SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
การสร้างรูปสี่เหลี่ยม
การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เมื่อกําหนดความยาวของด้าน
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก ได้แก่ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและรูปสี่เหลี่ยม
จัตุรัส
ตัวอย่างที่ 1 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD ที่มีด้านยาว 6 เซนติเมตร และด้านกว้าง 2.5 เซนติเมตร
วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก AB ให้ยาว 6 เซนติเมตร
A B
6 ซม.
ขั้นที่ 2 สร้างมุมฉากโดยใช้โพรแทรกเตอร์ที่จุด A และจุด B ลาก AD และ BC ให้ยาว 2.5
เซนติเมตร
ขั้นที่ 3 ลาก CD
จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD ที่มีด้านยาว 6 เซนติเมตร และด้านกว้าง 2.5 เซนติเมตร ตาม
ต้องการ
อาจสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD อีกวิธีหนึ่ง ดังนี้
วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก AB ให้ยาว 6 เซนติเมตร
ขั้นที่ 2 สร้างมุมฉากโดยใช้โพรแทรกเตอร์ที่จุด A และลาก AD ให้ยาว 2.5 เซนติเมตร
A B
6 ซม.
D C
2.5 ซม. 2.5 ซม.
A B
6 ซม.
D C
2.5 ซม. 2.5 ซม.
A B
6 ซม.
A B
6 ซม.
D
2.5 ซม.
2
ขั้นที่ 3 ใช้จุด D เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 6 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้ง และใช้จุด B เป็น
จุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 2.5 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้งตัดส่วนโค้งเดิมที่จุด C
C
ขั้นที่ 4 ลาก DC และ BC
จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD ที่มีด้านยาว 6 เซนติเมตร และด้านกว้าง 2.5 เซนติเมตร ตาม
ต้องการ
การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกําหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม
ตัวอย่างที่ 2 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง ที่มีด้านยาว 5 เซนติเมตร และ 3 เซนติเมตร โดยให้มุมมุม
หนึ่งมีขนาด 50 องศา
วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก กข ให้ยาว 5 เซนติเมตร
ขั้นที่ 2 สร้างมุม 50 องศา ที่จุด ก โดยใช้โพรแทรกเตอร์ และลาก กง ให้ยาว 3 เซนติเมตร
ขั้นที่ 3 สร้างมุม 130 องศา ที่จุด ง และลาก งค ให้ยาว 5 เซนติเมตร
A B
6 ซม.
D
2.5 ซม.
A B
6 ซม.
2.5 ซม. 2.5 ซม.
D
C6 ซม.
ก ข
5 ซม.
ก ข
5 ซม.
50
ง
3 ซม.
ก ข
5 ซม.
3 ซม.
ง
50
130
5 ซม.
ค
งค//กข มี กง เป็นเส้นตัด จะได้ว่า
ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยู่บน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดเป็น 180
ดังนั้น งˆ = 180 – 50 = 130
3
ขั้นที่ 4 ลาก ขค
ก ข
5 ซม.
3 ซม.
ง
50
5 ซม.
ค
3 ซม.
130
จะได้รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง ที่มีด้านยาว 5 เซนติเมตร และ 3 เซนติเมตร โดยมุม
มุมหนึ่งมีขนาด 50 องศา ตามต้องการ
อาจสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง อีกวิธีหนึ่ง ดังนี้
วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก กข ให้ยาว 5 เซนติเมตร
ก ข
5 ซม.
ขั้นที่ 2 สร้างมุม 50 องศา ที่จุด ก โดยใช้โพรแทรกเตอร์ และลาก กง ให้ยาว 3 เซนติเมตร
ก ข
5 ซม.
50
ง
3 ซม.
ขั้นที่ 3 ใช้จุด ง เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 5 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้ง และใช้จุด ข เป็น
จุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 3 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้งตัดส่วนโค้งเดิมที่จุด ค
ก
5 ซม.
50
ง
3 ซม.
ข
ค
ขั้นที่ 4 ลาก งค และ ขค
ก ข
5 ซม.
3 ซม.
ง
50
5 ซม. ค
3 ซม.
130
จะได้รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง ที่มีด้านยาว 5 เซนติเมตร และ 3 เซนติเมตร โดยมุม
มุมหนึ่งมีขนาด 50 องศา ตามต้องการ
4
การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม
การสร้างรูปสี่เหลี่ยมเมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม จะต้องใช้สมบัติของเส้นทแยงมุมตามชนิด
ของรูปสี่เหลี่ยมที่ต้องการสร้าง เช่น
1. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม และขนาดของมุมที่จุดตัดของ
เส้นทแยงมุม ให้ลากส่วนของเส้นตรงสองเส้นแบ่งครึ่งซึ่งกันและกันและตัดกันเป็นมุมเท่ากับขนาดของมุมที่
กําหนดให้
2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม ให้ลากส่วนของเส้นตรงสองเส้น
ตั้งฉากกันและแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน
ตัวอย่างที่ 3 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กขคง ให้เส้นทแยงมุมยาว 6 เซนติเมตร และตัดกันเป็นมุม 40 องศา
วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก กค ให้ยาว 6 เซนติเมตร แล้วแบ่งครึ่ง กค ที่จุด จ โดยใช้โพรแทรกเตอร์ จะได้
3จคกจ  เซนติเมตร
ขั้นที่ 2 สร้างมุม กจง โดยใช้โพรแทรกเตอร์ให้มีขนาด 40 องศา ลาก งข ให้ยาว 6
เซนติเมตร ตัด กค ที่จุด จ โดยให้ งจ และ จข มีความยาวเท่ากัน
ขั้นที่ 3 ลาก กข, ขค, คง และ งก
จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กขคง ที่มีเส้นทแยงมุมยาว 6 เซนติเมตร และตัดกันเป็นมุม 40 องศา
ตามต้องการ
ตัวอย่างที่ 4 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยรลว ให้เส้นทแยงมุมยาว 5 เซนติเมตร
วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก ยล ให้ยาว 5 เซนติเมตร แล้วแบ่งครึ่ง ยล ที่จุด ม โดยใช้โพรแทรกเตอร์ จะได้
2.5มลยม  เซนติเมตร
ค
3 ซม.
จ
3 ซม.
ก
ง ค
3 ซม. 3 ซม.
40
จ 3 ซม.3 ซม.
ก ข
40
จ
ง ค
3 ซม. 3 ซม.
3 ซม.3 ซม.
ก ข
ย ล
2.5 มซม. 2.5 ซม.
5
ขั้นที่ 2 ลาก วร ให้ยาว 5 เซนติเมตร ตัดกับ ยล เป็นมุมฉากที่จุด ม โดยให้ วม และ มร
มีความยาวเท่ากัน
ขั้นที่ 3 ลาก ยร, รล, ลว และ วย
จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยรลว ที่มีเส้นทแยงมุมยาว 5 เซนติเมตร ตามต้องการ
ย ลม2.5 ซม.
ว
2.5 ซม.
2.5 ซม.
2.5 ซม.
ร
ย ลม2.5 ซม.
2.5 ซม.
2.5 ซม.
2.5 ซม.
ว
ร

More Related Content

What's hot

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติsawed kodnara
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1Manas Panjai
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 

What's hot (20)

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 

Viewers also liked

สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงพัน พัน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวeakbordin
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 

Viewers also liked (6)

สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การสร้างรูปเรขาคณิต

  • 1. 1 การสร้างรูปสี่เหลี่ยม การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เมื่อกําหนดความยาวของด้าน รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก ได้แก่ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัส ตัวอย่างที่ 1 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD ที่มีด้านยาว 6 เซนติเมตร และด้านกว้าง 2.5 เซนติเมตร วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก AB ให้ยาว 6 เซนติเมตร A B 6 ซม. ขั้นที่ 2 สร้างมุมฉากโดยใช้โพรแทรกเตอร์ที่จุด A และจุด B ลาก AD และ BC ให้ยาว 2.5 เซนติเมตร ขั้นที่ 3 ลาก CD จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD ที่มีด้านยาว 6 เซนติเมตร และด้านกว้าง 2.5 เซนติเมตร ตาม ต้องการ อาจสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD อีกวิธีหนึ่ง ดังนี้ วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก AB ให้ยาว 6 เซนติเมตร ขั้นที่ 2 สร้างมุมฉากโดยใช้โพรแทรกเตอร์ที่จุด A และลาก AD ให้ยาว 2.5 เซนติเมตร A B 6 ซม. D C 2.5 ซม. 2.5 ซม. A B 6 ซม. D C 2.5 ซม. 2.5 ซม. A B 6 ซม. A B 6 ซม. D 2.5 ซม.
  • 2. 2 ขั้นที่ 3 ใช้จุด D เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 6 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้ง และใช้จุด B เป็น จุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 2.5 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้งตัดส่วนโค้งเดิมที่จุด C C ขั้นที่ 4 ลาก DC และ BC จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD ที่มีด้านยาว 6 เซนติเมตร และด้านกว้าง 2.5 เซนติเมตร ตาม ต้องการ การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกําหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม ตัวอย่างที่ 2 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง ที่มีด้านยาว 5 เซนติเมตร และ 3 เซนติเมตร โดยให้มุมมุม หนึ่งมีขนาด 50 องศา วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก กข ให้ยาว 5 เซนติเมตร ขั้นที่ 2 สร้างมุม 50 องศา ที่จุด ก โดยใช้โพรแทรกเตอร์ และลาก กง ให้ยาว 3 เซนติเมตร ขั้นที่ 3 สร้างมุม 130 องศา ที่จุด ง และลาก งค ให้ยาว 5 เซนติเมตร A B 6 ซม. D 2.5 ซม. A B 6 ซม. 2.5 ซม. 2.5 ซม. D C6 ซม. ก ข 5 ซม. ก ข 5 ซม. 50 ง 3 ซม. ก ข 5 ซม. 3 ซม. ง 50 130 5 ซม. ค งค//กข มี กง เป็นเส้นตัด จะได้ว่า ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยู่บน ข้างเดียวกันของเส้นตัดเป็น 180 ดังนั้น งˆ = 180 – 50 = 130
  • 3. 3 ขั้นที่ 4 ลาก ขค ก ข 5 ซม. 3 ซม. ง 50 5 ซม. ค 3 ซม. 130 จะได้รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง ที่มีด้านยาว 5 เซนติเมตร และ 3 เซนติเมตร โดยมุม มุมหนึ่งมีขนาด 50 องศา ตามต้องการ อาจสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง อีกวิธีหนึ่ง ดังนี้ วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก กข ให้ยาว 5 เซนติเมตร ก ข 5 ซม. ขั้นที่ 2 สร้างมุม 50 องศา ที่จุด ก โดยใช้โพรแทรกเตอร์ และลาก กง ให้ยาว 3 เซนติเมตร ก ข 5 ซม. 50 ง 3 ซม. ขั้นที่ 3 ใช้จุด ง เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 5 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้ง และใช้จุด ข เป็น จุดศูนย์กลาง กางวงเวียน 3 เซนติเมตร เขียนส่วนโค้งตัดส่วนโค้งเดิมที่จุด ค ก 5 ซม. 50 ง 3 ซม. ข ค ขั้นที่ 4 ลาก งค และ ขค ก ข 5 ซม. 3 ซม. ง 50 5 ซม. ค 3 ซม. 130 จะได้รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน กขคง ที่มีด้านยาว 5 เซนติเมตร และ 3 เซนติเมตร โดยมุม มุมหนึ่งมีขนาด 50 องศา ตามต้องการ
  • 4. 4 การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม การสร้างรูปสี่เหลี่ยมเมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม จะต้องใช้สมบัติของเส้นทแยงมุมตามชนิด ของรูปสี่เหลี่ยมที่ต้องการสร้าง เช่น 1. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม และขนาดของมุมที่จุดตัดของ เส้นทแยงมุม ให้ลากส่วนของเส้นตรงสองเส้นแบ่งครึ่งซึ่งกันและกันและตัดกันเป็นมุมเท่ากับขนาดของมุมที่ กําหนดให้ 2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เมื่อกําหนดความยาวของเส้นทแยงมุม ให้ลากส่วนของเส้นตรงสองเส้น ตั้งฉากกันและแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน ตัวอย่างที่ 3 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กขคง ให้เส้นทแยงมุมยาว 6 เซนติเมตร และตัดกันเป็นมุม 40 องศา วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก กค ให้ยาว 6 เซนติเมตร แล้วแบ่งครึ่ง กค ที่จุด จ โดยใช้โพรแทรกเตอร์ จะได้ 3จคกจ  เซนติเมตร ขั้นที่ 2 สร้างมุม กจง โดยใช้โพรแทรกเตอร์ให้มีขนาด 40 องศา ลาก งข ให้ยาว 6 เซนติเมตร ตัด กค ที่จุด จ โดยให้ งจ และ จข มีความยาวเท่ากัน ขั้นที่ 3 ลาก กข, ขค, คง และ งก จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กขคง ที่มีเส้นทแยงมุมยาว 6 เซนติเมตร และตัดกันเป็นมุม 40 องศา ตามต้องการ ตัวอย่างที่ 4 จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยรลว ให้เส้นทแยงมุมยาว 5 เซนติเมตร วิธีสร้าง ขั้นที่ 1 ลาก ยล ให้ยาว 5 เซนติเมตร แล้วแบ่งครึ่ง ยล ที่จุด ม โดยใช้โพรแทรกเตอร์ จะได้ 2.5มลยม  เซนติเมตร ค 3 ซม. จ 3 ซม. ก ง ค 3 ซม. 3 ซม. 40 จ 3 ซม.3 ซม. ก ข 40 จ ง ค 3 ซม. 3 ซม. 3 ซม.3 ซม. ก ข ย ล 2.5 มซม. 2.5 ซม.
  • 5. 5 ขั้นที่ 2 ลาก วร ให้ยาว 5 เซนติเมตร ตัดกับ ยล เป็นมุมฉากที่จุด ม โดยให้ วม และ มร มีความยาวเท่ากัน ขั้นที่ 3 ลาก ยร, รล, ลว และ วย จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยรลว ที่มีเส้นทแยงมุมยาว 5 เซนติเมตร ตามต้องการ ย ลม2.5 ซม. ว 2.5 ซม. 2.5 ซม. 2.5 ซม. ร ย ลม2.5 ซม. 2.5 ซม. 2.5 ซม. 2.5 ซม. ว ร