SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
บทที่ 1
ความเข้าใจในเครื่องปั้นดินเผา
• เครื่องปั้นดินเผาเป็นภาชนะที่เกิดจากการสร้างสรรค์ด้วยฝีมือและสมองของมนุษย์มาตั้งแต่อดีตสืบเนื่องถึงปัจจุบัน จะเห็น
ว่าเราใช้ภาชนะเครื่องปั้นดินเผากันในทุกครัวเรือน ด้วยคุณสมบัติในด้านความคงทน แม้จะผ่านกาลเวลาอย่างยาวนาน มนุษย์
ได้เรียนรู้การผลิตเครื่องปั้นดินเผาให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิต มีการดัดแปลง ปรับปรุง และพัฒนาขั้นตอนกระบวนการผลิต
เครื่องปั้นดินเผาให้เหมาะสมตามสภาพท้องถิ่นอาศัย และในแต่ละยุคสมัยก็มีความแตกต่างกันทั้งด้านการออกแบบ กรรมวิธี
การผลิต การขึ้นรูปและการนาไปใช้ประโยชน์ ดังนั้น เพื่อสร้างพื้นฐานความเข้าใจอันดีในเนื้อหาการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน
เบื้องต้นซึ่งเป็นวิธีการสร้างสรรค์รูปทรงของเครื่องปั้นดินเผาวิธีการหนึ่งที่สาคัญ ในบทนี้ จะนาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ
ความหมาย ความเป็นมาเครื่องปั้นดินเผาไทย ความสาคัญ การผลิตเครื่องปั้นดินเผา เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้นาสู่เนื้อหา การขึ้น
รูปด้วยแป้นหมุนเบื้องต้น
ความเข้าใจในเครื่องปั้นดินเผา
ความหมายและความเป็นมาของเครื่องปั้นดินเผา
• 1. ความหมาย
เครื่องปั้นดินเผา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า เซรามิกส์ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า เครามอส ถูกนามาเป็นภาชนะชุด
แรกของมนุษย์โดยการขึ้นรูปด้วยดินเหนียวเป็นรูปทรงภาชนะต่างๆ แล้วนาไปตากให้แห้งจากนั้นนาไปเผาไฟทาให้
เนื้อวัสดุหลังเผาคงทนถาวรคงรูปอยู่ได้ดังนั้นเครื่องปั้นดินเผาหมายถึง การนาเอาอนินทรีย์สาร ได้แก่ แร่ ดิน หิน มา
ผ่านกรรมวิธีการผลิตขึ้นรูปจนได้ผลิตภัณฑ์ จากนั้นนาไปผ่านความร้อนโดยการเผา เพื่อให้เกิดความแข็งแกร่งอย่าง
ถาวร จะมีการเคลือบหรือไม่เคลือบก็ได้สามารถทนต่อการขีดข่วน ความร้อน และการกัดกร่อนของสารเคมีและไม่
เป็นสนิม
ความหมายและความเป็นมาของเครื่องปั้นดินเผา
• 2. เครื่องปั้นดินเผาไทย
ภาชนะดินเผาไทยได้มีบทบาทในการดารงชีวิตของมนุษย์ในสังคม วัฒนธรรมไทย เครื่องปั้นดินเผาได้มีการพัฒนาแต่ละ
วัฒนธรรมท้องถิ่นไทย โดยสาเหตุของการพัฒนามาจากการค้าขายจากถิ่นหนึ่งไปยังอีกถิ่นหนึ่งรวมถึงการสงคราม การเผยแพร่
รูปแบบต่างๆ การพัฒนาของเครื่องปั้นดินเผาที่เห็นได้เด่นชัด ได้แก่ การพัฒนาของการเผาโดยการสร้างเตาเผาที่ละเอียดซับซ้อน
ขึ้น การค้นพบดินทนไฟสูง ความรู้ในเทคนิคการเผา การใช้แป้นหมุนและการพัฒนาแป้นหมุน อย่างไรก็ตาม บางวัฒนธรรมของ
ไทยก็แทบจะไม่มีการพัฒนาเทคนิคการทาเครื่องปั้นดินไปมากกว่าการขึ้นรูปด้วยมือ ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงเครื่องปั้นดินเผาของ
ไทยในแต่ละท้องถิ่นว่ามีลักษณะของเครื่องปั้นดินเผา ดังนี้
เครื่องปั้นดินเผาก่อนประวัติศาสตร์
• เครื่องปั้นดินเผาของประเทศไทยได้มีการผลิตเครื่องปั้นดินเผามาอย่างต่อเนื่องหลายพันปี ในสมัยเริ่มแรกเครื่องปั้นดินเผามีลักษณะเป็น
เครื่องปั้นดินเผาไม่เคลือบเผาไฟต่า ขึ้นรูปด้วยมือ ตกแต่งลวดลายอย่างง่ายๆโดยมีประโยชน์ต่อการใช้สอยในครัวเรือน และพิธีกรรม
ความเชื่อ เครื่องปั้นดินเผาก่อนประวัติศาสตร์ได้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตัวอย่างเช่นเครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียง ที่มีเอกลักษณ์และ
เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายเครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียงตั้งอยู่ใน ตาบลบ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี มีลักษณะเครื่องปั้นดินเผา
ใช้เนื้อดินปั้นที่มีส่วนผสมของทราย ข้าว แกลบ และฟาง การขึ้นรูปด้วยมือโดยใช้ไม้ตีผิวให้ได้รูปและทาให้ผิวเนียน ขูดขีดลวดลาย ทาบ
ด้วยเชือกหรือเขียนลายด้วยสีแดง เผาโดยการสุมไฟกลางแจ้งไม่เคลือบ และอึกหนึ่งตังอย่างดัแก่เครื่องปั้นดินเผาบ้านปราสาท โดยบ้าน
ปราสาทตั้งอยู่ตาบลปราสาท อาเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ลักษณะเครื่องปั้นดินเผาเป็นไหปากแตรเผาไฟต่า มีสีแดงและดามีทั้ง
ชนิดที่ตกแต่งและไม่ตกแต่งลวดลายโดยการตกแต่งอาจจะเป็นลายเชือกทาบผิวด้านนอกและด้านในเคลือบด้วยน้าดินสีแดงส่วนรูปทรง
ที่พบเป็นจานหรือคนโท ปากแตร คอแคบสูง ปากกว้างบาน ลาตัวกลมแป้น
เครื่องปั้นดินเผาในประวัติศาสตร์
• การทาเครื่องปั้นดินเผาของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประเทศใกล้เคียงได้
อพยพย้ายถิ่นเข้ามาประเทศไทย และจีนก็เป็นชนชาติหนึ่งที่ได้อพยพเข้ามาพร้อมกับความเชียวชาญในการทา
เครื่องปั้นดินเผา ได้นาเทคนิคการทาเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแกร่งและมีการเคลือบ ซึ่งทาให้เครื่องปั้นดินเผาของไทย
ได้เกิดการพัฒนาอย่างมาก ในที่นี้จะขอกล่าวถึงพัฒนาการของเครื่องปั้นดินเผาไทยที่สาคัญๆ ดังต่อไปนี้
• 2.2.1 เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์
เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์หรือที่เรียกว่าเครื่องถ้วยเขมรหรือเครื่องถ้วยลพบุรี เป็นเครื่องถ้วยที่ขุดพบในบริเวณจังหวัด
บุรีรัมย์พบแหล่งเตาเผา เขตท้องที่อาเภอละหานทราย และอาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์หลายร้อยแหล่ง ซึ่งเรียกกันว่าเครื่องเคลือบ
ดินเผาลพบุรี หรือเครื่องเคลือบดินเผาเตาบ้านกรวด โดยเครื่องเคลือบดินเผาบ้านกรวดที่โดดเด่นได้แก่ กลุ่มภาชนะดินเผาแบบเคลือบสี
เขียว สีน้าตาล สีดา ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ไหเท้าช้าง คนโฑ ถ้วย ชาม กระปุก ตุ๊กตา เป็นต้น (ภรดี พันธุภากร 2550 : 37)
เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์มีลักษณะเด่นคือ หนาและหนัก เนื้อแกร่ง นิยมตกแต่งด้วยการ ขูดขีดเป็นลวดลายต่างๆ และปั้นเป็นรูปสัตว์
นิยมเคลือบด้วยสีน้าตาล
• 2.2.2 เครื่องปั้นดินเผาสุโขทัย
เครื่องปั้นดินเผาสุโขทัยบางครั้งเรียกว่าสังคโลก มีแหล่งเตาเผาที่พบแล้ว 2 แห่ง ได้แก่ แหล่งเตาเผาที่อาเภอเมืองสุโขทัย
ตั้งอยู่อยู่บริเวณใกล้ลาน้าโจน ผลิตเครื่องถ้วยชนิดที่มีการเขียนลายสีดาใต้เคลือบ และประเภทเคลือบสีขาว ลักษณะเฉพาะของ
ผลิตภัณฑ์ คือ มีเนื้อดินที่หยาบ สีเทาดา บางครั้ง ออกสีน้าตาล และ แหล่งเตาเผาที่อาเภอศรีสัชนาลัย ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ายม นอกเมือง
ศรีสัชนาลัย
• เครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งนี้ มีทั้ง ชนิดเคลือบและไม่เคลือบ ชนิดที่เคลือบยังแยกได้เป็น เคลือบสีขาว เคลือบสีน้าตาล เคลือบสีเขียว เคลือบสองสี
และเขียนลายสีตาใต้เคลือบเครื่องเคลือบดินเผาสุโขทัยนั้น มีทั้งในส่วนที่เป็นภาชนะเพื่อการใช้สอยในครัวเรือน เครื่องเคลือบดินเผาที่ใช้ในพิธีกรรม
และของเล่น รวมทั้งเครื่องเคลือบดินเผาที่ใช้ประดับตกแต่งสถาปัตยกรรม
• 2.2.3 เครื่องปั้นดินเผาล้านนา
• อาณาจักรล้านนาได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา ลาพูน และลาปาง รวมทั้ง ดินแดนบางส่วนใน พม่า จีน ลาว สาหรับแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่
สาคัญ ได้แก่ แหล่งเตาสันกาแพงลักษณะโดยทั่วไปมักมีเนื้อดินหยาบ และหนัก มีทั้งประเภทเคลือบสีน้าตาลหรือ เขียนลายสีดาใต้เคลือบ ลวดลายที่
นิยม คือ ลายปลาคู่ (แบบหยิน-หยาง)และลายพันธุ์พฤกษา
• แหล่งเตาเวียงกาหลงลักษณะเด่นคือมีน้าหนักเบา เนื้อดินละเอียด ลวดลายตกแต่งที่เป็นเอกลักษณ์ของของเครื่องถ้วยเวียงกาหลง คือลายกลีบดอกไม้
หรือใบไม้ที่เรียกกันว่า "ลายกา" โดยมักจะเขียนลายใต้เคลือบใส แหล่งผลิตของเครื่องปั้นดินเผาชนิดนี้ อยู่ที่บริเวณ ตาบลหัวฝาย อาเภอเวียงป่าเป้า
จังหวัด เชียงราย และแหล่งผลิตที่อาเภอพาน โดยแหล่งผลิตอยู่ที่บ้านโป่งแดง จังหวัดเชียงราย มีเนื้อดินละเอียด สีเทา ตกแต่งด้วยการขูดขีด ตัวภาชนะ
เป็นลายดอกไม้และลายเรขาคณิต
• จากที่กล่าวมาเครื่องปั้นดินเผาไทยแบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือเครื่องปั้นดินเผาก่อนประวัติศาสตร์ซึ่งได้แก่ เครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียงและ
เครื่องปั้นดินเผาบ้านปราสาท และเครื่องปั้นดินเผาในประวัติศาสตร์ได้แก่ เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์เครื่องปั้นดินเผาสุโขทัย เครื่องปั้นดินเผาล้านนา

More Related Content

Viewers also liked

неделя психологии
неделя психологиинеделя психологии
неделя психологииAnastasia Simonova
 
Proyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNG
Proyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNGProyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNG
Proyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNGtutor03770
 
Pres intro littérature 16
Pres intro littérature 16Pres intro littérature 16
Pres intro littérature 16Philippe Campet
 
тиждень права
тиждень праватиждень права
тиждень праваpuchckov
 
Отчет "День матери"
Отчет "День матери"Отчет "День матери"
Отчет "День матери"Anastasia Simonova
 
AS Media Studies Evaluation - Q1
AS Media Studies Evaluation - Q1AS Media Studies Evaluation - Q1
AS Media Studies Evaluation - Q1Zuzanna Majewska
 

Viewers also liked (6)

неделя психологии
неделя психологиинеделя психологии
неделя психологии
 
Proyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNG
Proyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNGProyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNG
Proyecto Mejora Servicios No lucrativa_PNG
 
Pres intro littérature 16
Pres intro littérature 16Pres intro littérature 16
Pres intro littérature 16
 
тиждень права
тиждень праватиждень права
тиждень права
 
Отчет "День матери"
Отчет "День матери"Отчет "День матери"
Отчет "День матери"
 
AS Media Studies Evaluation - Q1
AS Media Studies Evaluation - Q1AS Media Studies Evaluation - Q1
AS Media Studies Evaluation - Q1
 

More from Smile Suputtra

บทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยบทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยSmile Suputtra
 
บทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยบทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยSmile Suputtra
 
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์Smile Suputtra
 
บทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุนบทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุนSmile Suputtra
 
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์Smile Suputtra
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาSmile Suputtra
 

More from Smile Suputtra (13)

บทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยบทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัย
 
บทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยบทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัย
 
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
 
บทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุนบทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุน
 
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)
 
อ.ชล1
อ.ชล1อ.ชล1
อ.ชล1
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 

ชล2 (1) (3) (2)

  • 2. • เครื่องปั้นดินเผาเป็นภาชนะที่เกิดจากการสร้างสรรค์ด้วยฝีมือและสมองของมนุษย์มาตั้งแต่อดีตสืบเนื่องถึงปัจจุบัน จะเห็น ว่าเราใช้ภาชนะเครื่องปั้นดินเผากันในทุกครัวเรือน ด้วยคุณสมบัติในด้านความคงทน แม้จะผ่านกาลเวลาอย่างยาวนาน มนุษย์ ได้เรียนรู้การผลิตเครื่องปั้นดินเผาให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิต มีการดัดแปลง ปรับปรุง และพัฒนาขั้นตอนกระบวนการผลิต เครื่องปั้นดินเผาให้เหมาะสมตามสภาพท้องถิ่นอาศัย และในแต่ละยุคสมัยก็มีความแตกต่างกันทั้งด้านการออกแบบ กรรมวิธี การผลิต การขึ้นรูปและการนาไปใช้ประโยชน์ ดังนั้น เพื่อสร้างพื้นฐานความเข้าใจอันดีในเนื้อหาการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน เบื้องต้นซึ่งเป็นวิธีการสร้างสรรค์รูปทรงของเครื่องปั้นดินเผาวิธีการหนึ่งที่สาคัญ ในบทนี้ จะนาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมาย ความเป็นมาเครื่องปั้นดินเผาไทย ความสาคัญ การผลิตเครื่องปั้นดินเผา เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้นาสู่เนื้อหา การขึ้น รูปด้วยแป้นหมุนเบื้องต้น ความเข้าใจในเครื่องปั้นดินเผา
  • 3. ความหมายและความเป็นมาของเครื่องปั้นดินเผา • 1. ความหมาย เครื่องปั้นดินเผา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า เซรามิกส์ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า เครามอส ถูกนามาเป็นภาชนะชุด แรกของมนุษย์โดยการขึ้นรูปด้วยดินเหนียวเป็นรูปทรงภาชนะต่างๆ แล้วนาไปตากให้แห้งจากนั้นนาไปเผาไฟทาให้ เนื้อวัสดุหลังเผาคงทนถาวรคงรูปอยู่ได้ดังนั้นเครื่องปั้นดินเผาหมายถึง การนาเอาอนินทรีย์สาร ได้แก่ แร่ ดิน หิน มา ผ่านกรรมวิธีการผลิตขึ้นรูปจนได้ผลิตภัณฑ์ จากนั้นนาไปผ่านความร้อนโดยการเผา เพื่อให้เกิดความแข็งแกร่งอย่าง ถาวร จะมีการเคลือบหรือไม่เคลือบก็ได้สามารถทนต่อการขีดข่วน ความร้อน และการกัดกร่อนของสารเคมีและไม่ เป็นสนิม
  • 4. ความหมายและความเป็นมาของเครื่องปั้นดินเผา • 2. เครื่องปั้นดินเผาไทย ภาชนะดินเผาไทยได้มีบทบาทในการดารงชีวิตของมนุษย์ในสังคม วัฒนธรรมไทย เครื่องปั้นดินเผาได้มีการพัฒนาแต่ละ วัฒนธรรมท้องถิ่นไทย โดยสาเหตุของการพัฒนามาจากการค้าขายจากถิ่นหนึ่งไปยังอีกถิ่นหนึ่งรวมถึงการสงคราม การเผยแพร่ รูปแบบต่างๆ การพัฒนาของเครื่องปั้นดินเผาที่เห็นได้เด่นชัด ได้แก่ การพัฒนาของการเผาโดยการสร้างเตาเผาที่ละเอียดซับซ้อน ขึ้น การค้นพบดินทนไฟสูง ความรู้ในเทคนิคการเผา การใช้แป้นหมุนและการพัฒนาแป้นหมุน อย่างไรก็ตาม บางวัฒนธรรมของ ไทยก็แทบจะไม่มีการพัฒนาเทคนิคการทาเครื่องปั้นดินไปมากกว่าการขึ้นรูปด้วยมือ ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงเครื่องปั้นดินเผาของ ไทยในแต่ละท้องถิ่นว่ามีลักษณะของเครื่องปั้นดินเผา ดังนี้
  • 5. เครื่องปั้นดินเผาก่อนประวัติศาสตร์ • เครื่องปั้นดินเผาของประเทศไทยได้มีการผลิตเครื่องปั้นดินเผามาอย่างต่อเนื่องหลายพันปี ในสมัยเริ่มแรกเครื่องปั้นดินเผามีลักษณะเป็น เครื่องปั้นดินเผาไม่เคลือบเผาไฟต่า ขึ้นรูปด้วยมือ ตกแต่งลวดลายอย่างง่ายๆโดยมีประโยชน์ต่อการใช้สอยในครัวเรือน และพิธีกรรม ความเชื่อ เครื่องปั้นดินเผาก่อนประวัติศาสตร์ได้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตัวอย่างเช่นเครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียง ที่มีเอกลักษณ์และ เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายเครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียงตั้งอยู่ใน ตาบลบ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี มีลักษณะเครื่องปั้นดินเผา ใช้เนื้อดินปั้นที่มีส่วนผสมของทราย ข้าว แกลบ และฟาง การขึ้นรูปด้วยมือโดยใช้ไม้ตีผิวให้ได้รูปและทาให้ผิวเนียน ขูดขีดลวดลาย ทาบ ด้วยเชือกหรือเขียนลายด้วยสีแดง เผาโดยการสุมไฟกลางแจ้งไม่เคลือบ และอึกหนึ่งตังอย่างดัแก่เครื่องปั้นดินเผาบ้านปราสาท โดยบ้าน ปราสาทตั้งอยู่ตาบลปราสาท อาเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ลักษณะเครื่องปั้นดินเผาเป็นไหปากแตรเผาไฟต่า มีสีแดงและดามีทั้ง ชนิดที่ตกแต่งและไม่ตกแต่งลวดลายโดยการตกแต่งอาจจะเป็นลายเชือกทาบผิวด้านนอกและด้านในเคลือบด้วยน้าดินสีแดงส่วนรูปทรง ที่พบเป็นจานหรือคนโท ปากแตร คอแคบสูง ปากกว้างบาน ลาตัวกลมแป้น
  • 6. เครื่องปั้นดินเผาในประวัติศาสตร์ • การทาเครื่องปั้นดินเผาของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประเทศใกล้เคียงได้ อพยพย้ายถิ่นเข้ามาประเทศไทย และจีนก็เป็นชนชาติหนึ่งที่ได้อพยพเข้ามาพร้อมกับความเชียวชาญในการทา เครื่องปั้นดินเผา ได้นาเทคนิคการทาเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแกร่งและมีการเคลือบ ซึ่งทาให้เครื่องปั้นดินเผาของไทย ได้เกิดการพัฒนาอย่างมาก ในที่นี้จะขอกล่าวถึงพัฒนาการของเครื่องปั้นดินเผาไทยที่สาคัญๆ ดังต่อไปนี้
  • 7. • 2.2.1 เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์ เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์หรือที่เรียกว่าเครื่องถ้วยเขมรหรือเครื่องถ้วยลพบุรี เป็นเครื่องถ้วยที่ขุดพบในบริเวณจังหวัด บุรีรัมย์พบแหล่งเตาเผา เขตท้องที่อาเภอละหานทราย และอาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์หลายร้อยแหล่ง ซึ่งเรียกกันว่าเครื่องเคลือบ ดินเผาลพบุรี หรือเครื่องเคลือบดินเผาเตาบ้านกรวด โดยเครื่องเคลือบดินเผาบ้านกรวดที่โดดเด่นได้แก่ กลุ่มภาชนะดินเผาแบบเคลือบสี เขียว สีน้าตาล สีดา ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ไหเท้าช้าง คนโฑ ถ้วย ชาม กระปุก ตุ๊กตา เป็นต้น (ภรดี พันธุภากร 2550 : 37) เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์มีลักษณะเด่นคือ หนาและหนัก เนื้อแกร่ง นิยมตกแต่งด้วยการ ขูดขีดเป็นลวดลายต่างๆ และปั้นเป็นรูปสัตว์ นิยมเคลือบด้วยสีน้าตาล • 2.2.2 เครื่องปั้นดินเผาสุโขทัย เครื่องปั้นดินเผาสุโขทัยบางครั้งเรียกว่าสังคโลก มีแหล่งเตาเผาที่พบแล้ว 2 แห่ง ได้แก่ แหล่งเตาเผาที่อาเภอเมืองสุโขทัย ตั้งอยู่อยู่บริเวณใกล้ลาน้าโจน ผลิตเครื่องถ้วยชนิดที่มีการเขียนลายสีดาใต้เคลือบ และประเภทเคลือบสีขาว ลักษณะเฉพาะของ ผลิตภัณฑ์ คือ มีเนื้อดินที่หยาบ สีเทาดา บางครั้ง ออกสีน้าตาล และ แหล่งเตาเผาที่อาเภอศรีสัชนาลัย ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ายม นอกเมือง ศรีสัชนาลัย
  • 8. • เครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งนี้ มีทั้ง ชนิดเคลือบและไม่เคลือบ ชนิดที่เคลือบยังแยกได้เป็น เคลือบสีขาว เคลือบสีน้าตาล เคลือบสีเขียว เคลือบสองสี และเขียนลายสีตาใต้เคลือบเครื่องเคลือบดินเผาสุโขทัยนั้น มีทั้งในส่วนที่เป็นภาชนะเพื่อการใช้สอยในครัวเรือน เครื่องเคลือบดินเผาที่ใช้ในพิธีกรรม และของเล่น รวมทั้งเครื่องเคลือบดินเผาที่ใช้ประดับตกแต่งสถาปัตยกรรม • 2.2.3 เครื่องปั้นดินเผาล้านนา • อาณาจักรล้านนาได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา ลาพูน และลาปาง รวมทั้ง ดินแดนบางส่วนใน พม่า จีน ลาว สาหรับแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่ สาคัญ ได้แก่ แหล่งเตาสันกาแพงลักษณะโดยทั่วไปมักมีเนื้อดินหยาบ และหนัก มีทั้งประเภทเคลือบสีน้าตาลหรือ เขียนลายสีดาใต้เคลือบ ลวดลายที่ นิยม คือ ลายปลาคู่ (แบบหยิน-หยาง)และลายพันธุ์พฤกษา • แหล่งเตาเวียงกาหลงลักษณะเด่นคือมีน้าหนักเบา เนื้อดินละเอียด ลวดลายตกแต่งที่เป็นเอกลักษณ์ของของเครื่องถ้วยเวียงกาหลง คือลายกลีบดอกไม้ หรือใบไม้ที่เรียกกันว่า "ลายกา" โดยมักจะเขียนลายใต้เคลือบใส แหล่งผลิตของเครื่องปั้นดินเผาชนิดนี้ อยู่ที่บริเวณ ตาบลหัวฝาย อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัด เชียงราย และแหล่งผลิตที่อาเภอพาน โดยแหล่งผลิตอยู่ที่บ้านโป่งแดง จังหวัดเชียงราย มีเนื้อดินละเอียด สีเทา ตกแต่งด้วยการขูดขีด ตัวภาชนะ เป็นลายดอกไม้และลายเรขาคณิต • จากที่กล่าวมาเครื่องปั้นดินเผาไทยแบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือเครื่องปั้นดินเผาก่อนประวัติศาสตร์ซึ่งได้แก่ เครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียงและ เครื่องปั้นดินเผาบ้านปราสาท และเครื่องปั้นดินเผาในประวัติศาสตร์ได้แก่ เครื่องปั้นดินเผาบุรีรัมย์เครื่องปั้นดินเผาสุโขทัย เครื่องปั้นดินเผาล้านนา