SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ใบงานที่ 3
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชื่อ สิรีธร ทรัพย์เกษม
ชั้น ม.6/1 เลขที่ 43
บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบที่มีการนาเอาคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเข้าไว้ด้วยกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
รวมถึงการใช้ทรัพยากรบางอย่างของระบบร่วมกันได้
วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย
1.เพื่อใช้ทรัพยากรต่างๆร่วมกันได้เช่น เครื่องพิมพ์
2.เพื่อใช้ข้อมูลต่างๆร่วมกัน
3.เพื่อความสะดวกในการดูแลระบบ
4.เพื่อการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5.เพื่อช่วยลดต้นทุน
ประเภทของเครือข่าย
1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area
Network: LAN) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ที่ใช้กัน
อยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก มักใช้ในองค์กรเดียวกัน
โดยส่วนใหญ่ ลักษณะของการเชื่ อมต่อ
คอมพิวเตอร์จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ ๆกัน เช่น อยู่ภาย
อาคารเดียวกัน ภายในตึกเดียวกัน เป็นต้น
2.เครือข่ายนครหลวง (Metropolitan Area
Network : MAN) เป็นเครือข่ายขนาดกลาง เป็น
กลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นามาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่
ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณ พื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมือง
เดียวกัน หรือจังหวัดใกล้เคียงกัน เป็นต้น
ข้อจากัดของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการระบบเครือข่าย
ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความชานาญ และมีประสบการณ์สูง จึงต้องใช้
งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมาก อีกทั้งเทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก
จาเป็นต้องมีงบประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ
2.การแบ่งทรัพยากรกันใช้นั้นอาจไม่สามารถใช้ทรัพยากรนั้นๆ ได้ทันทีทันใด เพราะหากมีการเรียกใช้
ทรัพยากรเดียวกันจากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพร้อมกัน เช่น การใช้เครื่องพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์นั้นมีการใช้งานจาก
คอมพิวเตอร์ตัวอื่นอยู่ก่อนหน้าแล้ว งานพิมพ์ของเราก็จะต้องเข้าคิวรอการทางาน
3.ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ด้านต่าง ๆ
ทางานภายใต้สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการพัฒนา ต้องใช้ความรู้ความชานาญสูง ต้องใช้เวลา
ในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้
4.การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความปลอดภัยในด้านการรักษาข้อมูล
อยู่มาก มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาเอาข้อมูลได้จากหลาย ๆที่ หรืออาจมีข้อมูลสูญหายได้ในขณะ
ติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก
5.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า ในระบบเครือข่ายระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียกใช้ข้อมูลในไฟล์
ผ่านระบบเครื่อข่ายนั้นจะมีความเร็วที่ช้ากว่าการเรียกใช้ข้อมูลกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตน ตัวกลางนาที่ใช้ใน
การนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์ หรือโทรทัศน์
โดยเฉพาะข้อมูลที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก
3.เครือข่ายวงกว้าง (Wide Area
Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ
เชื่อมโยงกับเครือข่ายอื่นที่อยู่ไกลกันมาก เช่น
เครือข่ายระหว่างจังหวัด หรือระหว่างภาครวม
ไปถึงเครือข่ายระหว่างประเทศ
องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย
1.คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่อง
2.เน็ตเวิร์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface Card) เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ด
ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
3.สื่อกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กัน
ในเครือข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนาแสง เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์
เครือข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น
4.โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่สามารถสื่อสารกันได้นั้นจาเป็นที่ต้องใช้ “ภาษา” หรือใช้โปรโตคอลเดียวกัน
เช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็นต้น
5.ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System)ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะ
เป็นตัวคอยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
1.เน็ตเวิร์คการ์ด : เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะเรียกว่า “NIC
(Network Interface Card)”หรือบางทีก็เรียกว่า “LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทาการแปลงข้อมูล
เป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณหรือสื่อแบบอื่นได้
2.สายสัญญาณ : ปัจจุบันมีสายสัญญาณที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่3 ประเภท
2.1สายคู่บิดเกลียว(twisted pair) ในแต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื่อ
ต้องการลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้วผ่านไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรือจาก
ภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าหนักเบา ง่ายต่อการ
ติดตั้ง จึงทาให้ถูกใช้งานอย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ
2.2สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันอยู่เป็น
จานวนมากไม่ว่าจะใช้ในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่งข้อมูลระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือ
การส่งข้อมูลสัญญาณวีดีทัศน์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิ
จิทอล และชนิด 75โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโคแอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพื่อป้ องกันการ
รบกวนของคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สาย
แบบนี้มีช่วงความถี่ที่สัญญาณไฟฟ้าสามารถส่งผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราของการ
ส่งสูงขึ้น
ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน
(Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่
บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีก
ชั้นดังรูป เพื่อป้ องกันการรบกวนของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน(Unshielded
Twisted Pair : UTP)เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวน
ชั้นนอกด้วยซึ่งบางทีก็หุ้มอีกชั้นดังรูป ซึ่งทาให้สะดวกในการ
โค้งงอ แต่ก็สามารถป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ได้น้อยกว่าชนิดแรก
2.3เส้นใยนาแสง (fiber optic) เป็นการที่ใช้ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยเป็น
อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ด้วย
ความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI ก็จะใช้ได้ด้วยความเร็วสูงถึง100 เมกะบิต
3.อุปกรณ์เครือข่าย : อุปกรณ์ที่นามาใช้ในเครือข่ายทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ- ส่งข้อมูลในเครือข่าย หรือ
ใช้สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้นหรือใช้สาหรับขยายเครือข่ายให้มี
ขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์
3.1ฮับ (Hub)คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุก
เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์
แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย
3.2สวิตซ์ (Switch) หรือบริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้า
ด้วยกัน โดยจะต้องเป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการ
เชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน
3.3เราท์เตอร์ ( Routing ) : เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกัน
ที่คล้ายกับบริดจ์ แต่ก็มีส่วนการทางานจะซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยง
ข้อมูลระหว่างแต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทาให้เราท์เตอร์สามารถทา
หน้าที่จัดหาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
3.4โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่องอาจก็ต้องมี
ระบบที่เหมือนกัน หรือแตกต่างกัน เช่นในการใช้งานในเครือข่ายจึงต้องเป็นมาตรฐานหรือระเบียบที่ใช้ในการ
ติดต่อให้แต่ละเครื่องมีวิธีการสื่อสารที่เป็นไปตามแนวทางเดียวกันได้ เพื่อให้เป็นการเชื่อมโยงข้อมูล และในการ
ติดต่อสื่อสารของเครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื่องต้องมีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและสามารถทางานร่วมกันได้
เป็นอย่างดี ไม่เกิดความเสียหายนั้นเกิดขึ้น จึงมีการกาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรียกว่า โปรโตคอล ดังนั้นอาจ
กล่าวได้ว่าโปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ในเครือข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม)ให้สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
ซอฟต์แวร์
ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถ
ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความ
ปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางาน
ในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่าง
ยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการWindows NT , Linux , Novell Netware , Windows
XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น
ตัวกลางนาข้อมูล
1.สายเคเบิล
1.1สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล)
-สายเส้นเดี่ยวมีเปลือกเป็นสายโลหะถัก (shield) ป้ องกันคลื่นรบกวน
-มี 2 แบบคือ แบบหนา (thick) และ แบบบาง (thin)
-ใช้ต่อเชื่อมระหว่างแต่ละเครื่องโดยตรง
-ปัจจุบันเริ่มใช้น้อยลงเพราะถูกทดแทนด้วยสายอื่นที่ราคาถูกกว่า
1.2สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair)
-สายขนาดเล็กคล้ายสายโทรศัพท์ มี 8 เส้นตีเกลียวเป็นคู่ๆ
-ไม่มีเปลือกที่เป็นโลหะถัก (shield) หุ้มเหมือนสาย coaxial
-ลักษณะการเดินสายต้องต่อจากเครื่องเข้าหาอุปกรณ์รวมสายหรือ hub
-นิยมแพร่หลาย เพราะราคาถูก ติดตั้งง่าย
1.3สาย STP (Shielded Twisted-Pair)
-สายคู่เล็กๆตีเกลียวไขว้กันแบบสาย UTP
-มีฉนวนหรือเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะ
-เหมาะกับการเชื่อมต่อเป็นระยะทางไกลเกินกว่าที่จะใช้สาย UTP ได้
1.4สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic)
-ใช้กับการส่งสัญญาณด้วยแสง
-ส่งได้เป็นระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน
-มักใช้ในกรณีที่เป็นโครงข่ายหลักเชื่อมระหว่างเครือข่ายย่อยๆมากกว่า เช่นในเครือข่ายแบบ
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
-ปัจจุบันมีใช้ในระบบ Ethernet ความเร็วสูงหรือ Gigabit Ethernet ด้วย
-ทาความเร็วได้เท่าๆกับสาย UTP คุณภาพสูง
2.ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้ าที่รับส่งกัน
3.ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (media access control)
3.1วิธีการที่จะแบ่งเวลาใช้สายให้ทั่วถึงกัน ไม่ต้องรอนานเกินไป
3.2เนื่องจากทุกเครื่องในระบบ LAN ใช้สายสัญญาณชุดเดียวกัน
3.3นิยมใช้2 แบบคือ
-CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection)
-Token-passing
มาตรฐานของระบบ LAN
LAN ของเครื่อง PC ที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบันมีลักษณะทางฮาร์ดแวร์ที่ยึดมาตรฐานของสถาบัน
วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ IEEE (Institute of Electronic and Electrics Engineering)
โดยแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ Ethernet และ Token-Ring
Ethernet
-พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox, DEC และ Intel
-เป็นมาตรฐานของ IEEE ในกลุ่มที่มีรหัส 802.3
-มีกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลแบบ CSMA/CD
-มาตรฐานของ Ethernet แยกแยะได้ด้วยรหัส
Token-Ring
-ต่อ LAN ในแบบ ring และใช้การควบคุมแบบ token-passing
-สายที่ใช้เป็นเคเบิลแบบพิเศษ มี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU
-จุดอ่อนคือถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาดring จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
-อาศัยสาย fiber optic เชื่อมต่อรับส่งข้อมูลความเร็วสูงเท่ากับ FastEthernet หรือสิบเท่าของ Ethernet
พื้นฐาน
-การรับส่งข้อมูลของ FDDI ใช้วิธี Token-passing เช่นเดียวกัน
-เหมาะที่จะใช้เป็นเครือข่ายหลักหรือ backbone ที่เชื่อมระบบ LAN หลายๆวงเข้าด้วยกัน
เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN)
-เครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency) ในการรับส่งข้อมูล
-คุณสมบัติคือทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนังกาแพง เพดาน
-เหมาะกับใช้ในบ้านหรือที่ซึ่งไม่สะดวกในการเดินสาย
-สถานที่ติดตั้งต้องไม่ถูกรบกวนด้วยสัญญาณวิทยุมากนัก
รู้จักกับ Wireless Lan
คือระบบการสื่อสารข้อมูลที่นามาใช้ทดแทน หรือเพิ่มต่อกับระบบเครือข่ายแลนใช้สายแบบดั้งเดิมโดยใช้
การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และคลื่นอินฟราเรดในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
ผ่านทางอากาศ ทะลุกาแพง เพดาน หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย และ
นอกจากนั้นระบบเครือข่ายไร้สายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมทุกอย่างเหมือนกับระบบแลนใช้สาย และที่สาคัญก็
คือการที่มันไม่ต้องใช้สาย ทาให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานทาได้โดยสะดวก ไม่เหมือนระบบแลนแบบใช้สายที่ต้อง
ใช้เวลา และการลงทุนในการปรับเปลี่ยนตาแหน่งการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
มาตรฐานของ (Wireless Lan)
ใช้คลื่นวิทยุรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ติดตั้งในเครื่องกับสถานีฐานหรือจุดเข้าใช้(Access Point)
มาตรฐานที่นิยมใช้กันเรียกว่า IEEE 802.11
-802.11b ทาความเร็วได้สูงสุด 11 Mbps ในรัศมีประมาณ 100 เมตร
-802.11g ทางานร่วมกับ 802.11b ได้แต่เพิ่มความเร็วถึง 54 Mbps
-802.11a ทาความเร็วถึง 54 Mbps เช่นกันแต่มีระยะทางจากัด และไม่เป็นที่นิยม เหมาะกับการใช้งาน
ที่ไม่หนัก เช่น รับส่งอีเมล์ ท่องเว็บ
ความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ LAN แบบไร้สาย
1.การเข้ารหัสข้อมูล
-แบบ WEP (Wired Equivalent Privacy) ไม่ค่อยปลอดภัย
-แบบ WPA (WiFi-Protected Access) ปลอดภัยกว่าแต่ใช้ได้กับอุปกรณ์ใหม่ๆเท่านั้น
2.การกาหนดรหัสเครือข่าย
-เรียกว่า SSID (Service Set ID)คล้ายกับชื่อ workgroup ในเครือข่ายของ Windows
-อุปกรณ์ที่กาหนดค่า SSID ตรงกันเท่านั้นจึงจะสื่อสารกันได้
-ควรเก็บค่าเหล่านี้เป็นความลับ ป้ องกันไม่ให้บุคคลภายนอกเชื่อมต่อเข้าระบบได้
การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
มี 2 แบบใหญ่คือ
-Peer-to-Peer = แต่ละเครื่องยอมให้เครื่องอื่นในระบบเข้ามาใช้ข้อมูลหรืออุปกรณ์ของตนได้โดยเสมอ
ภาคกัน
-Server-based หรือ Dedicated server = มีบางเครื่องทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการแก่เครื่องอื่น
ไคลเอนต์ (Client)
เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็น
คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์
เซิร์ฟเวอร์ (server)
คือ เครื่องหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทางานให้บริการ ในระบบเครือข่ายแก่ลูกข่าย (ซึ่งให้บริการผู้ใช้
อีกทีหนึ่ง) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์นี้ควรจะมีประสิทธิภาพสูง มีความเสถียร สามารถให้บริการ
แก่ผู้ใช้ได้เป็นจานวนมาก ภายในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการได้ด้วยโปรแกรมบริการ ซึ่งทางานอยู่บนระบบปฏิบัติการอีก
ชั้นหนึ่ง
เวิร์คสเตชัน
ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคานวณด้านวิศวกรรม
สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นด้านการแสดงทางด้านกราฟิก เช่น การนามาช่วยออกแบบกราฟิกต่างๆ ใน
โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วนใหม่ๆ เป็นต้น ซึ่งต้องการงานกราฟิกที่มีความละเอียดสูง ทา ให้เวิร์คส
เตชันใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสารองจานวนมากอีกด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่ม
เรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชันนี้ว่า ซุปเปอร์ไมโคร (Supermicro)
Internetworking - จาก LAN สู่ WAN
1.Repeater เมื่อสายที่ต่อกันระหว่างเครื่องมีความยาเกินกว่าที่มาตรฐานกาหนดสัญญาณที่ส่งกันถึง
ผ่านเครือข่ายก็จะอ่อนลงจนนับไม่ได้
2.Bridge ทาหน้าที่เป็น สะพาน เชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยถ้าข้อมูลส่งออกมาใน
เครือข่ายหนึ่งมีปลายทางที่อีกเครือข่ายหนึ่ง Bridge ก็จะส่งข้อมูลข้ามไปให้
3.Switch เป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับ Bridge แต่แบ่งสาย 1 เส้น หรือ1พอร์ตของสวิตซ์
เป็น 1เครือข่าย
4.Router เป็นอุปกรณ์ที่ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่งใน LAN ที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่ง
ต่อไปยังปลายทางคล้ายกับ Switchหรือ Bridge
อ้างอิง
http://www.cc.kmutt.ac.th
https://sites.google.com
http://www.thaigoodview.com
http://buycoms.com
http://www.bua-yai.ac.th
http://thipawan51.wordpress.com
http://learn.wattano.ac.th
https://blog.eduzones.com

More Related Content

What's hot

ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศกลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศวสันต์ ธินันท์
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์Sujit Chuajine
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5amphaiboon
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 

What's hot (18)

ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Computer Network
Computer NetworkComputer Network
Computer Network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศกลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Academic Vocabulary Assessment
Academic Vocabulary AssessmentAcademic Vocabulary Assessment
Academic Vocabulary AssessmentAmanda Fox-Markley
 
Sociologia y antropologia
Sociologia y antropologiaSociologia y antropologia
Sociologia y antropologiayeseymarmedina
 
Senior secretary performance appraisal
Senior secretary performance appraisalSenior secretary performance appraisal
Senior secretary performance appraisalGaryNeville678
 
Aplicacion web
Aplicacion webAplicacion web
Aplicacion webAnVeng
 
Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 2
Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 2Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 2
Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 216496126
 
Mapa conceptual plan de carrera
Mapa conceptual plan de carreraMapa conceptual plan de carrera
Mapa conceptual plan de carrerayeseymarmedina
 
Tutorial del blogger
Tutorial del bloggerTutorial del blogger
Tutorial del bloggerDani Navas
 
Cardiovascular system
Cardiovascular systemCardiovascular system
Cardiovascular systemjhiggi2
 
Information and communiactions technology ict-
Information and communiactions technology  ict- Information and communiactions technology  ict-
Information and communiactions technology ict- 254422
 
Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.
Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.
Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.erraticmasquera65
 
Maquinas Simples Maria Guadalupe 2do A
Maquinas Simples Maria Guadalupe 2do AMaquinas Simples Maria Guadalupe 2do A
Maquinas Simples Maria Guadalupe 2do AMariaGuadalupeM
 
I like
I like I like
I like AZOTT
 
香港六合彩↑开奖结果
香港六合彩↑开奖结果香港六合彩↑开奖结果
香港六合彩↑开奖结果kaijiang846
 
Top 8 teaching assistant resume samples
Top 8 teaching assistant resume samplesTop 8 teaching assistant resume samples
Top 8 teaching assistant resume samplesRyanGiggs012
 

Viewers also liked (20)

Academic Vocabulary Assessment
Academic Vocabulary AssessmentAcademic Vocabulary Assessment
Academic Vocabulary Assessment
 
Doap
DoapDoap
Doap
 
Sociologia y antropologia
Sociologia y antropologiaSociologia y antropologia
Sociologia y antropologia
 
Senior secretary performance appraisal
Senior secretary performance appraisalSenior secretary performance appraisal
Senior secretary performance appraisal
 
Aplicacion web
Aplicacion webAplicacion web
Aplicacion web
 
Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 2
Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 2Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 2
Presentacion plan de gestion ie raul orejuela bueno 2
 
Mapa conceptual plan de carrera
Mapa conceptual plan de carreraMapa conceptual plan de carrera
Mapa conceptual plan de carrera
 
Tutorial del blogger
Tutorial del bloggerTutorial del blogger
Tutorial del blogger
 
Cardiovascular system
Cardiovascular systemCardiovascular system
Cardiovascular system
 
Information and communiactions technology ict-
Information and communiactions technology  ict- Information and communiactions technology  ict-
Information and communiactions technology ict-
 
Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.
Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.
Nashoba cumple 50 anos con el Regreso a casa y eventos sociales.
 
Maquinas Simples Maria Guadalupe 2do A
Maquinas Simples Maria Guadalupe 2do AMaquinas Simples Maria Guadalupe 2do A
Maquinas Simples Maria Guadalupe 2do A
 
I like
I like I like
I like
 
Presentación1 jb
Presentación1 jbPresentación1 jb
Presentación1 jb
 
香港六合彩↑开奖结果
香港六合彩↑开奖结果香港六合彩↑开奖结果
香港六合彩↑开奖结果
 
Top 8 teaching assistant resume samples
Top 8 teaching assistant resume samplesTop 8 teaching assistant resume samples
Top 8 teaching assistant resume samples
 
Los Sufijos
Los SufijosLos Sufijos
Los Sufijos
 
Https
HttpsHttps
Https
 
Minuta ata 07 04 15 aprovada
Minuta ata 07 04 15 aprovadaMinuta ata 07 04 15 aprovada
Minuta ata 07 04 15 aprovada
 
A POESIA INTERSEMIÓTICA E MULTIMIDIÁTICA DO AGORA
A POESIA INTERSEMIÓTICA E MULTIMIDIÁTICA DO AGORAA POESIA INTERSEMIÓTICA E MULTIMIDIÁTICA DO AGORA
A POESIA INTERSEMIÓTICA E MULTIMIDIÁTICA DO AGORA
 

Similar to Doc

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9Jaohjaaee
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์galswen
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์junniemellow
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์katuckkt
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Tata Sisira
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkBeauso English
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1Rang Keerati
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์BookAkh
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 

Similar to Doc (20)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
it-09-05
it-09-05it-09-05
it-09-05
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Doc

  • 1. ใบงานที่ 3 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ สิรีธร ทรัพย์เกษม ชั้น ม.6/1 เลขที่ 43
  • 2. บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบที่มีการนาเอาคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเข้าไว้ด้วยกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมถึงการใช้ทรัพยากรบางอย่างของระบบร่วมกันได้ วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย 1.เพื่อใช้ทรัพยากรต่างๆร่วมกันได้เช่น เครื่องพิมพ์ 2.เพื่อใช้ข้อมูลต่างๆร่วมกัน 3.เพื่อความสะดวกในการดูแลระบบ 4.เพื่อการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5.เพื่อช่วยลดต้นทุน ประเภทของเครือข่าย 1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ที่ใช้กัน อยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก มักใช้ในองค์กรเดียวกัน โดยส่วนใหญ่ ลักษณะของการเชื่ อมต่อ คอมพิวเตอร์จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ ๆกัน เช่น อยู่ภาย อาคารเดียวกัน ภายในตึกเดียวกัน เป็นต้น 2.เครือข่ายนครหลวง (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายขนาดกลาง เป็น กลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นามาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณ พื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมือง เดียวกัน หรือจังหวัดใกล้เคียงกัน เป็นต้น
  • 3. ข้อจากัดของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1.ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการระบบเครือข่าย ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความชานาญ และมีประสบการณ์สูง จึงต้องใช้ งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมาก อีกทั้งเทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก จาเป็นต้องมีงบประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2.การแบ่งทรัพยากรกันใช้นั้นอาจไม่สามารถใช้ทรัพยากรนั้นๆ ได้ทันทีทันใด เพราะหากมีการเรียกใช้ ทรัพยากรเดียวกันจากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพร้อมกัน เช่น การใช้เครื่องพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์นั้นมีการใช้งานจาก คอมพิวเตอร์ตัวอื่นอยู่ก่อนหน้าแล้ว งานพิมพ์ของเราก็จะต้องเข้าคิวรอการทางาน 3.ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ด้านต่าง ๆ ทางานภายใต้สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการพัฒนา ต้องใช้ความรู้ความชานาญสูง ต้องใช้เวลา ในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้ 4.การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความปลอดภัยในด้านการรักษาข้อมูล อยู่มาก มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาเอาข้อมูลได้จากหลาย ๆที่ หรืออาจมีข้อมูลสูญหายได้ในขณะ ติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก 5.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า ในระบบเครือข่ายระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียกใช้ข้อมูลในไฟล์ ผ่านระบบเครื่อข่ายนั้นจะมีความเร็วที่ช้ากว่าการเรียกใช้ข้อมูลกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตน ตัวกลางนาที่ใช้ใน การนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์ หรือโทรทัศน์ โดยเฉพาะข้อมูลที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก 3.เครือข่ายวงกว้าง (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกับเครือข่ายอื่นที่อยู่ไกลกันมาก เช่น เครือข่ายระหว่างจังหวัด หรือระหว่างภาครวม ไปถึงเครือข่ายระหว่างประเทศ
  • 4. องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย 1.คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่อง 2.เน็ตเวิร์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface Card) เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ด ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 3.สื่อกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กัน ในเครือข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนาแสง เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์ เครือข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น 4.โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่สามารถสื่อสารกันได้นั้นจาเป็นที่ต้องใช้ “ภาษา” หรือใช้โปรโตคอลเดียวกัน เช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็นต้น 5.ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System)ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะ เป็นตัวคอยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ 1.เน็ตเวิร์คการ์ด : เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะเรียกว่า “NIC (Network Interface Card)”หรือบางทีก็เรียกว่า “LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทาการแปลงข้อมูล เป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณหรือสื่อแบบอื่นได้
  • 5. 2.สายสัญญาณ : ปัจจุบันมีสายสัญญาณที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่3 ประเภท 2.1สายคู่บิดเกลียว(twisted pair) ในแต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื่อ ต้องการลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้วผ่านไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรือจาก ภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าหนักเบา ง่ายต่อการ ติดตั้ง จึงทาให้ถูกใช้งานอย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ 2.2สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันอยู่เป็น จานวนมากไม่ว่าจะใช้ในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่งข้อมูลระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือ การส่งข้อมูลสัญญาณวีดีทัศน์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิ จิทอล และชนิด 75โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโคแอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพื่อป้ องกันการ รบกวนของคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สาย แบบนี้มีช่วงความถี่ที่สัญญาณไฟฟ้าสามารถส่งผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราของการ ส่งสูงขึ้น ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่ บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีก ชั้นดังรูป เพื่อป้ องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน(Unshielded Twisted Pair : UTP)เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวน ชั้นนอกด้วยซึ่งบางทีก็หุ้มอีกชั้นดังรูป ซึ่งทาให้สะดวกในการ โค้งงอ แต่ก็สามารถป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ได้น้อยกว่าชนิดแรก
  • 6. 2.3เส้นใยนาแสง (fiber optic) เป็นการที่ใช้ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยเป็น อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ด้วย ความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI ก็จะใช้ได้ด้วยความเร็วสูงถึง100 เมกะบิต 3.อุปกรณ์เครือข่าย : อุปกรณ์ที่นามาใช้ในเครือข่ายทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ- ส่งข้อมูลในเครือข่าย หรือ ใช้สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้นหรือใช้สาหรับขยายเครือข่ายให้มี ขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์ 3.1ฮับ (Hub)คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุก เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย 3.2สวิตซ์ (Switch) หรือบริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้า ด้วยกัน โดยจะต้องเป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการ เชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน
  • 7. 3.3เราท์เตอร์ ( Routing ) : เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกัน ที่คล้ายกับบริดจ์ แต่ก็มีส่วนการทางานจะซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยง ข้อมูลระหว่างแต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทาให้เราท์เตอร์สามารถทา หน้าที่จัดหาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3.4โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่องอาจก็ต้องมี ระบบที่เหมือนกัน หรือแตกต่างกัน เช่นในการใช้งานในเครือข่ายจึงต้องเป็นมาตรฐานหรือระเบียบที่ใช้ในการ ติดต่อให้แต่ละเครื่องมีวิธีการสื่อสารที่เป็นไปตามแนวทางเดียวกันได้ เพื่อให้เป็นการเชื่อมโยงข้อมูล และในการ ติดต่อสื่อสารของเครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื่องต้องมีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและสามารถทางานร่วมกันได้ เป็นอย่างดี ไม่เกิดความเสียหายนั้นเกิดขึ้น จึงมีการกาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรียกว่า โปรโตคอล ดังนั้นอาจ กล่าวได้ว่าโปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่อง คอมพิวเตอร์ในเครือข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม)ให้สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
  • 8. ซอฟต์แวร์ ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถ ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความ ปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางาน ในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่าง ยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการWindows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น ตัวกลางนาข้อมูล 1.สายเคเบิล 1.1สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล) -สายเส้นเดี่ยวมีเปลือกเป็นสายโลหะถัก (shield) ป้ องกันคลื่นรบกวน -มี 2 แบบคือ แบบหนา (thick) และ แบบบาง (thin) -ใช้ต่อเชื่อมระหว่างแต่ละเครื่องโดยตรง -ปัจจุบันเริ่มใช้น้อยลงเพราะถูกทดแทนด้วยสายอื่นที่ราคาถูกกว่า
  • 9. 1.2สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair) -สายขนาดเล็กคล้ายสายโทรศัพท์ มี 8 เส้นตีเกลียวเป็นคู่ๆ -ไม่มีเปลือกที่เป็นโลหะถัก (shield) หุ้มเหมือนสาย coaxial -ลักษณะการเดินสายต้องต่อจากเครื่องเข้าหาอุปกรณ์รวมสายหรือ hub -นิยมแพร่หลาย เพราะราคาถูก ติดตั้งง่าย 1.3สาย STP (Shielded Twisted-Pair) -สายคู่เล็กๆตีเกลียวไขว้กันแบบสาย UTP -มีฉนวนหรือเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะ -เหมาะกับการเชื่อมต่อเป็นระยะทางไกลเกินกว่าที่จะใช้สาย UTP ได้ 1.4สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) -ใช้กับการส่งสัญญาณด้วยแสง
  • 10. -ส่งได้เป็นระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน -มักใช้ในกรณีที่เป็นโครงข่ายหลักเชื่อมระหว่างเครือข่ายย่อยๆมากกว่า เช่นในเครือข่ายแบบ FDDI (Fiber Distributed Data Interface) -ปัจจุบันมีใช้ในระบบ Ethernet ความเร็วสูงหรือ Gigabit Ethernet ด้วย -ทาความเร็วได้เท่าๆกับสาย UTP คุณภาพสูง 2.ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้ าที่รับส่งกัน 3.ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (media access control) 3.1วิธีการที่จะแบ่งเวลาใช้สายให้ทั่วถึงกัน ไม่ต้องรอนานเกินไป 3.2เนื่องจากทุกเครื่องในระบบ LAN ใช้สายสัญญาณชุดเดียวกัน 3.3นิยมใช้2 แบบคือ -CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection)
  • 11. -Token-passing มาตรฐานของระบบ LAN LAN ของเครื่อง PC ที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบันมีลักษณะทางฮาร์ดแวร์ที่ยึดมาตรฐานของสถาบัน วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ IEEE (Institute of Electronic and Electrics Engineering) โดยแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ Ethernet และ Token-Ring Ethernet -พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox, DEC และ Intel -เป็นมาตรฐานของ IEEE ในกลุ่มที่มีรหัส 802.3 -มีกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลแบบ CSMA/CD -มาตรฐานของ Ethernet แยกแยะได้ด้วยรหัส Token-Ring -ต่อ LAN ในแบบ ring และใช้การควบคุมแบบ token-passing -สายที่ใช้เป็นเคเบิลแบบพิเศษ มี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU -จุดอ่อนคือถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาดring จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้
  • 12. FDDI (Fiber Distributed Data Interface) -อาศัยสาย fiber optic เชื่อมต่อรับส่งข้อมูลความเร็วสูงเท่ากับ FastEthernet หรือสิบเท่าของ Ethernet พื้นฐาน -การรับส่งข้อมูลของ FDDI ใช้วิธี Token-passing เช่นเดียวกัน -เหมาะที่จะใช้เป็นเครือข่ายหลักหรือ backbone ที่เชื่อมระบบ LAN หลายๆวงเข้าด้วยกัน เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN) -เครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency) ในการรับส่งข้อมูล -คุณสมบัติคือทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนังกาแพง เพดาน -เหมาะกับใช้ในบ้านหรือที่ซึ่งไม่สะดวกในการเดินสาย -สถานที่ติดตั้งต้องไม่ถูกรบกวนด้วยสัญญาณวิทยุมากนัก
  • 13. รู้จักกับ Wireless Lan คือระบบการสื่อสารข้อมูลที่นามาใช้ทดแทน หรือเพิ่มต่อกับระบบเครือข่ายแลนใช้สายแบบดั้งเดิมโดยใช้ การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และคลื่นอินฟราเรดในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านทางอากาศ ทะลุกาแพง เพดาน หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย และ นอกจากนั้นระบบเครือข่ายไร้สายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมทุกอย่างเหมือนกับระบบแลนใช้สาย และที่สาคัญก็ คือการที่มันไม่ต้องใช้สาย ทาให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานทาได้โดยสะดวก ไม่เหมือนระบบแลนแบบใช้สายที่ต้อง ใช้เวลา และการลงทุนในการปรับเปลี่ยนตาแหน่งการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มาตรฐานของ (Wireless Lan) ใช้คลื่นวิทยุรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ติดตั้งในเครื่องกับสถานีฐานหรือจุดเข้าใช้(Access Point) มาตรฐานที่นิยมใช้กันเรียกว่า IEEE 802.11 -802.11b ทาความเร็วได้สูงสุด 11 Mbps ในรัศมีประมาณ 100 เมตร -802.11g ทางานร่วมกับ 802.11b ได้แต่เพิ่มความเร็วถึง 54 Mbps -802.11a ทาความเร็วถึง 54 Mbps เช่นกันแต่มีระยะทางจากัด และไม่เป็นที่นิยม เหมาะกับการใช้งาน ที่ไม่หนัก เช่น รับส่งอีเมล์ ท่องเว็บ ความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ LAN แบบไร้สาย 1.การเข้ารหัสข้อมูล -แบบ WEP (Wired Equivalent Privacy) ไม่ค่อยปลอดภัย -แบบ WPA (WiFi-Protected Access) ปลอดภัยกว่าแต่ใช้ได้กับอุปกรณ์ใหม่ๆเท่านั้น 2.การกาหนดรหัสเครือข่าย -เรียกว่า SSID (Service Set ID)คล้ายกับชื่อ workgroup ในเครือข่ายของ Windows -อุปกรณ์ที่กาหนดค่า SSID ตรงกันเท่านั้นจึงจะสื่อสารกันได้ -ควรเก็บค่าเหล่านี้เป็นความลับ ป้ องกันไม่ให้บุคคลภายนอกเชื่อมต่อเข้าระบบได้
  • 14. การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย มี 2 แบบใหญ่คือ -Peer-to-Peer = แต่ละเครื่องยอมให้เครื่องอื่นในระบบเข้ามาใช้ข้อมูลหรืออุปกรณ์ของตนได้โดยเสมอ ภาคกัน -Server-based หรือ Dedicated server = มีบางเครื่องทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการแก่เครื่องอื่น ไคลเอนต์ (Client) เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็น คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์ (server) คือ เครื่องหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทางานให้บริการ ในระบบเครือข่ายแก่ลูกข่าย (ซึ่งให้บริการผู้ใช้ อีกทีหนึ่ง) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์นี้ควรจะมีประสิทธิภาพสูง มีความเสถียร สามารถให้บริการ แก่ผู้ใช้ได้เป็นจานวนมาก ภายในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการได้ด้วยโปรแกรมบริการ ซึ่งทางานอยู่บนระบบปฏิบัติการอีก ชั้นหนึ่ง เวิร์คสเตชัน ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคานวณด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นด้านการแสดงทางด้านกราฟิก เช่น การนามาช่วยออกแบบกราฟิกต่างๆ ใน โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วนใหม่ๆ เป็นต้น ซึ่งต้องการงานกราฟิกที่มีความละเอียดสูง ทา ให้เวิร์คส เตชันใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสารองจานวนมากอีกด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่ม เรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชันนี้ว่า ซุปเปอร์ไมโคร (Supermicro) Internetworking - จาก LAN สู่ WAN 1.Repeater เมื่อสายที่ต่อกันระหว่างเครื่องมีความยาเกินกว่าที่มาตรฐานกาหนดสัญญาณที่ส่งกันถึง ผ่านเครือข่ายก็จะอ่อนลงจนนับไม่ได้
  • 15. 2.Bridge ทาหน้าที่เป็น สะพาน เชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยถ้าข้อมูลส่งออกมาใน เครือข่ายหนึ่งมีปลายทางที่อีกเครือข่ายหนึ่ง Bridge ก็จะส่งข้อมูลข้ามไปให้ 3.Switch เป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับ Bridge แต่แบ่งสาย 1 เส้น หรือ1พอร์ตของสวิตซ์ เป็น 1เครือข่าย 4.Router เป็นอุปกรณ์ที่ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่งใน LAN ที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่ง ต่อไปยังปลายทางคล้ายกับ Switchหรือ Bridge อ้างอิง http://www.cc.kmutt.ac.th https://sites.google.com http://www.thaigoodview.com http://buycoms.com http://www.bua-yai.ac.th http://thipawan51.wordpress.com http://learn.wattano.ac.th https://blog.eduzones.com