารือกับประธานาธิบดี
 ฝ่ายตุลาการ
 ตั้งอยู่บนระบบกฎหมายโรมัน มีคณะลูกขุน
ระบบเศรษฐกิจพึ่งพิงอยู่กับเกษตรกรรม โดยสองในสามของประชากรยังชีพโดย
การเกษตร
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP)
19.36 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
GDP รายบุคคล
1,800 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
อัตราการเจริญเติบโต GDP
1.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
GDP แยกตามภาคการผลิต
• ภาคการเกษตร 21.5%
• ภาคอุตสาหกรรม 20.3%
• ภาคการบริการ 58.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
อัตราการว่างงาน
40.6% (ค่าประมาณ พ.ศ.2553)
อัตราเงินเฟ้อ (Consumer Prices)
12.4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
ผลผลิตทางการเกษตร
กาแฟ มะม่วง อ้อย ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ไม้
อุตสาหกรรม
การกลั่นน้าตาลบริสุทธิ์ โรงงานทาแป้ง สิ่งทอ ซีเมนต์
อัตราการเกิบโตภาคอุตสาหกรรม
0.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
ดุลบัญชีเดินสะพัด
35 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
มูลค่าการส่งออก
933.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
สินค้าส่งออก
เครื่องนุ่งห่ม น้ามัน โกโก้ มะม่วง กาแฟ อุตสาหกรรมขนาดเล็ก
ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สาคัญ
US 85.3% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
มูลค่าการนาเข้า
3.149 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
สินค้านาเข้า
อาหาร สินค้าอุตสาหกรรม เครื่องจักรและอุปกรณ์การขนส่ง เชื้อเพลิง สินค้าวัตถุดิบ
ประเทศคู่ค้า (นาเข้า)ที่สาคัญ
Dominican Republic 35.3%, US 24.5%, Netherlands Antilles
9.4%, China 9.4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
สกุลเงิน
Gourde
สัญลักษณ์เงิน
HTG
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐเฮติ
ความสัมพันธ์ทางการทูต
ไทยกับเฮติสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2529 โดยรัฐบาลไทยมอบหมายให้
คณะทูตถาวรประจาองค์การสหประชาชาติเป็น contact point กับเฮติ
สินค้าออกที่สาคัญของไทย ยานพาหนะ หม้อแบตเตอร์รี่ ผลิตภัณฑ์พลาสติก เคมีภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะ
อาหารในครัวและบ้านเรือน ข้าว ผลิตภัณฑ์ยาง ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้แผ่น แก้วและกระจก
สินค้านาเข้า ไทยนาเข้าจากเฮติน้อยมาก (มูลค่าต่ากว่าล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ) อย่างไรก็ดี จากข้อมูลของ
กระทรวงพาณิชย์ ได้จัดสินค้านาเข้าจากเฮติ ดังนี้เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบ
รวมทั้งโครงรถและตัวถัง ของเล่น เครื่องเล่นกีฬาและเครื่องเล่นเกม รถยนต์โดยสารและรถบรรทุกแก้วและ
ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และ
ส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ
มูลค่าการค้าไทย-เฮติ ในปี 2557 มีมูลค่า 23.27 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 33.77% จากปีก่อน โดยไทย
ได้เปรียบดุลการค้า 8.40 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยไทยมีมูลค่าการส่งออก 15.84 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นาเข้า 7.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สถิตินักท่องเที่ยว ชาวเฮติเดินทางเข้าไทย 106 คน โดยเป็นนักท่องเที่ยว 84 คน (ปี 2556)
หน่วยงานประสานงานไทย - เฮติ คณะทูตถาวรประจาองค์การสหประชาชาติ
จาเมกา Jamaica
 ที่ตั้ง เป็นเกาะเล็กๆ ในทะเลแคริบเบียน ตั้งอยู่ห่างจากคิวบาทางทิศเหนือประมาณ 145 กิโลเมตร และเฮติทางทิศตะวันออก
ประมาณ 190 กิโลเมตร
 พื้นที่ 10,991 ตารางกิโลเมตร
 ภูมิประเทศ พื้นที่ 4 ใน 5 ของประเทศเป็นภูเขา บางแห่งเป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆ ที่ไม่ต่อเนื่องกัน
 ภูมิอากาศ แบบร้อนชื้น (tropical) โดยเฉพาะบริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล อุณหภูมิจะเย็นขึ้นในบริเวณที่เป็นภูเขา อุณหภูมิเฉลี่ย
ตลอดปีประมาณ 27 องศาเซลเซียส และปริมาณฝนเฉลี่ยต่อปีประมาณ 1,980 มิลลิเมตร
 ทรัพยากรธรรมชาติ บอกไซต์ ยิบซัมและหินปูน
 เมืองหลวง กรุงคิงสตัน (Kingston)
 ประชากร (2551) 2.7 ล้านคน
 ภาษา ภาษาอังกฤษ (ภาษาราชการ) และภาษาปาโตอีส (Patois)
 ศาสนา ศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ (62.5%) นิกายโรมันคาทอลิค (2.6%) ศาสนาอื่นๆ (14.2%)
ข้อมูลทั่วไป(ต่อ)
 เชื้อชาติ เชื้อสายแอฟริกัน (91.2%) เชื้อสายผสม (6.2%)และอื่นๆ (2.6%)
 อัตราการรู้หนังสือ ร้อยละ 87.9
 หน่วยเงินตรา ดอลลาร์จาเมกา (Jamaican dollar – J$) 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 85.68 ดอลลาร์จาเมกา วันประกาศ
เอกราช 6 สิงหาคม ค.ศ. 1962 จากสหราชอาณาจักร
 วันชาติ (Independence Day) 6 สิงหาคม
 วันสถาปนารัฐธรรมนูญ 6 สิงหาคม 1962
 เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่าไทย 12 ชั่วโมง (-5 GMT)
การเมืองการปกครอง
ในอดีต จาเมกาเป็นที่อยู่ของชาวพื้นเมืองเผ่า Arawaks ซึ่งอพยพมาจากดินแดนตอนในของทวีปอเมริกาใต้ ต่อมา
โคลัมบัสและคณะได้เดินทางมาถึงในปี 2037 (ค.ศ. 1494) และยึดครองเป็นอาณานิคมของสเปน ประมาณปี 2053 (ค.ศ. 1510)
เริ่มมีการนาทาสผิวดาจากทวีปแอฟริกาเข้ามาเป็นแรงงานแทนชาวพื้นเมืองเดิมซึ่งลดจานวนลง ในปี 2198 (ค.ศ. 1655) กองทัพ
อังกฤษได้บุกเข้ายึดเกาะจาเมกา และปรับปรุงเป็นแหล่งผลิตน้าตาลและแหล่งค้าทาสที่สาคัญในทวีปอเมริกา ในทศวรรษที่
1930 หรือประมาณปี 2473 เป็นต้นมา รัฐสภาอังกฤษเริ่มให้สิทธิปกครองตนเองบางส่วนแก่รัฐบาลพื้นเมือง และในปี 2501 (ค.ศ.
1958) จาเมกาก็ได้เข้าเป็นสมาชิก West Indian Federation ซึ่งประเทศอาณานิคมอังกฤษในแคริบเบียนได้ถอน
ตัวในปี 2504 (ค.ศ. 1961) และได้รับเอกราชโดยสมบูรณ์ในปี 2505 (ค.ศ. 1962)
การเมืองการปกครอง(ต่อ)
 รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และเป็นประเทศในเครือจักรภพ โดยมีสมเด็จ พระราชินี Elizabeth II
ทรงใช้พระราชอานาจโดยผ่านทางผู้สาเร็จราชการ (Governor-General) ซึ่งคนปัจจุบัน คือ Sir Patrick
Linton Allen ที่ได้รับการแต่งตั้งตามการถวายคาแนะนาโดยนายรัฐมนตรี และมีนาย Bruce Golding เป็น
นายกรัฐมนตรี ดารงตาแหน่งตั้งแต่วันที่ 11 กันยายน 2550
 คณะรัฐมนตรีได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งโดยผู้สาเร็จราชการ ซึ่งตามรัฐธรรมนูญจะต้องมีจานวนไม่
น้อยกว่า 11 คน
 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นาย Kenneth Baugh
 เขตการปกครอง แบ่งออกเป็น14 เขต ได้แก่ Kingston & St. Andrew, St. Thomas, Portland,
St. Mary, St. Ann, Trelawny, St. James, Hanover, Westmoreland, St.
Elizabeth, Manchester, Clarendon, Portmore Municipality และ St.
Catherine
เศรษฐกิจการค้า
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (2551) ร้อยละ -1.2
อัตราเงินเฟ้อ (2551) ร้อยละ 22.0
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) (2551) 13.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
โครงสร้างของ GDP (2552) ภาคบริการ ร้อยละ 64.7 ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 5.7 ภาคอุตสาหกรรม
ร้อยละ 29.7
อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว แร่บอกไซต์ สิ่งทอ การแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมเบา เหล้ารัม ซีเมนต์ โลหะ
กระดาษ และเคมีภัณฑ์
เกษตรกรรม อ้อย กล้วย กาแฟ พืชจาพวกส้ม ผัก สัตว์ปีก แพะ และนม
หนี้ต่างประเทศ (2551) 8,405 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
อัตราการว่างงาน (2551) ประมาณร้อยละ 11.0
สหรัฐเม็กซิโก
Mexico
ปัจจัยมหาภาค
 ชื่ออย่างเป็นทางการ
สหรัฐเม็กซิโก (เม็กซิโก) หรือ United Mexican States (Mexico)
 ที่ตั้ง
ตั้งอยู่ทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ทิศเหนือติดกับสหรัฐฯ ทิศใต้ติดกับกัวเตมาลา และเบลิซ ทิศตะวันออก
ติดกับอ่าวเม็กซิโกและทะเล แคริบเบียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกและอ่าวแคลิฟอร์เนีย
ระหว่างละติจูดที่ 23 00 องศาเหนือ 102 00 องศาตะวันตก
 พื้นที่
761,600 ตารางไมล์ (1,972,500 ตารางกิโลเมตร) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกากลางใหญ่เป็น
อันดับ 3 ในลาตินอเมริกา และใหญ่เป็นอันดับที่ 14 ของโลก
ปัจจัยมหาภาค
 อาณาเขต พรมแดนยาว 4,353 กิโลเมตร ติดกับประเทศเบลิซ (250 กิโลเมตร) กัวเตมาลา (962 กิโลเมตร) สหรัฐอเมริกา (3,
141 กิโลเมตร)
 สภาพภูมิประเทศ
ภูเขาสูงที่มีลักษณะขรุขระ ที่ราบต่าตามชายฝั่ง ที่ราบสูง ทะเลทราย
 สภาพภูมิอากาศ
ภาคใต้และบริเวณที่ราบต่าติดชายฝั่ง ทะเล มีอากาศร้อนชื้นแบบศูนย์สูตรอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 18 องศาเซลเซียส (64
ฟาเรนไฮท์) สาหรับภาคเหนือ และภาคตะวันออกจะมีภูมิอากาศแบบทะเลทราย
 ภัยธรรมชาติ
สึนามิทางชายฝั่งแปซิฟิก ทางตอนกลางและตอนใต้ประสบภัยจากภูเขาไฟและแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง ทางฝั่งแปซิฟิก
อ่าวเม็กซิโก และชายฝั่งทะเลคาลิเบียนประสบภัยจากพายุเฮอร์ริเคน
 จานวนประชากร 123,166,749 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2559)
ปัจจัยมหาภาค
 อัตราการเติบโตของประชากร 1.15% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 สัญชาติ
เม็กซิกัน (Mexican (s))
 เชื้อชาติ เมสติโซ (ผิวขาวผสมอินเดียน) , อเมริกันอินเดียน , อื่นๆ
 ศาสนา
โรมันคาทอลิก 82.7%, Pentecostal 1.6%, Jehovah's Witnesses 1.4%, Evangelical
Churches 5% ไม่นับถือศาสนาใด 4.7%, อื่นๆ 1.9% ที่ระบุไม่ได้ 2.7% (พ.ศ. 2553)
 ภาษา สเปน, ภาษาถิ่นต่างๆ ได้แก่ ภาษา Mayan, Nahuatl และภาษาถิ่นประจาภูมิภาค
ประวัติศาสตร์ของประเทศโดยย่อ
 บริเวณที่ตั้งของเม็กซิโกในปัจจุบันนั้น ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ระบุได้ว่า ทาเกษตรกรรม มาก
ว่า 7,000 ปีก่อนคริสตกาล ความเจริญทางวิชาการ ระบบการวางผังเมือง และสาธารณูปโภค แสดงให้
เห็นถึงการก่อร่างระบบสังคมที่มีความซับซ้อนและมีการจัดการที่ดี อาทิ การตั้งชุมชนของชนเผ่ามายา
 ความรุ่งเรืองทั้งด้านวิทยาการและมีทรัพยากร ประเภททองคา เงิน และแร่ธาตุจานวนมาก ด้วยสาเหตุนี้
ทาให้สเปนเข้ามายึดครองเป็นอาณานิคมเมื่อปี ค.ศ. 1521 ทว่า สเปนได้ปกครองเม็กซิโกด้วยความรุนแรง
จนกระทั่งชาวเม็กซิโกได้ปฏิวัติประกาศอิสรภาพจากสเปนสาเร็จเมื่อปี ค.ศ. 1810 ภายหลังการปฏิวัติ
การเมืองเม็กซิโกค่อนข้างไม่มั่นคง เนื่องจากถูกปกครองในแนวทางเผด็จการประชาชนยากจนและขาด
สวัสดิการ จนกระทั่งมีการปฏิวัติยกร่างรัฐ ธรรมนูญใหม่เมื่อปี ค.ศ. 1917 ซึ่งมีส่วนในการพัฒนาระบบ
การเมืองและสังคม อันเป็นผลต่อการยก
การเมืองการปกครอง
 รูปแบบการปกครอง
ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น
 เมืองหลวง
กรุงเม็กซิโก (Mexico)
 การแบ่งเขตการปกครอง
แบ่งเป็น 31 รัฐ และ 1 เขตนครหลวง
 ระบบกฎหมาย ผสมผสานกันระหว่างแนวคิดกฎหมายรัฐธรรมนูญของสหรัฐและระบบประมวลกฎหมาย (กฎหมายลายลักษณ์อักษร) มีการ
ตรวจสอบความเห็นชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย ยอมรับเขตอานาจโดยบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศแต่มีข้อสงวนสิทธิ์
 รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีรัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่น แบ่งเป็น 31 รัฐ และ 1 เขตนครหลวง (Federal
District) ประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศและประมุขฝ่ายบริหารไม่มีรองประธานาธิบดี ประธานาธิบดีมีอานาจแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี
ข้อมูลเศษฐกิจการค้า
 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP)
2.307 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 GDP รายบุคคล
18,900 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 อัตราการเจริญเติบโต GDP
2.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 นโยบายเศรษฐกิจหลัก ส่งเสริมการค้าเสรี จัดตั้งเขตการค้าเสรีทวิภาคี ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ แปรรูป
รัฐวิสาหกิจ เสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และควบคุมอัตราเงินเฟ้อ (Inflation target)
ข้อมูลจุลภาค
 ปัญหาประเด็นที่มีความสาคัญต่อคนในประเทศ
• การค้ายาและการก่อการร้ายภายในประเทศ
• ธุรกิจการส่งผู้อพยพผิดกฎหมายเข้าในประเทศสหรัฐ
•ประเทศเม็กซิโกเป็นประเทศที่ได้ชื่อว่ามีอัตราการก่ออาชญากรรม
ค่อนข้างสูงโดยเฉพาะการลักพาตัว
• กาแพงพรมแดนกั้นเม็กซิกันเข้ามาแย่งงาน
สภาพการแข่ง
 เนื่องจากประชากรภายในประเทศเม็กซิโกมีจานวนมาก ทาให้เกิดการแข่งขันทางด้านเสื้อผ้า และรวมถึง
ด้านอาหาร โดยนามาจากการลงทุนของแบรนด์ต่างๆที่เข้ามาลงทุนในประเทศเม็กซิโก เช่น อเมซอนที่
ขยายสาขารวมถึงเพิ่มบริการส่งให้แก่ลูกค้าภายในประเทศเม็กซิโก เสื้อผ้ารองเท้าต่างๆ ที่ออกรุ่นเป็นชื่อ
เม็กซิโกโดยเฉพาะ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสภาพการแข่งขันทางด้าน เครื่องแต่งกายรวมถึงอาหาร
ภายในประเทศเม็กซิโก
 รวมถึงเม็กซิโกเป็นประเทศ อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก ก่อสร้าง รวมถึงรถยนต์ทาให้มีแบรนด์
ประเภทดังกล่าวในประเทศเม็กซิโกมากมาย
ตัวอย่างการสื่อสารแบรนด์ที่ประสบความสาเร็จ
โดย โอนิซึกะได้ออกรุ่นเม็กซิโก 66 ถึงหลายรุ่น
ตัวอย่างการสื่อสารแบรนด์ที่ประสบความสาเร็จ
 Amazon ร้านค้าออนไลน์ยักษ์ใหญ่ได้ขยายธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบเข้าไปยังลาตินอเมริกาเป็นครั้งแรก
แล้ว ซึ่งประเดิมในประเทศเม็กซิโกเป็นประเทศแรกโดยการเปิดหน้าเว็บ Amazon.com.mx ทาง
Amazon กล่าวว่านี่เป็นครั้งแรกที่ Amazon จะมีสินค้าขายมากกว่าร้านค้าของตนในประเทศอื่นๆ
นอกสหรัฐอเมริกา
 รายได้สองในสามของ Amazon มาจากทวีปอเมริกาเหนือ โดยปีที่แล้วมีรายได้เพิ่มขึ้น 25% มาเป็น
55,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งบริษัทวิจัยการตลาด EMarketer Inc. คาดการณ์ไว้ว่าธุรกิจอีคอมเมิร์ซ
ในเม็กซิโกจะเติบโต 30% ขึ้นไปแตะระดับ 6,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปีนี้
 "การมาถึงของ Amazon.com.mx เป็นการขยายออกมาตลาดนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่
Amazon เคยทามา" Juan Carlos García ผู้จัดการของ Amazon Mexico กล่าว
Campaign
 แคมเปญทดลองทางสังคม ด้วยเก้าอี้โดยสารรถไฟรูปแบบใหม่ที่ต้องการให้ผู้ชายตระหนักถึงการ
คุกคามทางเพศผู้หญิง เนื่องจากมีการคุกคามทางเพศภายในรถไฟฟ้าใต้ดินเม็กซิโกสูงถึง 9 ใน 10
สาธารณรัฐปานามา
Republic of Panama
ข้อมูลทั่วไป
 ชื่อทางการ สาธารณรัฐปานามา (Republic of Panama)
 พรมแดน มีอาณาเขตจรดประเทศคอสตาริกาทางทิศตะวันตก และจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก
 ภูมิประเทศ พื้นที่ทางทิศเหนือและใต้เป็นชายฝั่งทะเล โดยทิศเหนือติดมหาสมุทรแปซิฟิก และทิศใต้ติดทะเลแคริบเบียน
 ภูมิอากาศ อยู่ในเขตร้อน และได้รับอิทธิพลจากลมทะเล
 ภาษาทางการ ภาษาสเปน
 ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี
 เมืองหลวง กรุงปานามา (Panama City)
 เมืองสาคัญอื่นๆ Balboa, Boquete, Boca Chica, Colón, Cristobal, David, Gamboa, Portobelo
 พื้นที่ 75,517 ตารางกิโลเมตร
 สกุลเงิน บัลโบอา (PAB) โดยมีค่าเท่ากับเงินดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันรัฐบาลปานามาผลิตเพียงแต่เหรียญกษาปณ์สกุล Balboa เท่านั้น การ
ซื้อขายโดยทั่วไปใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ
 ประชากร ประมาณ 3.5 ล้านคน
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
 (GDP) 93.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ.
2559)
 GDP รายบุคคล 22,800 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ.
2559)
 อัตราการเจริญเติบโต GDP
 5.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 GDP แยกตามภาคการผลิต
• ภาคการเกษตร 2.7%
• ภาคอุตสาหกรรม 14.3%
• ภาคการบริการ 83% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 อัตราการว่างงาน
4.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 ผลผลิตทางการเกษตร
กล้วย ข้าว ข้าวโพด กาแฟ อ้อย ผัก ปศุสัตว์ กุ้งฝอย
 อุตสาหกรรม
ก่อสร้าง เหล้าเบียร์ ซีเมนต์และวัสดุก่อสร้างอื่นๆ น้าตาล
 อัตราการเติบโตภาคอุตสาหกรรม
4.8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 มูลค่าการส่งออก 15.19 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 สินค้าส่งออก
ผลไม้ ถั่ว ปลา เหล็กและเศษเหล็ก ไม้
 ประเทศคู่ค้า (ส่งออก) ที่สาคัญ US 19.7%, Germany 13.2%, Costa Rica 7.7%, China
5.9%, Netherlands 4.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
 มูลค่าการนาเข้า 22.08 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 สินค้านาเข้า
เชื้อเพลิง เครื่องจักร ยานพาหนะ เหล็กและเหล็กแท่ง เวชภัณฑ์
 ประเทศคู่ค้า (นาเข้า)ที่สาคัญ US 25.9%, China 9.6%, Mexico 5.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
การพัฒนา 4.0
 ปานามามีรายได้จากกิจการของคลองปานามาประมาน 1,000-1,200 ล้านดอลด้าสหรัฐ/1ปี ซึ่งเป็น
รายได้ที่สูงที่สุดของรัฐปานามาในรอบ 10-15 ปี
 ล่าสุดประเทศปานามาได้ทาการขยายคลองไห้ใหญ่ขึ้นกว้างขึ้น เพื่อรองรับการเดินทางของเรือขนาด
ใหญ่และขุดคลองคู่ขนาน เพื่อทาการค้ากับประเทศต่างๆ
สหรัฐอเมริกา หรือ United States of America
(United State)
ข้อมูลทั่วไป
 พื้นที่ มีเนื้อที่ประมาณ 9,631,418 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากรัสเซียและแคนาดา
 สภาพภูมิประเทศ มีที่ราบกว้างใหญ่ทางตอนกลางของ ประเทศ มีภูเขาอยู่ทางทิศตะวันตก เนินเขาและภูเขาเตี้ยๆ ทางทิศตะวันออก ในรัฐฮาวายมี
ลักษณะเป็นภูเขาไฟขรุขระ
 สภาพภูมิอากาศ อากาศหนาว เว้นแต่ในมลรัฐฮาวาย และมลรัฐฟลอริดา หนาวเย็นมากที่บริเวณขั้วโลกเหนือในมลรัฐอะแลสกา บริเวณที่ราบด้าน
ตะวันตกของแม่น้ามิสซิสซิปปี (Mississippi) จะค่อนข้างแห้งแล้ง และมีความแห้งแล้งมากบริเวณที่ลุ่มภาคตะวันตกเฉียงใต้
 ภัยธรรมชาติ สึนามิ, ภูเขาไฟ, และแผ่นดินไหวบริเวณแอ่งแปซิฟิก (Pacific Basin) ภัยจากพายุเฮอร์ริเคนบริเวณชายฝั่งแอทแลนติกและบริ
เวณอ่าวเม็กซิโก พายุทอร์นาโดทางภาคตะวันตกกลางตอน กลางทางตะวันออกเฉียงใต้ โคลนถล่มในรัฐแคลิฟอร์เนีย ไฟไหม้ป่าทางทิศตะวันตก
 จานวนประชากร 323,995,528 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2559)
 อัตราการเติบโตของประชากร 0.81% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
 สัญชาติ อเมริกัน American (s) และใช้ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษา ราชการ
 เชื้อชาติ ชนผิวขาว ชนผิวดา เอเชีย ชนพื้นเมืองอะลาสกาและ Amerindian ชาวพื้นเมืองฮาวายและชาวเกาะในหมู่เกาะแปซิฟิกอื่นๆ
ศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสเตนา นท์
มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนา
คริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์
เพราะไม่เห็นด้วยกับคาสอนของคริสตจักร
โรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นใน
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนา
ฝ่ายโปรเตสแตนต์
นิกายโรมัน คาทอลิก นิกายมอร์มอน ศาสนา
พุทธ ศาสนาอิสลาม
การเมืองการปกครอง
รูปแบบการปกครอง
สหพันธรัฐ แบบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและเป็นหัวหน้ารัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญ
เมืองหลวง
กรุงวอชิงตัน (Washington,D.C.)
การแบ่งเขตการปกครอง
ประกอบด้วย 50 มลรัฐและ 1 District (District of Columbia ซึ่งเป็นที่ตั้งของ กรุงวอชิงตัน)
วันที่ได้รับเอกราช
4 กรกฎาคม 1776 (พ.ศ. 2319) จากสหราชอาณาจักร
รัฐธรรมนูญ
17 กันยายน 1787 (พ.ศ. 2330), มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 1789 (พ.ศ. 2332)
การเมืองการปกครอง(ต่อ)
 ระบบกฎหมาย อยู่บนรากฐานของกฎหมายจารีตประเพณี ของอังกฤษ แต่ละรัฐมีกฎหมายของตนเอง ยกเว้นรัฐห
ลุยเซียร์นา ซึ่งยังคงได้รับอิทธิพลจากกฎหมายเป็นฉบับเขียนตายตัว (Napoleonic Code)
 โครงสร้างทางการเมือง
สหรัฐฯ มีพรรคการเมืองใหญ่ 2 พรรค คือ พรรครีพับลิกัน (Republican) และพรรคเดโมเเครต (Democrat)
การปกครองแบบ สหพันธรัฐ แบ่งแยกอานาจออกเป็น 3 ฝ่าย ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ แต่ละฝ่ายได้รับเลือกใน
ลักษณะที่แตกต่างกัน และมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอานาจซึ่งกันและกัน (checks and balances) ดังนี้
 ฝ่ายบริหาร : มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ได้รับเลือกจากการเลือกตั้งทั่วไป ร่วมกับรองประธานาธิบดี
 ฝ่ายนิติบัญญัติ : ประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร
 ฝ่ายตุลาการ :ประกอบด้วย ศาลชั้นต้น ศาลอุทรณ์ และศาลฎีกา
 ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ระบบเศรษฐกิจ
ทุนนิยม (Capitalism)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
18.56 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
GDP รายบุคคล
57,300 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
อัตราการเจริญเติบโต
GDP 1.6% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
GDP แยกตามภาคการผลิต
1.ภาคการเกษตร 1.1%
2.ภาคอุตสาหกรรม 19.4%
3.ภาคการบริการ 79.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
อัตราการว่างงาน
4.7% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
อัตราเงินเฟ้อ (Consumer Prices)
1.3% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
อุตสาหกรรม
สหรัฐฯ เป็นผู้นาทางภาคอุตสาหกรรมของโลก มีความหลากหลายสูงและมีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามาก
เช่น ปิโตรเลียม เครื่องยนต์เครื่องบิน อุปกรณ์การสื่อสาร เคมีภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ การแปรรูปอาหาร
สินค้าอุปโภคบริโภค ป่าไม้ เหมืองแร่
อัตราการเติบโตภาคอุตสาหกรรม
2.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
หนี้สาธารณะ
73.8% ของ GDP (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
ดุลบัญชีเดินสะพัด
- 469.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
มูลค่าการส่งออก
1.471 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
มูลค่าการนาเข้า
2.205 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b. (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
สกุลเงิน
US dollar
ปัจจัยจุลภาค
สถานที่จัดแสดงงานหรือนิทรรศการ
 งานแสดงสินค้า Seafood Expo North America &
Seafood Processing North America
 ระหว่างวันที่ 6-8 มีนาคม 2559
 ณ อาคารแสดงสินค้า Boston Convention &
Exhibition Center
 เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซส ประเทศสหรัฐอเมริกา
ข้อมูลทั่วไปของงาน
งานแสดงสินค้า Seafood Expo North America & Seafood
Processing North America เป็นงานแสดงสินค้าอาหารทะเลและกระบวนการผลิตและแปรรูป
อาหารทะเลที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค อเมริกาเหนือ โดยมีผู้เข้าร่วมแสดงสินค้าทั้งหมด 1,268 รายจากกว่า 40
ประเทศ และสามารถดึงดูดผู้เข้า ชมงานกว่า 20,600 รายจากกว่า 100 ประเทศ
งานแสดงหลักประกอบด้วยผู้ประกอบการประเภทต่างๆ ดังนี้
1. สินค้าอาหารทะเลทั้งสด แช่แข็ง
2. เครื่องจักร เครื่องแปรรูป อุปกรณ์เครื่องมือ และบรรจุภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสินค้า อาหารทะเล
3. บริการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอาหารทะเล เช่น การประกันคุณภาพสินค้า การจัดการบริหารขนส่ง
การให้คาปรึกษา และระบบแช่เย็น
ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง (ราคาอ้างอิง)
 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง (ราคาอ้างอิง)
ในการจัดซื้อจัดจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง
1.ชื่โครงการ การออกแบบและก่อสร้างคูหาประชาสัมพันธ์ข่าวสารในงานแสดงสินค้า Seafood Expo North อ
America 2016 หน่วยงานเจ้าของโครงการ ส านักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครนิวยอร์ก
2.วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร 7,030.60 เหรียญสหรัฐ
3.วันที่กาหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง) 11 กุมภาพันธ์2559 เป็นเงิน 5,000 เหรียญสหรัฐ ราคาต่อหน่วย (ถ้ามี)
4.แหล่งที่มาของราคากลาง (ราคาอ้างอิง) Mr. Sarasin Chatwichitkoon
5.รายชื่อเจ้าหน้าที่ผู้กาหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง) นายนที ชมพูรัตน์
Campaign
Under Armour "Rule Yourself: Phelps"
https://www.youtube.com/watch?v=2DFKjTtyxdg
IT'S WHAT YOU DO IN THE DARK
THAT PUT YOU IN THE LIGHT
Burger King & Peace One Day
https://www.youtube.com/watch?v=e01a4-ClcTs
เมื่อ Burger King กับ McDonald's
ร่วมกันนาเสนอเมนู McWhopper!
 เพื่อเป็นการโปรโมท Peace One Day และเพื่อการสร้างความ
ตระหนักให้กับคนทั่วโลกถึงความสาคัญของสันติภาพแล้ว เบอร์เกอร์คิง
ร่วมกับ WPP's Y&R ภายใต้ความคิดสาหรับองค์กรไม่แสวงหาผล
กาไรอย่าง Peace One Day นาเสนอแคมเปญยื่นขอสัญญาสงบ
ศึกไปยังแมคโดนัลด์ เพื่อนาเสนอเมนูใหม่ McWhopper สาหรับ
วันที่ 21 กันยายน 2015 - ให้เป็นวันแห่งสันติภาพของทั้งสองคู่แข่งอย่าง
McDonald's และ Burger King
ทวีปอเมริกาเหนือ Bdc412
ทวีปอเมริกาเหนือ Bdc412
ทวีปอเมริกาเหนือ Bdc412

More Related Content

Featured

Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellSaba Software
 

Featured (20)

Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 

ทวีปอเมริกาเหนือ Bdc412

  • 2. แคนนาดา CANADA  ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และทางตะวันออกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์คติก และทางใต้ติดกับ ประเทศสหรัฐอเมริกา  พื้นที่ 9,984,670 ตารางกิโลเมตรมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ2ของโลก(ใหญ่กว่าไทยประมาณ19เท่า)  เมืองหลวง กรุงออตตาวา (Ottawa)  เมืองสาคัญ โทรอนโต (Toronto) มอนทรีออล(Montreal) แวนคูเวอร์ (Vancouver) นครควิเบก (Quebec City) แฮลิแฟกซ์ (Halifax) วินนิเพก (Winnipeg) เอดมันตัน (Edmonton)  ประชากร 34,605,346 คน
  • 3. ประชากรแคนาดา  แคนาดามีประชากรประมาณ 32 ล้านคน มีอัตราส่วนของ ประชากรต่อตารางกิโลเมตร = 3 ซึ่งถือว่าน้อยที่สุดในโลก ชาวแคนาดาส่วนใหญ่ เป็นผู้อพยพมาจากที่ต่างๆ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส แอฟริกา อเมริกาใต้ และ เอเชีย เป็นต้น แคนาดาเป็นสังคมที่มีวัฒนธรรมแบบ ผสมผสาน มีภาษา ราชการ 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ มีเพียง มณฑล ควิเบคเท่านั้นที่ประชากรจะพูดภาษาฝรั่งเศส
  • 4. ประวัติศาสตร์  ฝรั่งเศสได้เข้ายึดครองแคนาดาฝั่งตะวันออกในปี พ.ศ. 2077 (ค.ศ. 1534) และได้เริ่มตั้งถิ่นฐานใน ปี พ.ศ. 2147 (ค.ศ. 1604) ปัญหาความขัดแย้ง ระหว่างฝรั่งเศสกับอังกฤษเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2256 (ค.ศ. 1713) อันเนื่องจากเหตุผลด้านการประมง และการค้าขนสัตว์ ซึ่งในที่สุดดินแดนแคนาดาก็ ตกเป็นของอังกฤษ  ปี พ.ศ. 2392 (ค.ศ. 1849) แคนาดาได้รับการ ยอมรับในสิทธิการปกครองตนเอง
  • 5. เศรษฐกิจแคนาดา  แคนาดาเป็นประเทศที่มีความอุดม สมบูรณ์ ประเทศหนึ่ง และจัดอยู่ใน 10 อันดับแรกของ ประเทศ ผู้นาทางอุตสาหกรรม โดยอุตสาหกรรม ที่สาคัญของประเทศส่วนใหญ่เป็น อุตสาหกรรม การ ผลิตรถยนต์ และอุตสาหกรรมการผลิตที่ สาคัญประเภทอื่นๆ เช่น อาหาร เครื่องดื่ม เหล็ก ดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
  • 6. ผู้นาและรูปแบบการปกครอง  ผู้นารัฐบาล: นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ซึ่งเป็นองค์ พระประมุข ทรงแต่งตั้งผู้สาเร็จราชการเป็นผู้แทน พระองค์  แบบสหพันธรัฐประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา และ เป็นระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ แคนาดา จัดเป็นสหพันธรัฐ ซึ่งหมายความว่า อานาจการ บริหารจะมีการจัดสรรให้รัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละ มณฑลและเขตปกครองสามารถปกครองตนเองได้
  • 7. เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในประเทศแคนาดา  โครงการทดสอบรถยนต์ไร้คนขับในเมือง Stratford ประเทศแคนาดา Driverless cars หรือเทคโนโลยีรถยนต์ที่สามารถขับเคลื่อนได้ด้วยตนเอง หรือไร้คนขับซึ่งในช่วง แรก Google เป็นผู้บุกเบิกแนวความคิดรถขับเคลื่อน อิสระ มีการทดสอบการขับเคลื่อนในพื้นที่จริงมากกว่า 2 ล้านกิโลเมตร โดยทุก กิโลเมตรที่รถขับเคลื่อนไปจะมีการเก็บข้อมูล เพื่อใช้เพิ่มการตัดสินใจในความเสี่ยง ต่างๆ แทนคนขับและความปลอดภัยในการขับเคลื่อนอย่างอิสระมากยิ่งขึ้น ปัจจุบัน เทคโนโลยียานยนต์รูปแบบใหม่ นี้มีการพัฒนาต่อยอดอย่างรวดเร็วโดยบริษัทยาน ยนต์ชั้นนาของโลก ในงานแสดง Consumer Electronics Show (CES) เมือง Las Vegas
  • 8.  เทคโนโลยีการขุดเจาะน้ามันและความต้องการใช้พลังงานที่ ขยายตัว ขึ้นทุกปีนาไปสู่การขยายตัวของอุตสาหกรรมพัฒนาน้ามันและ ก๊าซ ขนาดใหญ่ ในแต่ละปีพบว่ามีแท่นขุดเจาะเกิดขึ้นใหม่ประมาณ 5 หมื่น จุดเขตอเมริกาเหนือตอนกลาง โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ที่มีชื่อว่า Bakken, Eagle Ford และ Marcellus Shale กลายเป็นพื้นที่สาหรับ การขุดเจาะน้ามันและก๊าซธรรมชาติที่มักจะเป็น ข่าวอยู่ตลอดเวลา เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในประเทศแคนาดา
  • 9. สภาพสังคมและแนวโน้มวัฒนธรรม  ประเทศแคนาดามีประชากรน้อยมากเมื่อเทียบกับพื้นที่ ของประเทศ ชาวแคนาดาส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพมาจาก ประเทศต่างๆ จึงมีขนบธรรมเนียมประเพณีและนโยบาย ส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย และกิจกรรม สันทนาการของชนชาติจากวัฒนธรรม ในย่านใจกลาง เมืองใหญ่ๆ สนุกหรรษา กับ งาน คาร์นิวัลฤดูหนาว
  • 10. ปัจจัยจุลภาค อัตราการเปิดรับสื่อออนไลน์  กลายเป็นส่วนหนึ่งของพฤติกรรมการชมรายการโทรทัศน์ไปซะแล้ว กับการใช้งาน สมาร์ทโฟนระหว่างชมรายการโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนี้พฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการ สื่อสารทางการตลาด จึงเป็นหน้าที่ของนักการตลาดที่จะทาอย่างไรให้สื่อทั้งสอง ทางานได้อย่างผสมผสานจนเกิดเป็นรายได้ในจากผลการวิจัยของ Television Bureau of Canada ที่ดาเนินการโดย BBM Analytics พบว่า ผู้ใหญ่ในประเทศแคนาดากว่าครึ่ง จะค้นหาข้อมูลสินค้าบนอินเทอร์เน็ตหลังชม โฆษณาบนโทรทัศน์ แม้พวกเขาจะแสดงความสนใจในผลิตภัณฑ์ แต่น้อยคนนักที่จะ ตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ในทันที
  • 11. ปัญหาหรือประเด็นที่มีความสาคัญต่อคนในประเทศ  ทุกวันนี้ผู้คนอาศัยอยู่ในยุคที่มีวัฒนธรรมขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ข่าวสาร และผลจากรวมกัน ระหว่างเทคโนโลยีดิจิตอลอุปกรณ์ สื่อสาร (ทั้งโทรศัพท์สมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต) และโซเซียล มีเดีย มีผลให้เปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้คนทั่วไป วิธีการสื่อสารใน ชีวิตประจาวันที่แตกต่างไปจากอดีต เปลี่ยนไปมากการ เปลี่ยนแปลงครั้งนี้หมายถึงการปฏิวัติการสื่อสารของมนุษย์
  • 12. Campaign  แคมเปญ หรือ ตัวอย่างการสื่อสารแบรนด์ที่ประสบความสาเร็จ McDonald's ที่แคนาดาปล่อยแคมเปญซื้ออาหารชุด Happy Meal แถม fitness tracker  การออกกาลังกายเป็นสิ่งสาคัญสาหรับคนทุกเพศทุกวัย โดย STEP-it เป็นของเล่นที่ส่งเสริมพัฒนาการทั้งในส่วนของ ร่างกายและจินตนาการซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาทั่วไปของ McDonald's" Michelle McIImoyle ผู้จัดการฝ่ายการตลาดอาวุโสของ McDonald's สาขา แคนาดาอธิบาย
  • 13. สาธารณรัฐคิวบา หรือ Republic of Cuba  ที่ตั้ง : ตั้งอยู่กลางทะเลแคริบเบียน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดใน West Indies ทางทิศใต้ของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา บริเวณทางตอนเหนืออยู่ใกล้กับอ่าวเม็กซิโก ด้านตะวันออกอยู่ใกล้กับไฮติ และสาธารณรัฐโดมินิกัน ทางตอนใต้ของประเทศ มีภูเขาสาคัญคือ Sierra Maestra  พื้นที่ : พื้นที่ทั้งหมด 110,860 ตารางกิโลเมตร  อาณาเขต : พรมแดนติดต่อกับฐานทัพเรือสหรัฐฯที่อ่าวกัวเตนาโม 29 กิโลเมตร ชายฝั่งทะเลยาว 3,735 กิโลเมตร  สภาพภูมิประเทศ : ส่วนใหญ่เป็นที่ราบถึงที่ราบลูกคลื่น เนินเขาและภูเขาขรุขระทางด้านตะวันออกเฉียงใต้  สภาพภูมิอากาศ : ร้อนชื้น (tropical) ฤดูแล้งระหว่างเดือน พ.ย. - เม.ย. ฤดูฝนระหว่างเดือน พ.ค. - ต.ค.  ทรัพยากรธรรมชาติ : โคบอล นิเกิล เหล็ก โครเมียม ทองแดง เกลือ ไม้ ซิลิกา น้ามัน พื้นที่เพาะปลูก  ภัยธรรมชาติ : พายุ(Hurricane)  พื้นที่รวม : 110,861 ตร.กม. (105) 42,803 ตร.ไมล์  - แหล่งน้า ( % ) : น้อยมาก
  • 14. สัญชาติ : Cuban เชื้อชาติ : ผิวขาวร้อยละ 64.1 ผิวขาวผสมชนพื้นเมือง (Mestizo) ร้อยละ 26.6 ผิวดาร้อยละ 9.3 (สารวจ พ.ศ. 2555) ศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ภาษา : สเปน
  • 15. เมืองหลวง : กรุงฮาวานา (Havana) การแบ่งเขตการปกครอง : คิวบาแบ่งการปกครองออกเป็น 14 จังหวัด (provinces) และ 1 เทศบาลพิเศษ* (special municipality) ได้ประกอบขึ้นเป็นประเทศคิวบา เขต ปกครองนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จากเดิมมีเพียง 6 จังหวัด คือ ปีนาร์เดลรีโอ (Pinar del Río) อาบานา (Habana) มาตันซัส (Matanzas) ลัสบียัส (Las Villas) กามากู เอย์ (Camagüey) และโอเรียนเต (Oriente) 1. อิสลาเดลาฮูเบนตุด (Isla de la Juventud) 2. ปีนาร์เดลรีโอ (Pinar del Río) 3. ลาอาบานา (ฮาวานา) (La Habana) 4. ซิวดัดเดลาอาบานา (ฮาวานาซิตี) (Ciudad de la Habana) 5. มาตันซัส (Matanzas) 6. เซียมฟวยโกส (Cienfuegos) 7. บียากลารา (Villa Clara Province) 8. ซังก์ตีสปีรีตุส (Sancti Spíritus Province) 9. เซียโกเดอาบีลา (Ciego de Ávila) 10. กามากูเอย์ (Camagüey) 11. ลัสตูนัส (Las Tunas) 12. กรัมมา (Granma) 13. ออลกิง (Holguín) 14. ซันเตียโกเดกูบา (Santiago de Cuba Province) 15. กวันตานาโม(Guantánamo)
  • 16. ราอุล โมเดสโต กัสโตร รุซ หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม ราอุล กัสโตร ฝ่ายบริหาร : ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขของรัฐและหัวหน้าคณะรัฐบาล รัฐสภาเป็นผู้เลือกตั้ง ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี วาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี ประธานาธิบดีของสภาแห่งรัฐ (president of the Council of State) เป็นผู้เสนอชื่อรัฐมนตรี เพื่อให้รัฐสภาเป็นผู้ แต่งตั้ง ซึ่ง Council of State มีสมาชิก 31 คน ได้รับการเลือกตั้งจากรัฐสภาเพื่อให้ทาหน้าที่ แทนในช่วงที่ไม่มีการประชุม ฝ่ายนิติบัญญัติ : ระบบสภาเดียว (Unicameral National Assembly of People's Power หรือ Asemblea Nacional del Poder Popular) จานวนที่น่ังของสมาชิกรัฐสภาขึ้นอยู่กับจานวนประชากร ปัจจุบันมีสมาชิกจานวน 614 ที่นั่ง มาจากการ เลือกตั้งโดยตรงจากรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้ง ที่ได้ความเห้นชอบจากคณะกรรมการชุดพิเศษ (special candidacy commissions) วาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี ฝ่ายตุลาการ : ศาลสูงสุดได้แก่ People's Supreme Court หรือ Tribunal Supremo Popular ประกอบด้วยประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี และผู้พิพากษาคนอื่นๆ ที่มาจากการเลือกตั้งโดยรัฐสภา ระบบกฎหมาย : ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System) มีรากฐานมาจากประมวล กฎหมายสเปน รูปแบบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์(Communist state)
  • 17. เปโซคิวบา (อังกฤษ: Cuban peso) คือหน่วยสกุลเงินหนึ่งที่ใช้ในประเทศ คิวบาแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คิวบาเปโซ (CUP) ถือเป็นสกุลเงินหลักในประเทศ และคอนเวอร์ทิเบิลเปโซ (CUC) หรือสกุลเงินที่ออกมาเพื่อใช้แทนดอลลาร์สหรัฐ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐ มีค่าเท่ากับ 1 CUC และ 1 CUC มีค่าเท่ากับ 24 CUP แสดงให้ เห็นว่าสกุลเงินในประเทศถูกกว่าสกุลเงินที่ใช้ทดแทนเงินภายนอกมาก แต่ทั้ง CUP และ CUC สามารถเรียกรวมกัน ง่ายๆ ว่า เปโซ (Peso)ในคิวบาตามร้านค้าจะไม่ ค่อยรับ CUC มากนัก หรือรับก็มีมาตรฐานค่าเงินต่างกัน จึงมักเกิดกรณีที่ ชาวต่างชาติจ่ายเงินเกินจานวนบ่อย
  • 18. เศรษฐกิจตามระบอบสังคมนิยม คิวบามีนโยบายเศรษฐกิจตามระบอบสังคมนิยม โดยรัฐมีบทบาทในการกาหนดนโยบาย บริหารจัดการ และขับเคลื่อน เศรษฐกิจและสังคม เป็นผู้ควบคุมกลไกในการผลิตส่วนใหญ่ เป็นผู้จ้างแรงงานที่สาคัญ เป็นผู้กาหนดราคาสินค้าส่วนใหญ่และ แจกจ่ายสิ่งของแก่ประชาชน พร้อมทั้งควบคุมการลงทุนของภาคธุรกิจ อย่างไรก็ดี ในช่วงทศวรรษ 1990 รัฐบาลคิวบาเริ่มมีการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ โดยผ่อนคลายความเข้มงวดในธุรกิจบางประเภท อาทิ การท่องเที่ยวและโรงแรม เพื่อดึงดูดเงินตราจาก ต่างประเทศ ดาเนินมาตรการเปิดเสรี และส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) : 128.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557) GDP รายบุคคล : 6,789.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2556) อัตราการเจริญเติบโต GDP : 1.3% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557) GDP แยกตามภาคการผลิต : ภาคการเกษตร 3.9% ภาคอุตสาหกรรม 23% ภาคการบริการ 72.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) มูลค่าการส่งออก : 3.428 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) สินค้าส่งออก : น้าตาล นิเกิล ยาสูบ ปลา เวชภัณฑ์ มะกรูดมะนาว กาแฟ ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สาคัญ : Canada 17.7%, Venezuela 13.8%, China 13%, Netherlands 6.4%, Spain 5.4%, Belize 4.7%
  • 19. มูลค่าการนาเข้า : 12.34 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) สินค้านาเข้า : เชื้อเพลิง อาหาร เครื่องจักรและอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ ประเทศคู่ค้า (นาเข้า)ที่สาคัญ : Venezuela 31.8%, China 17.6%, Spain 10%, Brazil 4.8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
  • 21. สาธารณรัฐโดมินิกัน หรือ Dominican Republic  ที่ตั้ง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งมีขนาดใหญ่เป็น อันดับที่ 2 ในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่  พื้นที่ทั้งหมด 48,730 ตารางกิโลเมตร  สภาพภูมิประเทศ เนินสูงขรุขระและภูเขาที่ว่างระหว่างหุบเขาอุดม สมบูรณ์โปรยปราย  สภาพภูมิอากาศ ร้อนแบบชายทะเลแต่ละฤดูอุณหภูมิแตกต่างกันเล็ก น้อย  จานวนประชากร 10,606,865 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559)  สัญชาติ Dominican  เชื้อชาติ ผสม 73% ผิวขาว 16% ผิวดา 11%  ศาสนา โรมันคาทอลิก 95% อื่น 5%  ภาษา ภาษาสเปน
  • 23. ข้อมูลทางเศรษฐกิจ  GDP รายบุคคล 15,900 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  GDP แยกตามภาคการผลิต ภาคการเกษตร 5.1% ภาคอุตสาหกรรม 32.8%  ภาคการบริการ 62.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  ผลผลิตทางการเกษตร อ้อย กาแฟ ฝ้าย โกโก้ ยาสูบ ข้าว ถั่วเหลือง มันฝรั่ง ข้าวโพด กล้วย ปศุสัตว์ สุกร ผลิตภัณฑ์นม เนื้อวัว ไข่  อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว น้าตาล เหล็กนิเกิลและเหมืองทอง สิ่งทอ ซีเมนต์ ยาสูบ
  • 24.  สินค้าส่งออก ทองคา แร่เงิน โกโก้ น้าตาล กาแฟ ยาสูบ เนื้อสัตว์ สินค้าอุปโภคบริโภค  ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สาคัญ US 42.5%, Haiti 16.5%, Canada 8.1%, India 4.8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)  สินค้านาเข้า ปิโตรเลียม เครื่องบริโภค ฝ้ายและสิ่งทอ เคมีภัณฑ์และเวชภัณฑ์  ประเทศคู่ค้า (นาเข้า) ที่สาคัญ US 42%, China 9.2%, Venezuela 5.6%, Trinidad and Tobago 4.5%, Mexico 4.4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558) ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า(ต่อ)
  • 25. วัฒนธรรม เนื่องจากสาธารณรัฐโดมินิกันเคยเป็นเมื่อขึ้นของสเปนมาก่อนดังนั้นจึงทาให้วัฒนธรรมประเพณีส่วน ใหญ่จะได้รับตกทอดมาจากชาวสเปน นอกจากนั้นยังมีวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานของวัฒนธรรมที่ ได้รับจากชาวแอฟริกันและชาวอเมริกันอีกด้วย ระบบกฏหมาย ระบบประมวลกฎหมาย(Civil Law System) มีรากฐานมาจากประมวล กฏหมายของฝรั่งเศส
  • 26. ปัจจัยจุลภาค  สภานที่จับจ่ายใช้สอยส่วนใหญ่เป็นห้างสรรพสินค้า เพราะมีจานวนถึง 92 ที่ในประเทศ  รายได้ของประเทศจากภาคบริการต่างๆ เป็นหลัก  สภาพการแข่งขัน  ประเทศคู่ค้า (ส่งออก) ที่สาคัญ US 42.5%, Haiti 16.5%, Canada 8.1%, India 4.8%  ประเทศคู่ค้า (นาเข้า) ที่สาคัญ US 42%, China 9.2%, Venezuela 5.6%, Trinidad and Tobago 4.5%, Mexico 4.4% การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมMasculinity = ค่อนข้างสู้ เนื้อจากเราจะเห็นข่าวที่เกี่ยวกับการแข่งขันของประเทศโดมินิกันอยู่บ่อยครั้ง เช่น วอลเลย์บอล การประกวดนางงามต่างๆ
  • 28. ปัจจัยมหาภาค  ชื่อประเทศอย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐกัวเตมาลา หรือ Republic of Guatemala  ที่ตั้ง อยู่ในภูมิภาคอเมริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับเบลิซและทะเลแคริบเบียนทิศเหนือและตะวันออก ติดกับเม็กซิโกและมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ติดกับฮอนดูรัสและ เอลซัลวาดอร์  พื้นที่ 108,890 ตารางกิโลเมตร พื้นดิน 108, 430 ตารางกิโลเมตร พื้นน้า 460 ตารางกิโลเมตร  อาณาเขต มีพรมแดนยาว 1,6871 กิโลเมตร ติดกับเบลิซ 266 กิโลเมตร เอล ซัลวาดอร์ 203 กิโลเมตร ฮอนดูรัส 256 กิโลเมตร เม็กซิโก 962 กิโลเมตร
  • 29. ปัยจัยมหาภาค  สภาพภูมิประเทศ เกือบทั้งประเทศเป็นภูเขามีที่ราบต่าชายฝั่งและที่ราบหินปูน  สภาพภูมิอากาศ ร้อนชื้นในบริเวณที่ราบต่าและอากาศเย็นในบริเวณที่สูง  ทรัพยากรธรรมชาติ ปิโตรเลียม นิเกิล ปลา ไม้  ภัยธรรมชาติ มีภูเขาไฟอยู่หลายแห่ง เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงบางครั้ง ชายฝั่งทะเลคาริบเบียนมักเกิดพายุ เฮอร์ริเคนและพายุประเภทอื่นๆ  จานวนประชากร 15,189,958 คน (ค่าประมาณการ เดือนกรกฏคมคม พ.ศ. 2559)  อัตราการเติบโตของประชากร 1.79%(ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
  • 30. ปัจจัยมหาภาค  สัญชาติ Guatemalan (s)  เชื้อชาติ Meztizo (คนผิวขาวกับชาวพื้นเมือง) 59.4% K'iche 9.1% Kaqchikel 8.4% Mam 7.9% Q'eqchi 6.3% ชาวมายันอื่นๆ 8.6% ชนพื้นเมืองที่ไม่ใช่เผ่ามายัน 0.2% อื่นๆ 0.1%  ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกโปรแตสเตนท์  ภาษา ภาษาสเปน 60% อย่างไรก็ดี ยังมีชาวกัวเตมาลา 40% ที่สื่อสารโดยใช้ภาษาพื้นเมือง
  • 31. ประวัติศาสตร์  กัวเตมาลามีพื้นฐานอารยธรรมมาจากอาณาจักรมายาที่รุ่งเรือง เป็นเวลา พันปีก่อนที่อาณาจักรสเปนเข้ามายึดครอง กัวเตมาลาอยู่ภายใต้การ ปกครองของประเทศสเปนในระหว่างปี ค.ศ. 1524-1821 และได้รับเอกราช จากประเทศสเปนเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1821 ประวัติชนพื้นเมือง โบราณที่สาคัญของประเทศกัวเตมาลา คือ ชนเผ่ามายา เป็นอาณาจักรที่ ใหญ่มาก เพราะมีพื้นที่ ประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา และ ฮอนดูรัส ชาว มายา ประกอบด้วย ชุมชนเกษตรอยู่ชั้นนอก ชุมชนเมืองอยู่ชั้นใน ล้อมรอบ จุดศูนย์กลาง ซึ่งเป็นบริเวณสิ่งก่อสร้างที่ใช้ ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ซึ่ง สิ่งก่อสร้างนั้นมีหลายแบบ เช่น ปิรามิด วิหาร และปราสาทราชวัง ซึ่งสร้าง จากศิลาล้วนๆ บ่งบอกความเจริญรุ่งเรืองของชาวมายาอย่างดี
  • 32. การเมือง รูปแบบการปกครอง  สาธารณรัฐ (Constitutional Democratic Republic)  เมืองหลวง กรุงกัวเตมาลา (Guatemala City)  การแบ่งเขตการปกครอง 22 เขต ได้แก่ Alta Verapaz, Baja Verapaz, Chimaltenango, Chiquimula, El Progreso, Escuintla, Guatemala, Huehuetenango, Izabal, Jalapa, Jutiapa, Peten, Quetzaltenango, Quiche, Retalhuleu, Sacatepequez, San Marcos, Santa Rosa, Solola, Suchitepequez, Totonicapan, Zacapa  วันที่ได้รับเอกราช 15 กันยายน ค.ศ. 1821 (พ.ศ. 2364)
  • 33. การเมือง  รัฐธรรมนูญ มีผลบังคับใช้เมื่อ 14 ม.ค. 2529  ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและหัวหน้าคณะรัฐบาล รวมถึงเป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐบาล ประธานาธิบดีและรอง ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งในครั้งเดียวกัน ด้วยระบบคะแนนนิยม วาระการดารงตาแหน่ง 4 ปี แต่ไม่สามารถรับ ตาแหน่งในวาระติดต่อกันได้  ฝ่ายนิติบัญญัติ ระบบสภาเดียว (unicameral Congress of the Republic หรือ Congreso de la Republica) สมาชิกจานวน 158 ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อแบบสัดส่วน
  • 34. การเมือง ระบบกฎหมาย  ฝ่ายตุลาการ  ศาลสูงสุดของประเทศคือ ศาลรัฐธรรมนูญ (Constitutional Court หรือ Corte de Constitucionalidad) ศาลอื่นๆ ได้แก่ Supreme Court of Justice หรือ Corte Suprema de Justicia  ระบบกฎหมาย ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System) มีการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฏหมายที่ ออกโดยสภานิติบัญญัติ (judicial review of Legislative acts)
  • 35. เศรษฐกิจ  โครงสร้างเศรษฐกิจกัวเตมาลาส่วนใหญ่พึ่งพาภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก มีรายได้จากการส่งออก สินค้า ทางการเกษตรเช่น กล้วย กาแฟ และน้าตาล ปัจจุบันกัวเตมาลากาลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในด้านการพัฒนาโครงสร้างขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้ถูกทาลายเสียหายมากในระหว่างเกิดสงคราม ในประเทศ รัฐบาลชุดปัจจุบันมีนโยบายเสรีนิยม สนับสนุนการพัฒนาเขตการค้าเสรีร่วมกับประเทศ เพื่อนบ้านในอเมริกากลาง รวมทั้งเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของเขตการค้าเสรีอเมริกากลาง-เม็กซิโก และ อเมริกากลาง-สหรัฐฯ CAFTA) นอกจากนี้กัวเตมาลายังเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ เนื่องจากได้รับสิทธิพิเศษทางการค้า (GSP) จากสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป มีค่าแรงงานที่ถูก และอยู่ใกล้กับตลาดอเมริกาเหนือ
  • 36. เทคโนโลยี/นวัตกรรม  การเชื่อมต่อไร้สายของโรงเรียนในชนบท 15 แห่งในประเทศกัวเตมาลา  เด็กๆ ชาวกัวเตมาลาได้รับประโยชน์จากความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการของกัวเตมาลา กับ FunSEPA และ USAID ซึ่งประธานาธิบดีออสการ์ เบอร์เจอร์ได้เข้าร่วมพิธีเปิดโครงการ ด้วยการประกาศให้อุปกรณ์และบริการ CDMA2000® 1xEV-DO เพื่อสนับสนุนการเชื่อมต่อไร้สายความเร็วสูง ให้แก่โรงเรียนยากจนในกัวเตมาลา ใน ฐานะส่วนหนึ่งของโครงการริเริ่ม Wireless Reach? แก่ทั่วโลก โครงการนี้สนับสนุนโปรแกรม “โรงเรียนในอนาคต” ของ กระทรวงศึกษาธิการ ที่มุ่งสู่การปรับปรุงการศึกษาด้วยการให้การอบรมแก่คุณครูอย่างหนัก การเกี่ยวข้องของชุมชน การรวม เทคโนโลยีแห่งยุคหน้าและการเพิ่มโครงสร้างพื้นฐานให้แก่โรงเรียน เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองการเปิดตัวของโครงการริเริ่มในครั้งนี้ ประธานาธิบดีของกัวเตมาลา ออสการ์ เบอร์เจอร์ จะเป็นประธานตัดริบบิ้นในงานเฉลิมฉลองที่ Escuela Los Lirios ใน เขต Escuintla ซึ่งเป็นโรงเรียนแรกในการเปิดตัวเทคโนโลยีใหม่นี้
  • 37. การเปิดรับสื่อออนไลน์ ออฟไลน์  ประเทศกัวเตมาลามีการเปิดรับสื่อออฟไลน์ คือแบบไม่ใช้สายหรือไม่มีการติดต่อกันทาง สาย เป็นแอพพลิเคชั่น  คู่มือสาหรับนักท่องเที่ยวออกแบบมาเพื่อการใช้งานแบบออฟไลน์ ไม่จาเป็นต้องมีการ เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต อันหมายถึงไม่มีการเรียกเก็บค่าบริการเพิ่มเติมในใบแจ้งหนี้ หลังจากการร้องขอมากมาย ได้นาเอาขั้นตอนที่สามารถทาด้ด้วยตนเอง ที่มาพร้อมกับ ฟีเจอร์สาหรับ GPS อย่างเพลิน เพียงอค่ดูสถานที่ที่ยืนอยู่ เป็นคู่มือเที่ยวชมเมืองที่ใช้ได้ จริง โดยได้รับการออกแบบเพื่อใช้สาหรับการเดินทาง ยังให้บริการทิปและคาแนะนา สาหรับนักเดินทาง วิธีการเข้าเมือง วิธีการเดินทางไปรอบๆ สถานที่สาหรับการจับจ่าย สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ และอื่นๆ
  • 38. สถานที่จับจ่ายใช้สอย  Plaza Fontabella ที่นี่ยอดเยี่ยม เต็มไปด้วยชีวิต และ คุณสามารถหาอาหารประเภทที่แตกต่างกัน และทุกอย่างก็อร่อย  Oakland Mall แหล่งช้อปปิ้งที่หรูหราที่สุดแห่งหนึ่ง หากวัง ในกัวเตมาลา สูงขนาดร้านค้า โรงภาพยนตร์วีไอพี ร้านอาหารที่มี ความพิเศษร้านค้าปลีก 4 เรื่องราวของการช้อปปิ้ง และความ บันเทิงสาหรับทุกเพศทุกวัย และทุกคน
  • 39. ปัจจัยจุลภาค  สถานที่จัดแสดงงานหรือนิทรรศการ - พิพิธภัณฑ์การแต่งการพื้นเมืองอิกซ์เชล ศิลปะการจัดนิทรรศการผ้าของ Mayas เดอะสีสันและวัสดุที่ใช้ทาให้เป็นการแสดง ที่ยอดเยี่ยม - พิพิธภัณฑ์โปปอล วูห์ มีนิทรรศการของมายา พบของวัฒนธรรมในกัวเตมาลา และบริเวณเมโสอเมริกา ได้เรียนรู้วัฒนธรรมของ ที่นี่ก่อน และหลังจากที่สเปนจะพิชิตดินแดน รูปแบบที่ทันสมัย มีการจัดนิทรรศการรายละเอียดด้วยภาษาอังกฤษสเปน  แบรนด์ที่ประสบความสาเร็จ กาเเฟจากประเทศ กัวเตมาลา ติดอันดับ9 กาแฟที่ดีที่สุด สายพันธุ์ Bourbon Amarillo เบอร์บอน เป็นกาแฟที่กลาย พันธุ์มาจากกาแฟทริปิก้า ลักษณะต้นกาแฟไม่สูงมาก มีข้อถี่ใบกว้าง ยอดอ่อนมีสีเขียว ให้ผลสุกที่ช้า แต่ให้ผลผลิตกาแฟที่ดีกว่า และมีคุณภาพ ด้านรสชาติและกลิ่นหอมกว่ากาแฟทริปิก้า ฟาร์มที่ผลิต Teanzu
  • 41. สาธารณรัฐเฮติ หรือ Republic of Haiti  ที่ตั้ง บนแคริบเบียน ด้านตะวันตกมีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐโดมินิกัน  พื้นที่ 27,750 ตารางกิโลเมตร พื้นดินเท่ากับ 27,560 ตารางกิโลเมตร พื้นน้า 190 ตารางกิโลเมตร  อาณาเขต พรมแดนยาว 360 กิโลเมตร ติดกับสาธารณรัฐโดมินิกัน ความยาวชายฝั่งเท่ากับ 1,771 กิโลเมตร  สภาพภูมิประเทศ เกือบทั้งประเทศมีลักษณะเป็นภูเขาขรุขระ  สภาพภูมิอากาศ แบบร้อนชื้น ส่วนทางฝั่งตะวันออกอากาศแห้งเนื่องจากมีแนวเขาบังลมสินค้า  ทรัพยากรธรรมชาติ บอกไซต์, ทองแดง, แคลเซียมคาร์บอเนต, ทองคา, หินอ่อน, พลังน้า  ภัยธรรมชาติ ประเทศ ตั้งยู่ตรงกลางแนวเฮอร์ริเคน จึงเกิดพายุอย่างรุนแรงช่วงเดือนมิถุนายน- ตุลาคม น้าท่วมและ แผ่นดินไหวเป็นครั้งคราว เผชิญกับภัยแห้งแล้งเป็นระยะๆ  จานวนประชากร 10,485,800 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559)  อัตราการเติบโตของประชากร 1.71% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  สัญชาติ Haitian (s)
  • 42. ข้อมูลทั่วไป(ต่อ)  ผิวดา 95% คนที่มีเชื้อสายผสมระหว่างคนผิวขาวกับนิโกร และชนผิวขาว 5 %  ศาสนา ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก 54.7% โปรแตสแตนท์ 28.5% (แบบติสต์ 15.4% Pentecostal 7.9% แอตเวนทิสต์ 3% Methodist 1.5% อื่นๆ 0.7%) ลัทธิวูดู 2.1% ไม่นับถือศาสนาใดๆ 10.2% ศาสนาอื่นๆ 4.6%  ภาษาราชการ ได้แก่ ฝรั่งเศส และ Creole  การเมืองการปกครอง รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตย สาธารณรัฐ  เมืองหลวง เมือง Port-au-Prince  การแบ่งเขตการปกครอง 10 เขตจังหวัด ได้แก่ Artibonite, Centre, Grand' Anse, Nippes, Nord, Nord-Est, Nord-Ouest, Ouest, Sud, Sud-Est  วันที่ได้รับเอกราช1 มกราคม 1804 (พ.ศ. 2347) จากฝรั่งเศส  รัฐธรรมนูญ มีนาคม 2544 แต่มีการปฏิวัติและยกเลิกการใช้รัฐธรรมนูญหลายครั้ง จนกระทั่งกลับมาใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้อีกครั้งเมื่อ พฤษภาคม 2549  ระบบกฎหมาย มีรากฐานจากประมวลกฎหมายแพ่งของโรมัน
  • 43. ข้อมูลทั่วไป(ต่อ)  รัฐธรรมนูญ มีนาคม 2544 แต่มีการปฏิวัติและยกเลิกการใช้รัฐธรรมนูญหลายครั้ง จนกระทั่งกลับมาใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้อีก ครั้งเมื่อพฤษภาคม 2549  ระบบกฎหมาย มีรากฐานจากประมวลกฎหมายแพ่งของโรมัน  ประธานาธิบดี มีวาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี  สภานิติบัญญัติ  มีระบบสองสภา ประกอบด้วยวุฒิสมาชิก 27 คน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 83 คน มีวาระการดารงตาแหน่ง 4 ปี  ฝ่ายบริหาร  นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขของรัฐบาล คณะรัฐมนตรีเลือกโดยนายกรัฐมนตรีจากการหารือกับประธานาธิบดี  ฝ่ายตุลาการ  ตั้งอยู่บนระบบกฎหมายโรมัน มีคณะลูกขุน
  • 44. ระบบเศรษฐกิจพึ่งพิงอยู่กับเกษตรกรรม โดยสองในสามของประชากรยังชีพโดย การเกษตร ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP) 19.36 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) GDP รายบุคคล 1,800 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) อัตราการเจริญเติบโต GDP 1.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) GDP แยกตามภาคการผลิต • ภาคการเกษตร 21.5% • ภาคอุตสาหกรรม 20.3% • ภาคการบริการ 58.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) อัตราการว่างงาน 40.6% (ค่าประมาณ พ.ศ.2553) อัตราเงินเฟ้อ (Consumer Prices) 12.4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) ผลผลิตทางการเกษตร กาแฟ มะม่วง อ้อย ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ไม้ อุตสาหกรรม การกลั่นน้าตาลบริสุทธิ์ โรงงานทาแป้ง สิ่งทอ ซีเมนต์ อัตราการเกิบโตภาคอุตสาหกรรม 0.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
  • 45. ดุลบัญชีเดินสะพัด 35 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) มูลค่าการส่งออก 933.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) สินค้าส่งออก เครื่องนุ่งห่ม น้ามัน โกโก้ มะม่วง กาแฟ อุตสาหกรรมขนาดเล็ก ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สาคัญ US 85.3% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558) มูลค่าการนาเข้า 3.149 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) สินค้านาเข้า อาหาร สินค้าอุตสาหกรรม เครื่องจักรและอุปกรณ์การขนส่ง เชื้อเพลิง สินค้าวัตถุดิบ ประเทศคู่ค้า (นาเข้า)ที่สาคัญ Dominican Republic 35.3%, US 24.5%, Netherlands Antilles 9.4%, China 9.4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558) สกุลเงิน Gourde สัญลักษณ์เงิน HTG
  • 46. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐเฮติ ความสัมพันธ์ทางการทูต ไทยกับเฮติสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2529 โดยรัฐบาลไทยมอบหมายให้ คณะทูตถาวรประจาองค์การสหประชาชาติเป็น contact point กับเฮติ สินค้าออกที่สาคัญของไทย ยานพาหนะ หม้อแบตเตอร์รี่ ผลิตภัณฑ์พลาสติก เคมีภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะ อาหารในครัวและบ้านเรือน ข้าว ผลิตภัณฑ์ยาง ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้แผ่น แก้วและกระจก สินค้านาเข้า ไทยนาเข้าจากเฮติน้อยมาก (มูลค่าต่ากว่าล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ) อย่างไรก็ดี จากข้อมูลของ กระทรวงพาณิชย์ ได้จัดสินค้านาเข้าจากเฮติ ดังนี้เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบ รวมทั้งโครงรถและตัวถัง ของเล่น เครื่องเล่นกีฬาและเครื่องเล่นเกม รถยนต์โดยสารและรถบรรทุกแก้วและ ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และ ส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ มูลค่าการค้าไทย-เฮติ ในปี 2557 มีมูลค่า 23.27 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 33.77% จากปีก่อน โดยไทย ได้เปรียบดุลการค้า 8.40 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยมีมูลค่าการส่งออก 15.84 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นาเข้า 7.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สถิตินักท่องเที่ยว ชาวเฮติเดินทางเข้าไทย 106 คน โดยเป็นนักท่องเที่ยว 84 คน (ปี 2556) หน่วยงานประสานงานไทย - เฮติ คณะทูตถาวรประจาองค์การสหประชาชาติ
  • 47. จาเมกา Jamaica  ที่ตั้ง เป็นเกาะเล็กๆ ในทะเลแคริบเบียน ตั้งอยู่ห่างจากคิวบาทางทิศเหนือประมาณ 145 กิโลเมตร และเฮติทางทิศตะวันออก ประมาณ 190 กิโลเมตร  พื้นที่ 10,991 ตารางกิโลเมตร  ภูมิประเทศ พื้นที่ 4 ใน 5 ของประเทศเป็นภูเขา บางแห่งเป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆ ที่ไม่ต่อเนื่องกัน  ภูมิอากาศ แบบร้อนชื้น (tropical) โดยเฉพาะบริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล อุณหภูมิจะเย็นขึ้นในบริเวณที่เป็นภูเขา อุณหภูมิเฉลี่ย ตลอดปีประมาณ 27 องศาเซลเซียส และปริมาณฝนเฉลี่ยต่อปีประมาณ 1,980 มิลลิเมตร  ทรัพยากรธรรมชาติ บอกไซต์ ยิบซัมและหินปูน  เมืองหลวง กรุงคิงสตัน (Kingston)  ประชากร (2551) 2.7 ล้านคน  ภาษา ภาษาอังกฤษ (ภาษาราชการ) และภาษาปาโตอีส (Patois)  ศาสนา ศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ (62.5%) นิกายโรมันคาทอลิค (2.6%) ศาสนาอื่นๆ (14.2%)
  • 48. ข้อมูลทั่วไป(ต่อ)  เชื้อชาติ เชื้อสายแอฟริกัน (91.2%) เชื้อสายผสม (6.2%)และอื่นๆ (2.6%)  อัตราการรู้หนังสือ ร้อยละ 87.9  หน่วยเงินตรา ดอลลาร์จาเมกา (Jamaican dollar – J$) 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 85.68 ดอลลาร์จาเมกา วันประกาศ เอกราช 6 สิงหาคม ค.ศ. 1962 จากสหราชอาณาจักร  วันชาติ (Independence Day) 6 สิงหาคม  วันสถาปนารัฐธรรมนูญ 6 สิงหาคม 1962  เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่าไทย 12 ชั่วโมง (-5 GMT)
  • 49. การเมืองการปกครอง ในอดีต จาเมกาเป็นที่อยู่ของชาวพื้นเมืองเผ่า Arawaks ซึ่งอพยพมาจากดินแดนตอนในของทวีปอเมริกาใต้ ต่อมา โคลัมบัสและคณะได้เดินทางมาถึงในปี 2037 (ค.ศ. 1494) และยึดครองเป็นอาณานิคมของสเปน ประมาณปี 2053 (ค.ศ. 1510) เริ่มมีการนาทาสผิวดาจากทวีปแอฟริกาเข้ามาเป็นแรงงานแทนชาวพื้นเมืองเดิมซึ่งลดจานวนลง ในปี 2198 (ค.ศ. 1655) กองทัพ อังกฤษได้บุกเข้ายึดเกาะจาเมกา และปรับปรุงเป็นแหล่งผลิตน้าตาลและแหล่งค้าทาสที่สาคัญในทวีปอเมริกา ในทศวรรษที่ 1930 หรือประมาณปี 2473 เป็นต้นมา รัฐสภาอังกฤษเริ่มให้สิทธิปกครองตนเองบางส่วนแก่รัฐบาลพื้นเมือง และในปี 2501 (ค.ศ. 1958) จาเมกาก็ได้เข้าเป็นสมาชิก West Indian Federation ซึ่งประเทศอาณานิคมอังกฤษในแคริบเบียนได้ถอน ตัวในปี 2504 (ค.ศ. 1961) และได้รับเอกราชโดยสมบูรณ์ในปี 2505 (ค.ศ. 1962)
  • 50. การเมืองการปกครอง(ต่อ)  รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และเป็นประเทศในเครือจักรภพ โดยมีสมเด็จ พระราชินี Elizabeth II ทรงใช้พระราชอานาจโดยผ่านทางผู้สาเร็จราชการ (Governor-General) ซึ่งคนปัจจุบัน คือ Sir Patrick Linton Allen ที่ได้รับการแต่งตั้งตามการถวายคาแนะนาโดยนายรัฐมนตรี และมีนาย Bruce Golding เป็น นายกรัฐมนตรี ดารงตาแหน่งตั้งแต่วันที่ 11 กันยายน 2550  คณะรัฐมนตรีได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งโดยผู้สาเร็จราชการ ซึ่งตามรัฐธรรมนูญจะต้องมีจานวนไม่ น้อยกว่า 11 คน  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นาย Kenneth Baugh  เขตการปกครอง แบ่งออกเป็น14 เขต ได้แก่ Kingston & St. Andrew, St. Thomas, Portland, St. Mary, St. Ann, Trelawny, St. James, Hanover, Westmoreland, St. Elizabeth, Manchester, Clarendon, Portmore Municipality และ St. Catherine
  • 51. เศรษฐกิจการค้า อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (2551) ร้อยละ -1.2 อัตราเงินเฟ้อ (2551) ร้อยละ 22.0 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) (2551) 13.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โครงสร้างของ GDP (2552) ภาคบริการ ร้อยละ 64.7 ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 5.7 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 29.7 อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว แร่บอกไซต์ สิ่งทอ การแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมเบา เหล้ารัม ซีเมนต์ โลหะ กระดาษ และเคมีภัณฑ์ เกษตรกรรม อ้อย กล้วย กาแฟ พืชจาพวกส้ม ผัก สัตว์ปีก แพะ และนม หนี้ต่างประเทศ (2551) 8,405 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ อัตราการว่างงาน (2551) ประมาณร้อยละ 11.0
  • 53. ปัจจัยมหาภาค  ชื่ออย่างเป็นทางการ สหรัฐเม็กซิโก (เม็กซิโก) หรือ United Mexican States (Mexico)  ที่ตั้ง ตั้งอยู่ทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ทิศเหนือติดกับสหรัฐฯ ทิศใต้ติดกับกัวเตมาลา และเบลิซ ทิศตะวันออก ติดกับอ่าวเม็กซิโกและทะเล แคริบเบียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกและอ่าวแคลิฟอร์เนีย ระหว่างละติจูดที่ 23 00 องศาเหนือ 102 00 องศาตะวันตก  พื้นที่ 761,600 ตารางไมล์ (1,972,500 ตารางกิโลเมตร) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกากลางใหญ่เป็น อันดับ 3 ในลาตินอเมริกา และใหญ่เป็นอันดับที่ 14 ของโลก
  • 54. ปัจจัยมหาภาค  อาณาเขต พรมแดนยาว 4,353 กิโลเมตร ติดกับประเทศเบลิซ (250 กิโลเมตร) กัวเตมาลา (962 กิโลเมตร) สหรัฐอเมริกา (3, 141 กิโลเมตร)  สภาพภูมิประเทศ ภูเขาสูงที่มีลักษณะขรุขระ ที่ราบต่าตามชายฝั่ง ที่ราบสูง ทะเลทราย  สภาพภูมิอากาศ ภาคใต้และบริเวณที่ราบต่าติดชายฝั่ง ทะเล มีอากาศร้อนชื้นแบบศูนย์สูตรอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 18 องศาเซลเซียส (64 ฟาเรนไฮท์) สาหรับภาคเหนือ และภาคตะวันออกจะมีภูมิอากาศแบบทะเลทราย  ภัยธรรมชาติ สึนามิทางชายฝั่งแปซิฟิก ทางตอนกลางและตอนใต้ประสบภัยจากภูเขาไฟและแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง ทางฝั่งแปซิฟิก อ่าวเม็กซิโก และชายฝั่งทะเลคาลิเบียนประสบภัยจากพายุเฮอร์ริเคน  จานวนประชากร 123,166,749 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2559)
  • 55. ปัจจัยมหาภาค  อัตราการเติบโตของประชากร 1.15% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  สัญชาติ เม็กซิกัน (Mexican (s))  เชื้อชาติ เมสติโซ (ผิวขาวผสมอินเดียน) , อเมริกันอินเดียน , อื่นๆ  ศาสนา โรมันคาทอลิก 82.7%, Pentecostal 1.6%, Jehovah's Witnesses 1.4%, Evangelical Churches 5% ไม่นับถือศาสนาใด 4.7%, อื่นๆ 1.9% ที่ระบุไม่ได้ 2.7% (พ.ศ. 2553)  ภาษา สเปน, ภาษาถิ่นต่างๆ ได้แก่ ภาษา Mayan, Nahuatl และภาษาถิ่นประจาภูมิภาค
  • 56. ประวัติศาสตร์ของประเทศโดยย่อ  บริเวณที่ตั้งของเม็กซิโกในปัจจุบันนั้น ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ระบุได้ว่า ทาเกษตรกรรม มาก ว่า 7,000 ปีก่อนคริสตกาล ความเจริญทางวิชาการ ระบบการวางผังเมือง และสาธารณูปโภค แสดงให้ เห็นถึงการก่อร่างระบบสังคมที่มีความซับซ้อนและมีการจัดการที่ดี อาทิ การตั้งชุมชนของชนเผ่ามายา  ความรุ่งเรืองทั้งด้านวิทยาการและมีทรัพยากร ประเภททองคา เงิน และแร่ธาตุจานวนมาก ด้วยสาเหตุนี้ ทาให้สเปนเข้ามายึดครองเป็นอาณานิคมเมื่อปี ค.ศ. 1521 ทว่า สเปนได้ปกครองเม็กซิโกด้วยความรุนแรง จนกระทั่งชาวเม็กซิโกได้ปฏิวัติประกาศอิสรภาพจากสเปนสาเร็จเมื่อปี ค.ศ. 1810 ภายหลังการปฏิวัติ การเมืองเม็กซิโกค่อนข้างไม่มั่นคง เนื่องจากถูกปกครองในแนวทางเผด็จการประชาชนยากจนและขาด สวัสดิการ จนกระทั่งมีการปฏิวัติยกร่างรัฐ ธรรมนูญใหม่เมื่อปี ค.ศ. 1917 ซึ่งมีส่วนในการพัฒนาระบบ การเมืองและสังคม อันเป็นผลต่อการยก
  • 57. การเมืองการปกครอง  รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น  เมืองหลวง กรุงเม็กซิโก (Mexico)  การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งเป็น 31 รัฐ และ 1 เขตนครหลวง  ระบบกฎหมาย ผสมผสานกันระหว่างแนวคิดกฎหมายรัฐธรรมนูญของสหรัฐและระบบประมวลกฎหมาย (กฎหมายลายลักษณ์อักษร) มีการ ตรวจสอบความเห็นชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย ยอมรับเขตอานาจโดยบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศแต่มีข้อสงวนสิทธิ์  รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีรัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่น แบ่งเป็น 31 รัฐ และ 1 เขตนครหลวง (Federal District) ประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศและประมุขฝ่ายบริหารไม่มีรองประธานาธิบดี ประธานาธิบดีมีอานาจแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี
  • 58. ข้อมูลเศษฐกิจการค้า  ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP) 2.307 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  GDP รายบุคคล 18,900 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  อัตราการเจริญเติบโต GDP 2.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  นโยบายเศรษฐกิจหลัก ส่งเสริมการค้าเสรี จัดตั้งเขตการค้าเสรีทวิภาคี ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ แปรรูป รัฐวิสาหกิจ เสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และควบคุมอัตราเงินเฟ้อ (Inflation target)
  • 59. ข้อมูลจุลภาค  ปัญหาประเด็นที่มีความสาคัญต่อคนในประเทศ • การค้ายาและการก่อการร้ายภายในประเทศ • ธุรกิจการส่งผู้อพยพผิดกฎหมายเข้าในประเทศสหรัฐ •ประเทศเม็กซิโกเป็นประเทศที่ได้ชื่อว่ามีอัตราการก่ออาชญากรรม ค่อนข้างสูงโดยเฉพาะการลักพาตัว • กาแพงพรมแดนกั้นเม็กซิกันเข้ามาแย่งงาน
  • 60. สภาพการแข่ง  เนื่องจากประชากรภายในประเทศเม็กซิโกมีจานวนมาก ทาให้เกิดการแข่งขันทางด้านเสื้อผ้า และรวมถึง ด้านอาหาร โดยนามาจากการลงทุนของแบรนด์ต่างๆที่เข้ามาลงทุนในประเทศเม็กซิโก เช่น อเมซอนที่ ขยายสาขารวมถึงเพิ่มบริการส่งให้แก่ลูกค้าภายในประเทศเม็กซิโก เสื้อผ้ารองเท้าต่างๆ ที่ออกรุ่นเป็นชื่อ เม็กซิโกโดยเฉพาะ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสภาพการแข่งขันทางด้าน เครื่องแต่งกายรวมถึงอาหาร ภายในประเทศเม็กซิโก  รวมถึงเม็กซิโกเป็นประเทศ อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก ก่อสร้าง รวมถึงรถยนต์ทาให้มีแบรนด์ ประเภทดังกล่าวในประเทศเม็กซิโกมากมาย
  • 62. ตัวอย่างการสื่อสารแบรนด์ที่ประสบความสาเร็จ  Amazon ร้านค้าออนไลน์ยักษ์ใหญ่ได้ขยายธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบเข้าไปยังลาตินอเมริกาเป็นครั้งแรก แล้ว ซึ่งประเดิมในประเทศเม็กซิโกเป็นประเทศแรกโดยการเปิดหน้าเว็บ Amazon.com.mx ทาง Amazon กล่าวว่านี่เป็นครั้งแรกที่ Amazon จะมีสินค้าขายมากกว่าร้านค้าของตนในประเทศอื่นๆ นอกสหรัฐอเมริกา  รายได้สองในสามของ Amazon มาจากทวีปอเมริกาเหนือ โดยปีที่แล้วมีรายได้เพิ่มขึ้น 25% มาเป็น 55,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งบริษัทวิจัยการตลาด EMarketer Inc. คาดการณ์ไว้ว่าธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ในเม็กซิโกจะเติบโต 30% ขึ้นไปแตะระดับ 6,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปีนี้  "การมาถึงของ Amazon.com.mx เป็นการขยายออกมาตลาดนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่ Amazon เคยทามา" Juan Carlos García ผู้จัดการของ Amazon Mexico กล่าว
  • 65. ข้อมูลทั่วไป  ชื่อทางการ สาธารณรัฐปานามา (Republic of Panama)  พรมแดน มีอาณาเขตจรดประเทศคอสตาริกาทางทิศตะวันตก และจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก  ภูมิประเทศ พื้นที่ทางทิศเหนือและใต้เป็นชายฝั่งทะเล โดยทิศเหนือติดมหาสมุทรแปซิฟิก และทิศใต้ติดทะเลแคริบเบียน  ภูมิอากาศ อยู่ในเขตร้อน และได้รับอิทธิพลจากลมทะเล  ภาษาทางการ ภาษาสเปน  ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี  เมืองหลวง กรุงปานามา (Panama City)  เมืองสาคัญอื่นๆ Balboa, Boquete, Boca Chica, Colón, Cristobal, David, Gamboa, Portobelo  พื้นที่ 75,517 ตารางกิโลเมตร  สกุลเงิน บัลโบอา (PAB) โดยมีค่าเท่ากับเงินดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันรัฐบาลปานามาผลิตเพียงแต่เหรียญกษาปณ์สกุล Balboa เท่านั้น การ ซื้อขายโดยทั่วไปใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ  ประชากร ประมาณ 3.5 ล้านคน
  • 66. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ  (GDP) 93.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  GDP รายบุคคล 22,800 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  อัตราการเจริญเติบโต GDP  5.2% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  GDP แยกตามภาคการผลิต • ภาคการเกษตร 2.7% • ภาคอุตสาหกรรม 14.3% • ภาคการบริการ 83% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  อัตราการว่างงาน 4.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  ผลผลิตทางการเกษตร กล้วย ข้าว ข้าวโพด กาแฟ อ้อย ผัก ปศุสัตว์ กุ้งฝอย  อุตสาหกรรม ก่อสร้าง เหล้าเบียร์ ซีเมนต์และวัสดุก่อสร้างอื่นๆ น้าตาล  อัตราการเติบโตภาคอุตสาหกรรม 4.8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
  • 67.  มูลค่าการส่งออก 15.19 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  สินค้าส่งออก ผลไม้ ถั่ว ปลา เหล็กและเศษเหล็ก ไม้  ประเทศคู่ค้า (ส่งออก) ที่สาคัญ US 19.7%, Germany 13.2%, Costa Rica 7.7%, China 5.9%, Netherlands 4.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)  มูลค่าการนาเข้า 22.08 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  สินค้านาเข้า เชื้อเพลิง เครื่องจักร ยานพาหนะ เหล็กและเหล็กแท่ง เวชภัณฑ์  ประเทศคู่ค้า (นาเข้า)ที่สาคัญ US 25.9%, China 9.6%, Mexico 5.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2558)
  • 68. การพัฒนา 4.0  ปานามามีรายได้จากกิจการของคลองปานามาประมาน 1,000-1,200 ล้านดอลด้าสหรัฐ/1ปี ซึ่งเป็น รายได้ที่สูงที่สุดของรัฐปานามาในรอบ 10-15 ปี  ล่าสุดประเทศปานามาได้ทาการขยายคลองไห้ใหญ่ขึ้นกว้างขึ้น เพื่อรองรับการเดินทางของเรือขนาด ใหญ่และขุดคลองคู่ขนาน เพื่อทาการค้ากับประเทศต่างๆ
  • 70. ข้อมูลทั่วไป  พื้นที่ มีเนื้อที่ประมาณ 9,631,418 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากรัสเซียและแคนาดา  สภาพภูมิประเทศ มีที่ราบกว้างใหญ่ทางตอนกลางของ ประเทศ มีภูเขาอยู่ทางทิศตะวันตก เนินเขาและภูเขาเตี้ยๆ ทางทิศตะวันออก ในรัฐฮาวายมี ลักษณะเป็นภูเขาไฟขรุขระ  สภาพภูมิอากาศ อากาศหนาว เว้นแต่ในมลรัฐฮาวาย และมลรัฐฟลอริดา หนาวเย็นมากที่บริเวณขั้วโลกเหนือในมลรัฐอะแลสกา บริเวณที่ราบด้าน ตะวันตกของแม่น้ามิสซิสซิปปี (Mississippi) จะค่อนข้างแห้งแล้ง และมีความแห้งแล้งมากบริเวณที่ลุ่มภาคตะวันตกเฉียงใต้  ภัยธรรมชาติ สึนามิ, ภูเขาไฟ, และแผ่นดินไหวบริเวณแอ่งแปซิฟิก (Pacific Basin) ภัยจากพายุเฮอร์ริเคนบริเวณชายฝั่งแอทแลนติกและบริ เวณอ่าวเม็กซิโก พายุทอร์นาโดทางภาคตะวันตกกลางตอน กลางทางตะวันออกเฉียงใต้ โคลนถล่มในรัฐแคลิฟอร์เนีย ไฟไหม้ป่าทางทิศตะวันตก  จานวนประชากร 323,995,528 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2559)  อัตราการเติบโตของประชากร 0.81% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)  สัญชาติ อเมริกัน American (s) และใช้ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษา ราชการ  เชื้อชาติ ชนผิวขาว ชนผิวดา เอเชีย ชนพื้นเมืองอะลาสกาและ Amerindian ชาวพื้นเมืองฮาวายและชาวเกาะในหมู่เกาะแปซิฟิกอื่นๆ
  • 71. ศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสเตนา นท์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนา คริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคาสอนของคริสตจักร โรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นใน ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนา ฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายโรมัน คาทอลิก นิกายมอร์มอน ศาสนา พุทธ ศาสนาอิสลาม
  • 72. การเมืองการปกครอง รูปแบบการปกครอง สหพันธรัฐ แบบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและเป็นหัวหน้ารัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญ เมืองหลวง กรุงวอชิงตัน (Washington,D.C.) การแบ่งเขตการปกครอง ประกอบด้วย 50 มลรัฐและ 1 District (District of Columbia ซึ่งเป็นที่ตั้งของ กรุงวอชิงตัน) วันที่ได้รับเอกราช 4 กรกฎาคม 1776 (พ.ศ. 2319) จากสหราชอาณาจักร รัฐธรรมนูญ 17 กันยายน 1787 (พ.ศ. 2330), มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 1789 (พ.ศ. 2332)
  • 73. การเมืองการปกครอง(ต่อ)  ระบบกฎหมาย อยู่บนรากฐานของกฎหมายจารีตประเพณี ของอังกฤษ แต่ละรัฐมีกฎหมายของตนเอง ยกเว้นรัฐห ลุยเซียร์นา ซึ่งยังคงได้รับอิทธิพลจากกฎหมายเป็นฉบับเขียนตายตัว (Napoleonic Code)  โครงสร้างทางการเมือง สหรัฐฯ มีพรรคการเมืองใหญ่ 2 พรรค คือ พรรครีพับลิกัน (Republican) และพรรคเดโมเเครต (Democrat) การปกครองแบบ สหพันธรัฐ แบ่งแยกอานาจออกเป็น 3 ฝ่าย ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ แต่ละฝ่ายได้รับเลือกใน ลักษณะที่แตกต่างกัน และมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอานาจซึ่งกันและกัน (checks and balances) ดังนี้  ฝ่ายบริหาร : มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ได้รับเลือกจากการเลือกตั้งทั่วไป ร่วมกับรองประธานาธิบดี  ฝ่ายนิติบัญญัติ : ประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร  ฝ่ายตุลาการ :ประกอบด้วย ศาลชั้นต้น ศาลอุทรณ์ และศาลฎีกา  ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์
  • 74. ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า ระบบเศรษฐกิจ ทุนนิยม (Capitalism) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) 18.56 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) GDP รายบุคคล 57,300 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) อัตราการเจริญเติบโต GDP 1.6% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) GDP แยกตามภาคการผลิต 1.ภาคการเกษตร 1.1% 2.ภาคอุตสาหกรรม 19.4% 3.ภาคการบริการ 79.5% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) อัตราการว่างงาน 4.7% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) อัตราเงินเฟ้อ (Consumer Prices) 1.3% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559)
  • 75. อุตสาหกรรม สหรัฐฯ เป็นผู้นาทางภาคอุตสาหกรรมของโลก มีความหลากหลายสูงและมีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามาก เช่น ปิโตรเลียม เครื่องยนต์เครื่องบิน อุปกรณ์การสื่อสาร เคมีภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ การแปรรูปอาหาร สินค้าอุปโภคบริโภค ป่าไม้ เหมืองแร่ อัตราการเติบโตภาคอุตสาหกรรม 2.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) หนี้สาธารณะ 73.8% ของ GDP (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) ดุลบัญชีเดินสะพัด - 469.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) มูลค่าการส่งออก 1.471 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) มูลค่าการนาเข้า 2.205 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ f.o.b. (ค่าประมาณ พ.ศ. 2559) สกุลเงิน US dollar
  • 76. ปัจจัยจุลภาค สถานที่จัดแสดงงานหรือนิทรรศการ  งานแสดงสินค้า Seafood Expo North America & Seafood Processing North America  ระหว่างวันที่ 6-8 มีนาคม 2559  ณ อาคารแสดงสินค้า Boston Convention & Exhibition Center  เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซส ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 77. ข้อมูลทั่วไปของงาน งานแสดงสินค้า Seafood Expo North America & Seafood Processing North America เป็นงานแสดงสินค้าอาหารทะเลและกระบวนการผลิตและแปรรูป อาหารทะเลที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค อเมริกาเหนือ โดยมีผู้เข้าร่วมแสดงสินค้าทั้งหมด 1,268 รายจากกว่า 40 ประเทศ และสามารถดึงดูดผู้เข้า ชมงานกว่า 20,600 รายจากกว่า 100 ประเทศ งานแสดงหลักประกอบด้วยผู้ประกอบการประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. สินค้าอาหารทะเลทั้งสด แช่แข็ง 2. เครื่องจักร เครื่องแปรรูป อุปกรณ์เครื่องมือ และบรรจุภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสินค้า อาหารทะเล 3. บริการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอาหารทะเล เช่น การประกันคุณภาพสินค้า การจัดการบริหารขนส่ง การให้คาปรึกษา และระบบแช่เย็น
  • 78. ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง (ราคาอ้างอิง)  ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง (ราคาอ้างอิง) ในการจัดซื้อจัดจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง 1.ชื่โครงการ การออกแบบและก่อสร้างคูหาประชาสัมพันธ์ข่าวสารในงานแสดงสินค้า Seafood Expo North อ America 2016 หน่วยงานเจ้าของโครงการ ส านักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครนิวยอร์ก 2.วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร 7,030.60 เหรียญสหรัฐ 3.วันที่กาหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง) 11 กุมภาพันธ์2559 เป็นเงิน 5,000 เหรียญสหรัฐ ราคาต่อหน่วย (ถ้ามี) 4.แหล่งที่มาของราคากลาง (ราคาอ้างอิง) Mr. Sarasin Chatwichitkoon 5.รายชื่อเจ้าหน้าที่ผู้กาหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง) นายนที ชมพูรัตน์
  • 79. Campaign Under Armour "Rule Yourself: Phelps" https://www.youtube.com/watch?v=2DFKjTtyxdg IT'S WHAT YOU DO IN THE DARK THAT PUT YOU IN THE LIGHT
  • 80. Burger King & Peace One Day https://www.youtube.com/watch?v=e01a4-ClcTs เมื่อ Burger King กับ McDonald's ร่วมกันนาเสนอเมนู McWhopper!  เพื่อเป็นการโปรโมท Peace One Day และเพื่อการสร้างความ ตระหนักให้กับคนทั่วโลกถึงความสาคัญของสันติภาพแล้ว เบอร์เกอร์คิง ร่วมกับ WPP's Y&R ภายใต้ความคิดสาหรับองค์กรไม่แสวงหาผล กาไรอย่าง Peace One Day นาเสนอแคมเปญยื่นขอสัญญาสงบ ศึกไปยังแมคโดนัลด์ เพื่อนาเสนอเมนูใหม่ McWhopper สาหรับ วันที่ 21 กันยายน 2015 - ให้เป็นวันแห่งสันติภาพของทั้งสองคู่แข่งอย่าง McDonald's และ Burger King