SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
คู่มือความรู ้ทั่วไป
เกี่ยวกับยาเสพติด
ศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะ
ยาเสพติด
องค์การบริหารส่วนตาบลลิดล
ความหมายของยาเสพติด
ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมื่อนาเข้าสู่ร่างกาย
ไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ
แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจนอกจากนี้ยังจะทา
ให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็ นประจาทุกวัน หรือ
วันละหลาย ๆ ครั้ง
“ประเภทยาเสพติด”
1. ยาเสพติดประเภทกดประสาท
ได้แก่ ฝิ่น มอร ์ฟี น เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับ
ประสาท ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมาทุก
ชนิด รวมทั้ง สารระเหย เช่น ทินเนอร ์แล็กเกอร ์
น้ามันเบนซิน กาว เป็ นต้น มักพบว่าผู้เสพจะมี
ร่างกายซูบซีด
ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่าน อารมณ์เปลี่ยนแปลง
ง่าย
ฝิ่ น
2. ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท
ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท มีผลต่อระบบประสาท
ทาให้ประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เกิดภาพ
หลอน เพ้อคลั่งคล้ายคนเป็ นโรคจิตชนิดหวาดระแวง
หรือเป็ นบ้าได้ตื่นเต้นง่าย พูดมาก มือสั่น เหงื่อออก
มาก นอนไม่หลับ กลิ่นตัวแรง ปากและจมูกแห้ง ริม
ฝี ปากแตก รูม่านตาเบิกกว้าง หัวใจเต้นแรงและ
เร็ว ปวดศีรษะ เบื่อ
อาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ปวดท้องอย่าง
รุนแรง ยาเสพติดประเภทนี้ได้แก่ ยาบ้า โคเคน เอ็ค
ตาซี กระท่อม
ยาบ้า โคเคน ใบ
กระท่อ
3. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท
ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย เป็ นต้น ผู้เสพติด
จะมีอาการประสาหลอน
ฝันเฟื่องเห็นแสงสีวิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียง
ประหลาด
หรือเห็นภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุม
ตนเองไม่ได้
ในที่สุดมักป่ วยเป็ นโรคจิต
เห็ดขี้ควาย
4. ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน
ผู้เสพยาจะมีอาการโดยเบื้องต้นจะกระตุ้นประสาทให้ผู้เสพ
ตื่นตัว ช่างพูด ร่าเริง
หัวเราะตลอดเวลาต่อมาจะกดประสาททาให้รู ้สึกคล้ายเมา
หล้า
มีอาการง่วงนอน เซื่องซึม เมื่อเสพมากขึ้นจะหลอน
ประสาท
อาจเห็นภาพลวงตา หูแวว หรือมีการหวาดระแวง
ความคิดสับสน
ควบคุมตนเองไม่ได้ ผู้เสพกัญชาส่วนใหญ่มักป่ วยเป็ นโรค
จิตในภายหลัง
กัญชา
“สาเหตุของการติดยาเสพติด”
 ความอยากรู ้อยากลองด้วยความคึกคะนอง
 การชักชวนของเพื่อน
 มีความเชื่อในทางที่ผิด เช่น เสพแล้วลืมความทุกข์
ช่วยให้สบายใจ หรือช่วยให้ ขยันทางาน
 สภาพแวดล้อม ถิ่นที่อยู่อาศัยมีการค้ายาเสพติดหรือมี
ผู้ติดยาเสพติด
 ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติดโดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์
 เพื่อหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาแล้วไม่สามารถแก้ปัญหาได้
จึงหันไปเสพยาเสพติด
 ขาดความระมัดระวังในการใช้ยา เพราะคุณสมบัติของ
ยา บางชนิดอาจทาให้ผู้ใช้ยาเกิดการเสพติดได้โดยไม่
รู ้ตัว หากใช้ยาอย่างพร่าเพรื่อ
1. พิษต่อสมองทาให้เส้นเลือดในสมอง
2. พิษต่อระบบประสาท ทาให้ประสาทตึงเครียด เกิดภาพ
หลอน เพ้อ
คลั่ง ความคิดสับสน
3. พิษต่อหัวใจ ทาให้หัวใจเต้นแรง เต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย
ได้
4. พิษต่อปอด ทาให้เกิดโรคเกี่ยวกับปอด
5. พิษต่อตับ ทาให้ตับอักเสบ
6. พิษต่อไต ทาให้ไตไม่ทางาน
7. พิษต่อระบบทางเดินอาหาร ทาให้ปวดท้องอย่าง
รุนแรง เบื่ออาหาร ท้องเดิน
คลื่นไส้ อาเจียน
8. พิษต่อกล้ามเนื้อ ทาให้เกิดการเจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ
9. พิษต่อระบบไหลเวียนของโลหิต ทาให้เกิดอาการปวด
ศีรษะ ความดันโลหิตสูง
พิษภัยยาเสพติดที่มี
ต่อร่างกาย
อาการของผู้เสพยาบ้า
อาการด้านร่างกาย
ตื่นเต้นง่าย พูดมาก มือสั่น เหงื่อออกมาก นอนไม่
หลับ กลิ่นตัวแรง
ปากและจมูกแห้ง ริมฝี ปากแตก รูม่านตาเบิกกว้าง หัว
ใจเต้นเร็ว ปวดศีรษะ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ปวดท้องอย่าง
รุนแรง ประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เมื่อเสพไป
นาน ๆ หรือเสพจานวนมาก
จะทาให้เกิดภาพหลอนเพ้อคลั่ง คล้ายคนเป็ นโรค
ประสาทหวาดระแวงเป็ นบ้าได้
อาการด้านจิตใจ
ประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เกิดภาพหลอน
เพ้อคลั่งคล้ายคนเป็ นโรคจิตชนิดหวาดระแวงหรือเป็ นบ้า
ได้
ผลกระทบของการติดยาเสพ
ติด
 ทาให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ
ร่างกายพิการ
 สูญเสียทรัพย์สินทั้งของตัวเองและผู้อื่น
 ครอบครัวเดือดร้อน เสียอนาคต
 ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น วิ่งราวทรัพย์
อาชญากรรม ข่มขืน ฯลฯ
แนวทางการป้ องกันจากยาเสพติด
 ป้ องกันตนเอง ไม่ทดลองยาเสพติดทุกชนิด
 ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือ เล่นกีฬา
หรือทางานอดิเรกต่าง ๆ ตามความสนใจและความ
ถนัด
 ครอบครัว ควรสอดส่องดูแลทุกคนในครอบครัวอย่าให้
เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและรู ้ถึงโทษภัยของยาเสพติด
 ในเขตชุมชน หากพบผู้ติดยาเสพติดควรแจ้ง
เจ้าหน้าที่ตารวจหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นการ
ป้ องกันแก้ไข หรือช่วยเหลือแนะนาให้เข้ารับการ
บาบัดรักษาโดยเร็ว
“วันต่อต้านยาเสพติดโลก”
ทุกวันที่ 26 มิถุนายน ของทุกปี เป็ น “วัน
ต่อต้านยาเสพติด” องค์การบริหารส่วน
ตาบลลิดล ในฐานะหน่วยงานที่ใกล้ชิดและ
ให้บริการกับประชาชน ขอเชิญชวนและประชาสัมพันธ ์
ให้หน่วยงาน สถานศึกษาและประชาชนในเขตตาบลลิ
ดลร่วมใจกัน รณรงค์ป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงนั่นก็คือ กลุ่มเด็กและเยาวชน
ไม่ให้หันไปติดยาเสพติด และช่วยกันสอดส่องดูแล
ลูกหลานของท่านอย่างใกล้ชิด
ผิดช่วยรั้
ง พลั้งช่วยเตือน
แนะนาเพื่อน อย่าคิดลองยา
เกร็ดความรู ้
เกี่ยวกับยาเสพติดแต่ละชนิด
ยาบ้า
ใบ
กระท่อ
ม
เห็ด
ขี้ควาย
โคเคน
เอ็คซ ์
ตาซ
ยาเคตามีน
กัญชา
ยาบ้า
ยาบ้า เป็ นสารสังเคราะห์มีแอมเฟตามีนเป็ นส่วนประกอบมีชื่อ
เรียกต่าง ๆ เช่น ยาขยัน
ยาแก้ง่วง ยาโด๊ป อาจพบในลักษณะเป็ นเม็ดเล็ก ๆ กลม
แบน รูปเหลี่ยมรูปหัวใจ หรือแคปซูล และมีสีต่าง ๆกัน เช่น
ขาว เหลือง น้าตาล เขียว ฯลฯ มักพบแพร่หลายในลักษณะกลม
แบน สีขาว มีเครื่องหมายการค้า เป็ นสัญลักษณ์หลาย
แบบ เช่น รูปหัวม้าและอักษร LONDON รูปดาว รูปอักษร 99,
44 และ M เป็ นต้นและอาจมีชื่อเรียกต่าง ๆกัน ออกไปนิยมเสพ
โดยรับประทานโดยตรงหรือผสมในอาหาร หรือเครื่องดื่ม หรือ
เสพโดยนายาบ้ามาบดแล้วนาไปลนไฟแล้วสูดดมเป็ นไอระเหย
เข้าสู่ร่างกาย
โคเคน
ผลและใบ
โคคา
โคเคน เป็ นสารที่สกัดได้จากใบของต้นโคคา มีฤทธิ์กระตุ้น
ประสาท มีลักษณะเป็ นผงสีขาวผลึกเป็ นก้อนใส รสขมไม่มี
กลิ่น ต้นโคคาจะมีลักษณะพิเศษคือเส้นกลางใบจะเป็ นสันนูน
ออกมาให้เห็นทั้งด้านหน้า และด้านหลังของใบ การผลิต
โคเคนจะต้องนาใบโคเคนไปแปรสภาพ โดยอาศัยอุปกรณ์และ
น้ายาเคมีต่าง ๆ สาหรับโคเคนที่แพร่ระบาดพบว่าเป็ นโคเคนที่
อยู่ในรูปของโคเคนไฮโดรคลอไรด์มีลักษณะผลึกสีขาวและ
ละลายน้าได้ดีเสพโดยการสูดเข้าไปในโพรงจมูกซึ่งจะมีฤทธิ์
ในการกระตุ้นประสาทอย่างรวดเร็ว
อาการของผู้เสพโคเคน ระยะแรกที่เสพจะกระตุ้นประสาททา
ให้เกิดอาการไร้ความรู ้สึก ดูเหมือนมีกาลังมากขึ้น มีความ
กระปรี้กระเปร่าไม่เหนื่อย เมื่อหมดฤทธิ์ยาร่างกายจะ
่ ้ ้
ดอกโคคา
กระท่อม กระท่อมก้านแดง กระท่อมก้าน
กระท่อมเป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีแก่นและเนื้อไม้แข็ง
ใบหนาทึบ ลักษณะคล้ายใบกระดังงา หรือใบฝรั่ง ใบ
กระท่อมมีฤทธิ์ในการกระตุ้นประสาทที่นิยมนามาเสพ
มี 2 ชนิด หนึ่งมีก้าน และเส้นใบเป็ นสีแดงเรื่อ ๆ อีก
ชนิดหนึ่งมีก้านและเส้นใบเป็ นสีเขียว นิยมเสพโดยการ
เคี้ยวใบกระท่อมดิบ ๆ
อาการของผู้เสพกระท่อม ร่างกายทรุดโทรมมาจาก
การทางานเกินกาลัง ปวดเมื่อยตามข้อและกล้ามเนื้อ
ผิวหนังแห้งและดา มีสภาพจิตใจสับสน เมื่อเสพไป
นาน ๆ สักระยะเวลาหนึ่งจะเกิดอาการประสานหลอน
ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท
ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ เห็ด
ขี้ควาย แอลเอสดี ฯลฯ สาหรับแอลเอสดีจะมีลักษณะ
เป็ นผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น มักพบอยู่ในรูปของกระดาษ
เคลือบในลักษณะแสตมป์ (magicpaper) เม็ดกลม
แบน กลมรี แคปซูล ส่วนเห็ดขี้ควายมีสารที่ออกฤทธิ์
ทาลายประสาทอย่างรุนแรงเมื่อบริโภคเข้าไปจะเกิด
อาการเมา เคลิบเคลิ้ม และถึงขนาดบ้าคลั่งในที่สุด ฤทธิ์
ของยาเสพติดกลุ่มนี้มีผลต่อระบบประสาทสมองส่วน
สัมผัสทั้ง 5 โดยฤทธิ์ของยาเสพติดกลุ่มนี้จะไปบิดเบือน
ทาให้การมองเห็น การได้ยิน การชิมรส การสัมผัส
และการดมกลิ่น เปลี่ยนแปลงไปจากที่เป็ นจริงเห็นภาพ
ลวงตาเป็ นจินตนาการที่มีทั้งที่ดี สวยงามและน่ากลัวจน
์ ้
ยาเอ็คซ ์
ตาซี
เอ็คซ ์
ตาซ
3,4 Methylenedioxymethamphetamine
, MDMA (เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน)
ในประเทศไทยกาหนดให้สารนี้ เป็ นวัตถุออกฤทธิ์
ประเภทที่ 1 มักจะพบในลักษณะที่เป็ นแคปซูล
ทั้งขนาดเล็กและใหญ่สีต่าง ๆหรือเป็ นเม็ดกลม
แบน สีขาว สีน้าตาล สีชมพู ในบางประเทศ
รู ้จักกันในนามยา “E” หรือ “ADAM” เอ็คซ ์ตาวี
มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทเช่นเดียวกับยาบ้าแต่
รุนแรงมากกว่าจะออกฤทธิ์หลังจากเสพเข้าไป
แล้วประมาณ 30-45 นาที และจะมีฤทธิ์อยู่ได้
ประมาณ 6-8 ชั่วโมง ยาเอ็คซ ์ตาซีจะออกฤทธิ์
อย่างเงียบ ๆ โดยมีผลทาให้สาเหนียกของการได้
ยินเสียงและการมองเห็นสีสูงเกินปกติ การออก
ฤทธิ์ในระยะสั้น ทาให้เกิดอาการเหงื่อออกปาก
แห้ง ไม่มีอาการหิว หัวใจเต้นเร็ว และความดัน
สูง มีอาการคลื่นเหียน บางครั้งก็มีอาการเกร๊งที่
แขนขา และขากรรไกร ผู้เสพอาจจะรู ้สึกสัมผัส
สิ่งต่าง ๆรุนแรงขึ้น รู ้สึกผ่อนคลาย มึนและ
สงบ หลังจากนั้นผู้เสพอาจรู ้สึกเหนื่อย และ
เห็ด
ขี้ควาย
ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท
เห็ดขี้ควาย เป็ นสารเสพติดประเภทหนึ่งจัดอยู่ใน
จาพวกยาเสพติดประเภทหลอนประสาท มีสารที่
ออกฤทธิ์ทาลายประสาทอย่างรุนแรงเมื่อบริโภคเข้า
ไปจะเกิดอาการเมา เคลิบเคลิ้ม และถึงขนาดบ้าคลั่ง
ในที่สุด
 ยาเคตามีน (Ketamine)เป็ นยาเสพติดที่ผลิตขึ้นโดย
การสังเคราะห์ จัดให้เป็ นยาควบคุมพิเศษใช้ในทาง
การแพทย์เป็ นยาสลบสาหรับผ่าตัดระยะสั้น มีฤทธิ์
หลอนประสาทอย่างรุนแรง เรียกกันทั่วไปว่า ยาเค หรือ
เคตามีน เคตาวา เคตารา โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปผง
แคปซูล ยาเม็ด ผลึกและสารละลาย
 อาการของผู้เสพยาเคมีการนาเคตามีนมาใช้ในทางที่
ผิด เพื่อให้เกิดความมึนเมา นิยมเสพ โดยการนัตถุ์หรือ
สูดดม จะมีฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ผู้เสพจะรู ้สึก
เคลิบเคลิ้ม รู ้สึกว่าตนเองมีอานาจพิเศษ ซึ่งสร้าง
ความสุขให้คล้ายกับอาการหลอนทางประสาท ผู้ที่ใช้
ยาจะมีอาการสูญเสียกระบวนการทาง
ความคิด ตาลาย ร่างกายเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ ์กัน
ความคิดสับสน ถ้าใช้ เคตามีนในปริมาณที่มาก
 ยาเสพติดประเภทผสมผสาน ผู้เสพจะมีอาการโดย
เบื้องต้นจะกระตุ้นประสาทให้ผู้เสพตื่นตัว ร่าเริง ช่าง
พูด หัวเราะ ตลอดเวลาต่อมาจะกดประสาททาให้
รู ้สึกคล้ายเมาเหล้า มีอาการง่วงนอน เซื่องซึม เมื่อ
เสพมากขึ้นจะหลอนประสาท อาจเห็นภาพลวง
ตา หูแวว หรือมีการหวาดระแวง ความคิดสับสน
ควบคุมตนเองไม่ได้ ผู้เสพกัญชาส่วนใหญ่มักป่ วย
เป็ นโรคจิตในภายหลัง
ยาเสพติดประเภท
ผสมผสาน
ยาเสพติดประเภท
ผสมผสาน
ต้นกัญชา
กัญชาสอดใส้บุหรี่ กัญชาอัด
กัญชาอัดแท่ง

More Related Content

Similar to jeab2.ppt

ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษพัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติดSUNDAY0A1
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาJintana Somrit
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติดAobinta In
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
ทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งาน
ทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งานทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งาน
ทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งานcm carent
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดจ๊ะจ๋า ขอทาน
 
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติดกระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติดPornsitaintharak
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดIce Ice
 

Similar to jeab2.ppt (20)

ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
ทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งาน
ทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งานทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งาน
ทิงเจอร์ขาว ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ล้างแผล ประโยชน์และการใช้งาน
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
 
เสพติด Quiz
เสพติด Quizเสพติด Quiz
เสพติด Quiz
 
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติดกระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
กระถางหนึ่งใบต้านภัยยาเสพติด
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 

jeab2.ppt

  • 2. ความหมายของยาเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมื่อนาเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจนอกจากนี้ยังจะทา ให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็ นประจาทุกวัน หรือ วันละหลาย ๆ ครั้ง
  • 3. “ประเภทยาเสพติด” 1. ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร ์ฟี น เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับ ประสาท ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมาทุก ชนิด รวมทั้ง สารระเหย เช่น ทินเนอร ์แล็กเกอร ์ น้ามันเบนซิน กาว เป็ นต้น มักพบว่าผู้เสพจะมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่าน อารมณ์เปลี่ยนแปลง ง่าย ฝิ่ น
  • 4. 2. ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท มีผลต่อระบบประสาท ทาให้ประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เกิดภาพ หลอน เพ้อคลั่งคล้ายคนเป็ นโรคจิตชนิดหวาดระแวง หรือเป็ นบ้าได้ตื่นเต้นง่าย พูดมาก มือสั่น เหงื่อออก มาก นอนไม่หลับ กลิ่นตัวแรง ปากและจมูกแห้ง ริม ฝี ปากแตก รูม่านตาเบิกกว้าง หัวใจเต้นแรงและ เร็ว ปวดศีรษะ เบื่อ อาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ปวดท้องอย่าง รุนแรง ยาเสพติดประเภทนี้ได้แก่ ยาบ้า โคเคน เอ็ค ตาซี กระท่อม ยาบ้า โคเคน ใบ กระท่อ
  • 5. 3. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย เป็ นต้น ผู้เสพติด จะมีอาการประสาหลอน ฝันเฟื่องเห็นแสงสีวิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียง ประหลาด หรือเห็นภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุม ตนเองไม่ได้ ในที่สุดมักป่ วยเป็ นโรคจิต เห็ดขี้ควาย
  • 6. 4. ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ผู้เสพยาจะมีอาการโดยเบื้องต้นจะกระตุ้นประสาทให้ผู้เสพ ตื่นตัว ช่างพูด ร่าเริง หัวเราะตลอดเวลาต่อมาจะกดประสาททาให้รู ้สึกคล้ายเมา หล้า มีอาการง่วงนอน เซื่องซึม เมื่อเสพมากขึ้นจะหลอน ประสาท อาจเห็นภาพลวงตา หูแวว หรือมีการหวาดระแวง ความคิดสับสน ควบคุมตนเองไม่ได้ ผู้เสพกัญชาส่วนใหญ่มักป่ วยเป็ นโรค จิตในภายหลัง กัญชา
  • 7. “สาเหตุของการติดยาเสพติด”  ความอยากรู ้อยากลองด้วยความคึกคะนอง  การชักชวนของเพื่อน  มีความเชื่อในทางที่ผิด เช่น เสพแล้วลืมความทุกข์ ช่วยให้สบายใจ หรือช่วยให้ ขยันทางาน  สภาพแวดล้อม ถิ่นที่อยู่อาศัยมีการค้ายาเสพติดหรือมี ผู้ติดยาเสพติด  ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติดโดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์  เพื่อหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาแล้วไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึงหันไปเสพยาเสพติด  ขาดความระมัดระวังในการใช้ยา เพราะคุณสมบัติของ ยา บางชนิดอาจทาให้ผู้ใช้ยาเกิดการเสพติดได้โดยไม่ รู ้ตัว หากใช้ยาอย่างพร่าเพรื่อ
  • 8. 1. พิษต่อสมองทาให้เส้นเลือดในสมอง 2. พิษต่อระบบประสาท ทาให้ประสาทตึงเครียด เกิดภาพ หลอน เพ้อ คลั่ง ความคิดสับสน 3. พิษต่อหัวใจ ทาให้หัวใจเต้นแรง เต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย ได้ 4. พิษต่อปอด ทาให้เกิดโรคเกี่ยวกับปอด 5. พิษต่อตับ ทาให้ตับอักเสบ 6. พิษต่อไต ทาให้ไตไม่ทางาน 7. พิษต่อระบบทางเดินอาหาร ทาให้ปวดท้องอย่าง รุนแรง เบื่ออาหาร ท้องเดิน คลื่นไส้ อาเจียน 8. พิษต่อกล้ามเนื้อ ทาให้เกิดการเจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ 9. พิษต่อระบบไหลเวียนของโลหิต ทาให้เกิดอาการปวด ศีรษะ ความดันโลหิตสูง พิษภัยยาเสพติดที่มี ต่อร่างกาย
  • 9. อาการของผู้เสพยาบ้า อาการด้านร่างกาย ตื่นเต้นง่าย พูดมาก มือสั่น เหงื่อออกมาก นอนไม่ หลับ กลิ่นตัวแรง ปากและจมูกแห้ง ริมฝี ปากแตก รูม่านตาเบิกกว้าง หัว ใจเต้นเร็ว ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ปวดท้องอย่าง รุนแรง ประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เมื่อเสพไป นาน ๆ หรือเสพจานวนมาก จะทาให้เกิดภาพหลอนเพ้อคลั่ง คล้ายคนเป็ นโรค ประสาทหวาดระแวงเป็ นบ้าได้ อาการด้านจิตใจ ประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เกิดภาพหลอน เพ้อคลั่งคล้ายคนเป็ นโรคจิตชนิดหวาดระแวงหรือเป็ นบ้า ได้
  • 10. ผลกระทบของการติดยาเสพ ติด  ทาให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ ร่างกายพิการ  สูญเสียทรัพย์สินทั้งของตัวเองและผู้อื่น  ครอบครัวเดือดร้อน เสียอนาคต  ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น วิ่งราวทรัพย์ อาชญากรรม ข่มขืน ฯลฯ
  • 11. แนวทางการป้ องกันจากยาเสพติด  ป้ องกันตนเอง ไม่ทดลองยาเสพติดทุกชนิด  ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือ เล่นกีฬา หรือทางานอดิเรกต่าง ๆ ตามความสนใจและความ ถนัด  ครอบครัว ควรสอดส่องดูแลทุกคนในครอบครัวอย่าให้ เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและรู ้ถึงโทษภัยของยาเสพติด  ในเขตชุมชน หากพบผู้ติดยาเสพติดควรแจ้ง เจ้าหน้าที่ตารวจหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นการ ป้ องกันแก้ไข หรือช่วยเหลือแนะนาให้เข้ารับการ บาบัดรักษาโดยเร็ว
  • 12. “วันต่อต้านยาเสพติดโลก” ทุกวันที่ 26 มิถุนายน ของทุกปี เป็ น “วัน ต่อต้านยาเสพติด” องค์การบริหารส่วน ตาบลลิดล ในฐานะหน่วยงานที่ใกล้ชิดและ ให้บริการกับประชาชน ขอเชิญชวนและประชาสัมพันธ ์ ให้หน่วยงาน สถานศึกษาและประชาชนในเขตตาบลลิ ดลร่วมใจกัน รณรงค์ป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงนั่นก็คือ กลุ่มเด็กและเยาวชน ไม่ให้หันไปติดยาเสพติด และช่วยกันสอดส่องดูแล ลูกหลานของท่านอย่างใกล้ชิด ผิดช่วยรั้ ง พลั้งช่วยเตือน แนะนาเพื่อน อย่าคิดลองยา
  • 14. ยาบ้า ยาบ้า เป็ นสารสังเคราะห์มีแอมเฟตามีนเป็ นส่วนประกอบมีชื่อ เรียกต่าง ๆ เช่น ยาขยัน ยาแก้ง่วง ยาโด๊ป อาจพบในลักษณะเป็ นเม็ดเล็ก ๆ กลม แบน รูปเหลี่ยมรูปหัวใจ หรือแคปซูล และมีสีต่าง ๆกัน เช่น ขาว เหลือง น้าตาล เขียว ฯลฯ มักพบแพร่หลายในลักษณะกลม แบน สีขาว มีเครื่องหมายการค้า เป็ นสัญลักษณ์หลาย แบบ เช่น รูปหัวม้าและอักษร LONDON รูปดาว รูปอักษร 99, 44 และ M เป็ นต้นและอาจมีชื่อเรียกต่าง ๆกัน ออกไปนิยมเสพ โดยรับประทานโดยตรงหรือผสมในอาหาร หรือเครื่องดื่ม หรือ เสพโดยนายาบ้ามาบดแล้วนาไปลนไฟแล้วสูดดมเป็ นไอระเหย เข้าสู่ร่างกาย
  • 15. โคเคน ผลและใบ โคคา โคเคน เป็ นสารที่สกัดได้จากใบของต้นโคคา มีฤทธิ์กระตุ้น ประสาท มีลักษณะเป็ นผงสีขาวผลึกเป็ นก้อนใส รสขมไม่มี กลิ่น ต้นโคคาจะมีลักษณะพิเศษคือเส้นกลางใบจะเป็ นสันนูน ออกมาให้เห็นทั้งด้านหน้า และด้านหลังของใบ การผลิต โคเคนจะต้องนาใบโคเคนไปแปรสภาพ โดยอาศัยอุปกรณ์และ น้ายาเคมีต่าง ๆ สาหรับโคเคนที่แพร่ระบาดพบว่าเป็ นโคเคนที่ อยู่ในรูปของโคเคนไฮโดรคลอไรด์มีลักษณะผลึกสีขาวและ ละลายน้าได้ดีเสพโดยการสูดเข้าไปในโพรงจมูกซึ่งจะมีฤทธิ์ ในการกระตุ้นประสาทอย่างรวดเร็ว อาการของผู้เสพโคเคน ระยะแรกที่เสพจะกระตุ้นประสาททา ให้เกิดอาการไร้ความรู ้สึก ดูเหมือนมีกาลังมากขึ้น มีความ กระปรี้กระเปร่าไม่เหนื่อย เมื่อหมดฤทธิ์ยาร่างกายจะ ่ ้ ้ ดอกโคคา
  • 16. กระท่อม กระท่อมก้านแดง กระท่อมก้าน กระท่อมเป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีแก่นและเนื้อไม้แข็ง ใบหนาทึบ ลักษณะคล้ายใบกระดังงา หรือใบฝรั่ง ใบ กระท่อมมีฤทธิ์ในการกระตุ้นประสาทที่นิยมนามาเสพ มี 2 ชนิด หนึ่งมีก้าน และเส้นใบเป็ นสีแดงเรื่อ ๆ อีก ชนิดหนึ่งมีก้านและเส้นใบเป็ นสีเขียว นิยมเสพโดยการ เคี้ยวใบกระท่อมดิบ ๆ อาการของผู้เสพกระท่อม ร่างกายทรุดโทรมมาจาก การทางานเกินกาลัง ปวดเมื่อยตามข้อและกล้ามเนื้อ ผิวหนังแห้งและดา มีสภาพจิตใจสับสน เมื่อเสพไป นาน ๆ สักระยะเวลาหนึ่งจะเกิดอาการประสานหลอน
  • 17. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ เห็ด ขี้ควาย แอลเอสดี ฯลฯ สาหรับแอลเอสดีจะมีลักษณะ เป็ นผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น มักพบอยู่ในรูปของกระดาษ เคลือบในลักษณะแสตมป์ (magicpaper) เม็ดกลม แบน กลมรี แคปซูล ส่วนเห็ดขี้ควายมีสารที่ออกฤทธิ์ ทาลายประสาทอย่างรุนแรงเมื่อบริโภคเข้าไปจะเกิด อาการเมา เคลิบเคลิ้ม และถึงขนาดบ้าคลั่งในที่สุด ฤทธิ์ ของยาเสพติดกลุ่มนี้มีผลต่อระบบประสาทสมองส่วน สัมผัสทั้ง 5 โดยฤทธิ์ของยาเสพติดกลุ่มนี้จะไปบิดเบือน ทาให้การมองเห็น การได้ยิน การชิมรส การสัมผัส และการดมกลิ่น เปลี่ยนแปลงไปจากที่เป็ นจริงเห็นภาพ ลวงตาเป็ นจินตนาการที่มีทั้งที่ดี สวยงามและน่ากลัวจน ์ ้
  • 18. ยาเอ็คซ ์ ตาซี เอ็คซ ์ ตาซ 3,4 Methylenedioxymethamphetamine , MDMA (เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน) ในประเทศไทยกาหนดให้สารนี้ เป็ นวัตถุออกฤทธิ์ ประเภทที่ 1 มักจะพบในลักษณะที่เป็ นแคปซูล ทั้งขนาดเล็กและใหญ่สีต่าง ๆหรือเป็ นเม็ดกลม แบน สีขาว สีน้าตาล สีชมพู ในบางประเทศ รู ้จักกันในนามยา “E” หรือ “ADAM” เอ็คซ ์ตาวี มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทเช่นเดียวกับยาบ้าแต่ รุนแรงมากกว่าจะออกฤทธิ์หลังจากเสพเข้าไป แล้วประมาณ 30-45 นาที และจะมีฤทธิ์อยู่ได้ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง ยาเอ็คซ ์ตาซีจะออกฤทธิ์ อย่างเงียบ ๆ โดยมีผลทาให้สาเหนียกของการได้ ยินเสียงและการมองเห็นสีสูงเกินปกติ การออก ฤทธิ์ในระยะสั้น ทาให้เกิดอาการเหงื่อออกปาก แห้ง ไม่มีอาการหิว หัวใจเต้นเร็ว และความดัน สูง มีอาการคลื่นเหียน บางครั้งก็มีอาการเกร๊งที่ แขนขา และขากรรไกร ผู้เสพอาจจะรู ้สึกสัมผัส สิ่งต่าง ๆรุนแรงขึ้น รู ้สึกผ่อนคลาย มึนและ สงบ หลังจากนั้นผู้เสพอาจรู ้สึกเหนื่อย และ
  • 19. เห็ด ขี้ควาย ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท เห็ดขี้ควาย เป็ นสารเสพติดประเภทหนึ่งจัดอยู่ใน จาพวกยาเสพติดประเภทหลอนประสาท มีสารที่ ออกฤทธิ์ทาลายประสาทอย่างรุนแรงเมื่อบริโภคเข้า ไปจะเกิดอาการเมา เคลิบเคลิ้ม และถึงขนาดบ้าคลั่ง ในที่สุด
  • 20.  ยาเคตามีน (Ketamine)เป็ นยาเสพติดที่ผลิตขึ้นโดย การสังเคราะห์ จัดให้เป็ นยาควบคุมพิเศษใช้ในทาง การแพทย์เป็ นยาสลบสาหรับผ่าตัดระยะสั้น มีฤทธิ์ หลอนประสาทอย่างรุนแรง เรียกกันทั่วไปว่า ยาเค หรือ เคตามีน เคตาวา เคตารา โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปผง แคปซูล ยาเม็ด ผลึกและสารละลาย  อาการของผู้เสพยาเคมีการนาเคตามีนมาใช้ในทางที่ ผิด เพื่อให้เกิดความมึนเมา นิยมเสพ โดยการนัตถุ์หรือ สูดดม จะมีฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ผู้เสพจะรู ้สึก เคลิบเคลิ้ม รู ้สึกว่าตนเองมีอานาจพิเศษ ซึ่งสร้าง ความสุขให้คล้ายกับอาการหลอนทางประสาท ผู้ที่ใช้ ยาจะมีอาการสูญเสียกระบวนการทาง ความคิด ตาลาย ร่างกายเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ ์กัน ความคิดสับสน ถ้าใช้ เคตามีนในปริมาณที่มาก
  • 21.  ยาเสพติดประเภทผสมผสาน ผู้เสพจะมีอาการโดย เบื้องต้นจะกระตุ้นประสาทให้ผู้เสพตื่นตัว ร่าเริง ช่าง พูด หัวเราะ ตลอดเวลาต่อมาจะกดประสาททาให้ รู ้สึกคล้ายเมาเหล้า มีอาการง่วงนอน เซื่องซึม เมื่อ เสพมากขึ้นจะหลอนประสาท อาจเห็นภาพลวง ตา หูแวว หรือมีการหวาดระแวง ความคิดสับสน ควบคุมตนเองไม่ได้ ผู้เสพกัญชาส่วนใหญ่มักป่ วย เป็ นโรคจิตในภายหลัง ยาเสพติดประเภท ผสมผสาน