SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
สามทศวรรษ
ห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
26 สิงหาคม 2554
การจัดงาน “สามทศวรรษ”
ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
26 สิงหาคม 2554
ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ
การอ่าน อันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและได้ให้
ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
ดาเนินงานจะครบรอบ 30 ปี ในปี พ.ศ. 2554 ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการ
บริการวิชาการและสนองนโยบายวาระแห่งชาติ โครงการฯ จึงเห็นควรจัดกิจกรรม
ที่จะขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม
สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน โดย
แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม
การอ่าน พัฒนา และเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้
ครอบคลุมทุกตาบล/ชุมชน อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน
เป็นที่สนใจมากขึ้น และเพื่อหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการอ่าน
สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด
กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็ง
ผู้ร่วมโครงการประกอบด้วย คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร)
นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ สานักงาน
การศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ และศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น
กิจกรรมประกอบด้วย
1. นิทรรศการ 3 ทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น”
(แสดงพัฒนาการ สะท้อนผลงานในรอบ 30 ปี ถ่ายทอดนวัตกรรม)
2. สัมนาความร่วมมือเครือข่ายรักการอ่าน (สร้างต้นแบบการดาเนินงาน
ห้องสมุดเคลื่อนที่)
การจั ด งาน นี้ มุ่ งให้ เกิด 1)เค รือ ข่ายรัก การอ่ าน ใน ภ าค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ดี ทาให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วม
ของชุมชนเป็นประเด็นในการขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง
ทรัพยากรการอ่าน และสื่อการเรียนรู้ 2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็น
ต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่าย
เชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแลตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนว
ทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษา
สาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนินกิจกรรมเป็นการบูรณา
การการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อ
บุคคลภายนอก
กาหนดการ
“สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น”
วันที่ 26 สิงหาคม 2554
ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน
09.00-09.15 น. พิธีเปิด
09.15-10.30 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร
ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป กรรมการ
ผู้จัดการ มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก
10.15-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30-12.00 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร
ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป (ต่อ)
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. วีดิทัศน์ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับงานรณรงค์รักการอ่านให้ยั่งยืน”
และสาธิตกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
14.30-16.00 น. เสวนาสะท้อนผลการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.ดร.สมาน ลอยฟ้า
ประธานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปี 2553 และ รศ.ดร.กุลธิดา ท้วมสุข ประธานกลุ่ม
วิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร
16.00-16.30 น. พิธีปิด
นิทรรศการ
“สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น”
ตลอดงาน
สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โครงการห้องสมุดเคลื่อนสาหรับเด็กในชนบท ของภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.
2524 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2554 เป็นระยะเวลายาวนานถึง 30 ปี มี
กิจกรรมหลากหลายที่พัฒนาไปตามสภาพแวดล้อมเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้เด็กใน
ชนบทได้มีโอกาสอ่านหนังสือที่เหมาะสมกับวัยและความสนใจ โดยจัดบริการด้านการ
อ่านและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็ก
ขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้ผู้บริหารและครูมีความรู้ความเข้าใจเห็นความสาคัญของ
ห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้และเห็นความจาเป็นในการจัดบริการห้องสมุด
เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างครูอาจารย์ ในโรงเรียนและชุมชน ช่วยพัฒนาครูที่ทา
หน้าที่บรรณารักษ์ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดดาเนินการบริการห้องสมุดสาหรับ
โรงเรียนได้อย่างเหมาะสม โดยจัดฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการในด้านต่างๆ ทั้งการจัด
ดาเนินงานและการให้บริการของห้องสมุด ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ
ดาเนินงานตามความต้องการ และขยายกลุ่มเป้าหมายออกไปยังชุมชนต่างๆ ด้วย
1. ทศวรรษแรก “จับจุด” (พ.ศ. 2524-2534)
ทศวรรษแรกเป็นช่วงของการจับจุด หรือแสวงหาแนวทาง คือ เริ่มทดลอง
ให้บริการ และมีการปรับวิธีการ รูปแบบกิจกรรม ลักษณะการให้บริการให้เหมาะสม
และสอดคล้องตามความสามารถและความต้องการของผู้รับบ ริการ โครงการห้องสมุด
เคลื่อนที่เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2524 โดยภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการให้บริการ
วิชาการสู่ชุมชน ดังนั้นเพื่อช่วยส่งเสริมการศึกษาของชาวชนบทโดยช่วยพัฒนาโอกาส
และความสามารถในการอ่านและการเรียนรู้ของนักเรียน ในภูมิภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ รองศาสตราจารย์ศรีทอง สีหาพงศ์ หัวหน้าภาควิชาในขณะนั้น จึง
ได้ริเริ่มโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ไปสู่ชนบท โดยรองศาสตราจารย์จินดา โพธิ์เมือง
คณบดี ได้นาโครงการไปเสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์การ UNICEF ประเทศไทย
และแหล่งเงินทุนอื่นๆ ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทโตโยต้ามอเตอร์จากัด (ประเทศ
ญี่ปุ่น) บริจาครถโตโยต้าไฮเอซให้ 1 คัน ติดตั้งชั้นหนังสือ พร้อมโต๊ะเก้าอี้ในรถ 1 ชุด
มูลค่า สองแสนห้าหมื่นบาท โดยส่งมอบเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2524 เพื่อใช้ในโครงการ
ในระยะแรกได้รับเงินทุนช่วยเหลือจากหน่วยงาน องค์กรต่างๆเช่น มูลนิธิเอเชีย หน่วย
อาสาสมัครแคนาดา องค์การ JSRC (Japan Sotoshu Relief Committee) มูลนิธิ
พุทธสงเคราะห์ BAC (Buddhist Aid Center)และผู้มีจิตศรัทธา บริจาคมาเป็นครั้ง
คราว นอกจากนี้โครงการยังได้จัดหาทุนสาหรับดาเนินการโดยจาหน่ายเสื้อผ้า สิ่งของ
เครื่องใช้ที่ได้รับบริจาค ส่วนใหญ่ได้รับความสนับสนุนและร่วมมือจากคณะแม่บ้าน
ญี่ปุ่นในจังหวัดขอนแก่นเป็นประจาทุกปี ต่อมาจึงเริ่มได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก
มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2529 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
1.1 การดาเนินงาน ได้เริ่มต้นในเดือนพฤษภาคม 2524 โดยเริ่มสารวจและ
ออกทดลองให้บริการในหมู่บ้าน แต่ประชาชนส่วนใหญ่ออกไปประกอบอาชีพ ดังนั้น
โครงการฯเห็นว่าการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านควรเริ่มที่เด็ก จึงเปลี่ยนมาใช้โรงเรียนระดับ
ประถมศึกษาเป็นศูนย์กลางในการให้บริการ โดยมีอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็น
ผู้รับผิดชอบการปฎิบัติงานให้บริการ โดยมิได้รับค่าตอบแทน มีบุคลากรประจาทางาน
เต็มเวลา 2 คน และพนักงานขับรถ 1 คน ซึ่งได้รับความช่วยเหลือด้านการเงินสาหรับ
บุคลากรจาก Ohanashi Caravan Center และจาก Buddhist Aid Center (BAC)
ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี ในบางช่วงจะมีนักศึกษาของสาขาวิชาอาสาสมัครออกไปช่วย
ให้บริการด้วย
1.2. บริการและกิจกรรม ในทศวรรษแรกมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจานวน 5
รุ่น ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 42 โรงเรียน จัดตั้งห้องสมุดโรงเรียน จานวน 35
แห่ง รูปแบบการดาเนินกิจกรรมแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 6 เดือนแรก ฝ่ายโครงการเป็นผู้จัดบริการด้านการอ่าน จัด
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน รวมทั้งจัดบริการตู้หนังสือไว้ประจาแต่ละ โรงเรียนโดยแยก
หนังสือตามระดับชั้นเป็น 3 กลุ่ม คือ ป.1 – 2, ป.3 – 4 และ ป.5 – 6 มีครูของโรงเรียน
ช่วยควบคุมนักเรียน และสังเกตการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 2 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเข้ามาร่วมจัดกิจกรรมต่างๆกับ
ฝ่ายโครงการ
ขั้นตอนที่ 3 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเป็นผู้จัดกิจกรรมโดยฝ่าย
โครงการเป็นผู้ช่วยเหลือจัดเตรียมกิจกรรมและสังเกตการณ์การจัดกิจกรรมของครู
ขั้นตอนที่ 4 6 เดือนสุดท้าย ฝ่ายโครงการฯให้คาแนะนาช่วยเหลือ
สนับสนุนการจัดตั้งห้องสมุด หรือมุมหนังสือของโรงเรียนตามศักยภาพหรือความพร้อม
ของโรงเรียน
สาหรับกิจกรรมหลัก คือ บริการด้านการอ่านและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
เช่น การเล่านิทาน การวาดภาพระบายสี การพับกระดาษ การเขียนเรื่องจากภาพ การ
แสดงหุ่น การร้องเพลงและกิจกรรมเข้าจังหวะ จัดตามความเหมาะสมของเด็กในแต่ละ
ช่วงชั้นด้วย
นอกจากนี้โครงการยังมีกิจกรรมให้บริการวิชาการในรูปแบบอื่นๆ อีกด้วย
เช่น จัดบรรยายพิเศษในหัวข้อต่างๆ อบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อที่เป็นประโยชน์ต่อ
การดาเนินงานของครู เช่น ห้องสมุดในบ้าน การจัดทาและแสดงหุ่น ตลอดจนถวาย
ความรู้แด่พระสงฆ์ เรื่องการดาเนินงานห้องสมุด จากโครงการจัดตั้งห้องสมุดในวัดเนื่อง
ในโอกาสฉลองครบรอบพระชนมายุ 60 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เป็นต้น
2. ทศวรรษที่สอง “จ่อไฟ ใส่เชื้อ” (พ.ศ. 2535-2543)
ในทศวรรษที่สองนี้เรียกได้ว่าเป็น ช่วงจ่อไฟ ใส่เชื้อ เนื่องจากเป็นระยะที่รูปแบบ
กิจกรรมและลักษณะการให้บริการมีการปรับขยายตัวมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของชุมชนประกอบกับแนวคิดของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.
2542 เน้นการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตและให้มีการจัดแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับชุมชน
กิจกรรมที่ขยายเพิ่มจากกิจกรรมหลักส่วนใหญ่เน้นหนักไปในด้านการพัฒนาส่งเสริมการ
จัดตั้งห้องสมุด การจัดตั้งศูนย์หนังสือ ตลอดจนจัดอบรมเชิงปฎิบัติการด้านการจัด
ดาเนินงานและบริการห้องสมุดให้กับครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ของสานักงานการ
ประถมศึกษาอาเภอ และสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
2.1 การดาเนินงาน อยู่ในรูปของคณะกรรมการ มีคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์เป็นที่ปรึกษา หัวหน้าภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์เป็น
ประธานคณะกรรมการ และอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็นกรรมการ ในช่วงนี้โครงการ
มีบุคลากรประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวจานวน 3 คนและพนักงาน
ขับรถ 2 คนโดยได้รับความช่วยเหลือด้านเงินเดือนจาก Ohanashi Caravan Center,
Buddhist Aid Center (BAC) และจากกระทรวงไปรษณีย์ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี มี
รถสาหรับออกให้บริการ 2 คันคือ รถตู้โตโยต้าไฮเอซ และรถตู้นิสสันซึ่งได้รับบริจาคเพิ่ม
2.2 บริการและกิจกรรม ในทศวรรษนี้มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการอีก 5 รุ่น
ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 54 โรงเรียน มี 3 กิจกรรมหลักคือ
1. การให้บริการการอ่านหนังสือ แบ่งออกเป็น
- การให้บริการการอ่านที่โรงเรียนตามตารางนัดหมาย
- การให้บริการหมุนเวียนตู้หนังสือที่ประจาอยู่แต่ละ
โรงเรียนทุกเดือน
- การให้บริการการอ่านภาคฤดูร้อนโดยจัดตู้หนังสือไป
ให้บริการที่บ้านอาสาสมัครในหมู่บ้าน
2. การให้บริการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ประกอบด้วย การเล่านิทาน การ
แสดงละครหุ่น การวาดภาพระบายสี การเล่นเกม การร้องเพลง และกิจกรรมอื่นๆ
จานวนนักเรียนที่ได้รับบริการกว่าห้าพันคนในแต่ละปี การดาเนินงานของโครงการได้มุ่ง
ให้ครูมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม โดยให้ครูเป็นผู้คิด และออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการ
ใช้ห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในแต่ละเดือน ส่วนโครงการเป็นผู้จัดเตรียม
วัสดุอุปกรณ์ให้
3. การสนับสนุนให้จัดตั้งหรือพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนและพัฒนาความรู้
ความสามารถของครู โดยจัดฝึกอบรมการจัดดาเนินงานและบริการห้องสมุด
4. กิจกรรมและบริการอื่นๆ
4.1 การจัดโครงการยอดนักอ่าน เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียน
อ่านหนังสือของโครงการตลอดปีการศึกษาของแต่ละปี โดยโครงการฯ คัดเลือกนักเรียน
จากสมุดบันทึกการอ่านของนักเรียนเป็นยอดนักอ่านของแต่ละโรงเรียน โดยแยกเป็น
ระดับชั้น และจัดพิธีมอบรางวัลให้แก่นักเรียน งบประมาณการจัดหารางวัลสาหรับ
นักเรียนยอดนักอ่านประจาแต่ละปีการศึกษาได้รับการสนับสนุนทั้งจากจากงบประมาณ
แผ่นดิน และบริษัทห้างร้านต่างๆ ในเมืองขอนแก่น
4.2 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่
โรงเรียนในเครือข่ายซึ่งจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและได้รับรางวัลในด้านกิจกกรรม
ส่งเสริมการอ่าน ทาให้ครูได้แลกเปลี่ยนความรู้และเป็นแรงจูงใจในการดาเนินงานใน
การส่งเสริมการอ่านต่อไป
4.3 จัดการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการให้ครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา ในช่วงปี พ.ศ. 2535-2539 มีโรงเรียนสังกัดสานักงานการ
ประถมศึกษาอาเภอและสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 10 จังหวัด ได้แก่ นครพนม ศรีสะเกษ มุกดาหาร
หนองคาย อุบลราชธานี ชัยภูมิ สุรินทร์ เลย บุรีรัมย์ และยโสธร เข้ารับการอบรมรวม
14 รุ่น รุ่นละประมาณ 80-120 คน
3. ทศวรรษที่สาม “เกื้อกูล” (พ.ศ. 2544-2553)
ในช่วงทศวรรษนี้ โครงการได้ปรับลักษณะการให้บริการทั้งระยะเวลาและ
รูปแบบของกิจกรรม คือ นอกจากเน้นการพัฒนาโอกาสและความสามารถในการอ่าน
และการเรียนรู้ของนักเรียน การกระตุ้นผู้บริหารและครูให้มีความรู้ความเข้าใจและเห็น
ความสาคัญของห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนช่วยพัฒนาครูบรรณารักษ์
ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดบริการห้องสมุดสาหรับโรงเรียนแล้ว ยังขยายในด้าน
การจัดกิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดประโยชน์กับ
นักเรียนทั้งในแง่ของการพัฒนาการอ่าน การขยายโลกทัศน์การเรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆ ซึ่ง
จะส่งผลต่อการเรียนรู้วิชาต่างๆได้ดีขึ้น ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยด้านการบริการวิชาการที่เน้น
ให้มีผลกระทบต่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาสังคมภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
(Impact on Community) และผลงานการบริการวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือของ
ชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน (Community Participation) โครงการฯจึงเห็นควรจัด
ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน ในโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน
รณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน เพื่อแสวงหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการ
อ่าน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน
และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป
3.1 การดาเนินงาน ยังอยู่ในรูปของคณะกรรมการเช่นเดิมแต่มีบุคลากร
ประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวลดลงเหลือ 1 คนและพนักงานขับรถ
1 คนโดยองค์กรที่เคยให้การสนับสนุนด้านการเงินได้งดความช่วยเหลือ เนื่องจากในช่วง
ระยะเวลานี้ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548
เป็นต้นมา (รุ่นที่ 12) โครงการจึงปรับเปลี่ยนทั้งรูปแบบและลดจานวนโรงเรียนและ
ระยะเวลาในการให้บริการลงเหลือรุ่นละ 1 ปีงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับแนว
ทางการจัดการงบประมาณที่เปลี่ยนแปลงไป
3.2 บริการและกิจกรรม ที่จัดในช่วงนี้ยังคงประกอบด้วยกิจกรรมหลักและ
บริการต่างๆเช่นเดิม แต่เน้นให้ครูเป็นผู้ดาเนินการและโครงการเป็นฝ่ายสนับสนุนให้
คาแนะนาและช่วยแก้ปัญหาในการดาเนินงาน สาหรับกิจกรรมหลักนี้ ยังคงมี
ความสาคัญเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์หลักของโครงการเนื่องจากการอ่านเป็นพื้นฐาน
และจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนาประเทศทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจ และโครงการได้
ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน โดยมุ่งสร้างโอกาสในการอ่านให้กับ
เด็กในชนบท ด้วยการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน
และการพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพื่อช่วยส่งเสริมทักษะการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน โดยในการนี้มีวัตถุประสงค์สาคัญในการบูรณาการการ
เรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการให้บริการ
วิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการทากิจกรรม
ร่วมกับชุมชนในโครงการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชนรณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน
ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ได้แก่
1. อบรมต้นกล้ารักการอ่าน ซึ่งมุ่งให้ความรู้พื้นฐานแก่เยาวชนซึ่งจะทาหน้าที่
เป็นแกนนาอายุระหว่าง 10-15 ปี ในการจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์ให้เยาวชนและ
ประชาชนในชุมชนสนใจและเข้าร่วมกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านอันจะช่วยพัฒนา
ศักยภาพในการเรียนรู้ของคนชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป
2. การประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการอ่าน (นักประชาสัมพันธ์น้อย)
เป็นโครงการย่อย ที่มุ่งให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจหลักการประชาสัมพันธ์และ
สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยรักการอ่านให้
เกิดขึ้นภายในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
3. ไอทีเพื่อการอ่าน การจัดทาเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยมี
จุดมุ่งหมายให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสร้างเว็บไซต์ของหมู่บ้าน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูล
และประชาสัมพันธ์หมู่บ้านให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วยังได้นาแนวความคิด
ของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาประยุกต์ใช้กับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลหมู่บ้าน เพื่อความ
ทันสมัย สามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ที่สนใจได้อย่าง
รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4. โครงการรักษ์ใบลานสานความรู้ เพื่อให้ความรู้แก่ชุมชน และปฏิบัติการ
อนุรักษและฟนฟูใบลานที่มีอยูในชุมชนใหคงอยู ตลอดจนบันทึกรายละเอียดรายการ
ความรูในใบลาน และสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยใช้ทั้งระบบมือ และเทคโนโลยี
ในอนาคตฐานข้อมูลใบลานที่รวบรวมนี้ สามารถใช้เป็นแหล่งสนับสนุนการ
เรียนการสอนวิชาท้องถิ่นของโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ของชุมชน เป็นการกระตุ้นให้
ประชาชนในชุมชน และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ได้เข้าใจคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้าน ตระหนักถึงความสาคัญใน
การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนเอง ตลอดจนเกิดความรัก ความหวงแหน
และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในฐานะที่เป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคนี้ ส่งผล
ให้เกิดการส่งเสริมการอนุรักษ์ที่เป็นวิชาการที่เหมาะสมต่อไป
3. ย่างเข้าสู่ทศวรรษที่สี่ (พ.ศ. 2554 -2555)
พ.ศ. 2554
โครงการที่ดาเนินการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น การรณรงค์ให้รัก
การอ่านอย่างยั่งยืน
หลักการและเหตุผล
โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ
การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้
ให้ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ
และสนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะ
ขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม
สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการ
อ่าน รวมทั้ง โดยแสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและ
สิ่งแวดล้อมในการส่งเสริมการอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้
สามารถจัดบริการได้อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน
เป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และ
เป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน
ส่งเสริมให้คนไทยรักการ
อ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย
2. เพื่อพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะช่วยส่งเสริมทักษะการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน
3. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษา
ได้มีส่วนร่วมในการ
ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์
จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนบ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้
ชุมชนอ.พระยืน นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์
กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร)
วัน เวลา และสถานที่
ครั้งที่ 1 วันที่ 9 สิงหาคม 2555 เวลา 13.30 –17.30 น. ณ โรงเรียน
บ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน อ.พระยืน
ครั้งที่ 2 วันที่ 30-31 สิงหาคม 2555 เวลา 08.30-12.30 น. ณ ห้องราช
พฤกษ์ 4 โรงแรมเซนทารา คอนเวนชั่น ขอนแก่น
วิธีดาเนินการ/กิจกรรม
1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม
กับกลุ่มเป้าหมาย
2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ
ชุมชน
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้
4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม
5. จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน
โครงการ
6. จัดอบรมไอทีเพื่อการอ่าน และวิธีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
ส่งเสริมให้รักการอ่าน
7. สรุปประเมินผลการจัดกิจกรรมและการให้บริการ สะท้อนผลและถอด
บทเรียน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) เกิดเครือข่ายรักการอ่านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการ
ดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ที่ดี ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือ
ศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นประเด็นในการ
ขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงทรัพยากรการอ่าน และสื่อการ
เรียนรู้
2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็นต้นแบบในการสร้างนิสัยรัก
การอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแล
ตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความ
ต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป
3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน
กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ แล
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก
พ.ศ. 2555
ชื่อโครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น :บริการชุมชนคนรักอ่าน
หลักการและเหตุผล
โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญขอ
การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้ให้
ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ และ
สนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะขับเคลื่อน
นโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุก
ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน รวมทั้ง โดย
แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม
การอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้อย่าง
ทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่านเป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็น
ชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด
กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน
โดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่าน
สู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย
2. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มี
ส่วนร่วมในการ
ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์
จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองขอนแก่น 3
แห่ง นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการ
จัดการสารสนเทศและการสื่อสาร)
วัน เวลา และสถานที่
วันที่ 28 มกราคม 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านสีฐาน
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้าน
สามเหลี่ยม
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านหนอง
แวง
วิธีดาเนินการ/กิจกรรม
1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม
กับกลุ่มเป้าหมาย
2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ
ชุมชน
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้
4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม
7.5 จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน
โครงการ
งบประมาณ
ใช้งบประมาณแผ่นดิน แผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน โครงการ
ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น 60,000.- บาท ดังรายละเอียดต่อไปนี้
(ถัวเฉลี่ยทุกรายการ)
1. ค่าวัสดุประกอบการจัดกิจกรรม (หนังสือและสื่อต่าง ๆ)
50,000.- บาท
2. ค่าวัสดุสานักงาน ค่าวัสดุน้ามันเชื้อเพลิง
10,000.- บาท ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่
ชุมชนโดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้
วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้าง
นิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป
3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน
กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก

More Related Content

Similar to สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนFURD_RSU
 
ARC Songkran news
ARC Songkran newsARC Songkran news
ARC Songkran newswarittha37
 

Similar to สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่ (20)

20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
V 275
V 275V 275
V 275
 
V 271 1
V 271 1V 271 1
V 271 1
 
V 263
V 263V 263
V 263
 
V 268
V 268V 268
V 268
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
V 301
V 301V 301
V 301
 
V 265
V 265V 265
V 265
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
Songkran news
Songkran newsSongkran news
Songkran news
 
ARC Songkran news
ARC Songkran newsARC Songkran news
ARC Songkran news
 
รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553
 
V 270
V 270V 270
V 270
 
V250
V250V250
V250
 
V250
V250V250
V250
 

สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่

  • 2. การจัดงาน “สามทศวรรษ” ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น 26 สิงหาคม 2554 ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ การอ่าน อันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและได้ให้ ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ ดาเนินงานจะครบรอบ 30 ปี ในปี พ.ศ. 2554 ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการ บริการวิชาการและสนองนโยบายวาระแห่งชาติ โครงการฯ จึงเห็นควรจัดกิจกรรม ที่จะขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน โดย แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม การอ่าน พัฒนา และเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้ ครอบคลุมทุกตาบล/ชุมชน อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน เป็นที่สนใจมากขึ้น และเพื่อหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการอ่าน สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็ง ผู้ร่วมโครงการประกอบด้วย คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ สานักงาน การศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ และศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น กิจกรรมประกอบด้วย 1. นิทรรศการ 3 ทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น” (แสดงพัฒนาการ สะท้อนผลงานในรอบ 30 ปี ถ่ายทอดนวัตกรรม) 2. สัมนาความร่วมมือเครือข่ายรักการอ่าน (สร้างต้นแบบการดาเนินงาน ห้องสมุดเคลื่อนที่) การจั ด งาน นี้ มุ่ งให้ เกิด 1)เค รือ ข่ายรัก การอ่ าน ใน ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ดี ทาให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วม ของชุมชนเป็นประเด็นในการขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง ทรัพยากรการอ่าน และสื่อการเรียนรู้ 2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็น ต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่าย เชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแลตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนว ทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษา สาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนินกิจกรรมเป็นการบูรณา การการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อ บุคคลภายนอก
  • 3. กาหนดการ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น” วันที่ 26 สิงหาคม 2554 ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.15 น. พิธีเปิด 09.15-10.30 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป กรรมการ ผู้จัดการ มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก 10.15-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30-12.00 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป (ต่อ) 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. วีดิทัศน์ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับงานรณรงค์รักการอ่านให้ยั่งยืน” และสาธิตกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 14.30-16.00 น. เสวนาสะท้อนผลการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.ดร.สมาน ลอยฟ้า ประธานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2553 และ รศ.ดร.กุลธิดา ท้วมสุข ประธานกลุ่ม วิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร 16.00-16.30 น. พิธีปิด
  • 4. นิทรรศการ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ตลอดงาน สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการห้องสมุดเคลื่อนสาหรับเด็กในชนบท ของภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2554 เป็นระยะเวลายาวนานถึง 30 ปี มี กิจกรรมหลากหลายที่พัฒนาไปตามสภาพแวดล้อมเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ของชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้เด็กใน ชนบทได้มีโอกาสอ่านหนังสือที่เหมาะสมกับวัยและความสนใจ โดยจัดบริการด้านการ อ่านและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็ก ขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้ผู้บริหารและครูมีความรู้ความเข้าใจเห็นความสาคัญของ ห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้และเห็นความจาเป็นในการจัดบริการห้องสมุด เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างครูอาจารย์ ในโรงเรียนและชุมชน ช่วยพัฒนาครูที่ทา หน้าที่บรรณารักษ์ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดดาเนินการบริการห้องสมุดสาหรับ โรงเรียนได้อย่างเหมาะสม โดยจัดฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการในด้านต่างๆ ทั้งการจัด ดาเนินงานและการให้บริการของห้องสมุด ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ ดาเนินงานตามความต้องการ และขยายกลุ่มเป้าหมายออกไปยังชุมชนต่างๆ ด้วย 1. ทศวรรษแรก “จับจุด” (พ.ศ. 2524-2534) ทศวรรษแรกเป็นช่วงของการจับจุด หรือแสวงหาแนวทาง คือ เริ่มทดลอง ให้บริการ และมีการปรับวิธีการ รูปแบบกิจกรรม ลักษณะการให้บริการให้เหมาะสม และสอดคล้องตามความสามารถและความต้องการของผู้รับบ ริการ โครงการห้องสมุด เคลื่อนที่เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2524 โดยภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการให้บริการ วิชาการสู่ชุมชน ดังนั้นเพื่อช่วยส่งเสริมการศึกษาของชาวชนบทโดยช่วยพัฒนาโอกาส และความสามารถในการอ่านและการเรียนรู้ของนักเรียน ในภูมิภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รองศาสตราจารย์ศรีทอง สีหาพงศ์ หัวหน้าภาควิชาในขณะนั้น จึง ได้ริเริ่มโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ไปสู่ชนบท โดยรองศาสตราจารย์จินดา โพธิ์เมือง คณบดี ได้นาโครงการไปเสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์การ UNICEF ประเทศไทย และแหล่งเงินทุนอื่นๆ ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทโตโยต้ามอเตอร์จากัด (ประเทศ ญี่ปุ่น) บริจาครถโตโยต้าไฮเอซให้ 1 คัน ติดตั้งชั้นหนังสือ พร้อมโต๊ะเก้าอี้ในรถ 1 ชุด มูลค่า สองแสนห้าหมื่นบาท โดยส่งมอบเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2524 เพื่อใช้ในโครงการ ในระยะแรกได้รับเงินทุนช่วยเหลือจากหน่วยงาน องค์กรต่างๆเช่น มูลนิธิเอเชีย หน่วย อาสาสมัครแคนาดา องค์การ JSRC (Japan Sotoshu Relief Committee) มูลนิธิ พุทธสงเคราะห์ BAC (Buddhist Aid Center)และผู้มีจิตศรัทธา บริจาคมาเป็นครั้ง คราว นอกจากนี้โครงการยังได้จัดหาทุนสาหรับดาเนินการโดยจาหน่ายเสื้อผ้า สิ่งของ เครื่องใช้ที่ได้รับบริจาค ส่วนใหญ่ได้รับความสนับสนุนและร่วมมือจากคณะแม่บ้าน ญี่ปุ่นในจังหวัดขอนแก่นเป็นประจาทุกปี ต่อมาจึงเริ่มได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2529 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
  • 5. 1.1 การดาเนินงาน ได้เริ่มต้นในเดือนพฤษภาคม 2524 โดยเริ่มสารวจและ ออกทดลองให้บริการในหมู่บ้าน แต่ประชาชนส่วนใหญ่ออกไปประกอบอาชีพ ดังนั้น โครงการฯเห็นว่าการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านควรเริ่มที่เด็ก จึงเปลี่ยนมาใช้โรงเรียนระดับ ประถมศึกษาเป็นศูนย์กลางในการให้บริการ โดยมีอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็น ผู้รับผิดชอบการปฎิบัติงานให้บริการ โดยมิได้รับค่าตอบแทน มีบุคลากรประจาทางาน เต็มเวลา 2 คน และพนักงานขับรถ 1 คน ซึ่งได้รับความช่วยเหลือด้านการเงินสาหรับ บุคลากรจาก Ohanashi Caravan Center และจาก Buddhist Aid Center (BAC) ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี ในบางช่วงจะมีนักศึกษาของสาขาวิชาอาสาสมัครออกไปช่วย ให้บริการด้วย 1.2. บริการและกิจกรรม ในทศวรรษแรกมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจานวน 5 รุ่น ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 42 โรงเรียน จัดตั้งห้องสมุดโรงเรียน จานวน 35 แห่ง รูปแบบการดาเนินกิจกรรมแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 6 เดือนแรก ฝ่ายโครงการเป็นผู้จัดบริการด้านการอ่าน จัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน รวมทั้งจัดบริการตู้หนังสือไว้ประจาแต่ละ โรงเรียนโดยแยก หนังสือตามระดับชั้นเป็น 3 กลุ่ม คือ ป.1 – 2, ป.3 – 4 และ ป.5 – 6 มีครูของโรงเรียน ช่วยควบคุมนักเรียน และสังเกตการจัดกิจกรรม ขั้นตอนที่ 2 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเข้ามาร่วมจัดกิจกรรมต่างๆกับ ฝ่ายโครงการ ขั้นตอนที่ 3 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเป็นผู้จัดกิจกรรมโดยฝ่าย โครงการเป็นผู้ช่วยเหลือจัดเตรียมกิจกรรมและสังเกตการณ์การจัดกิจกรรมของครู ขั้นตอนที่ 4 6 เดือนสุดท้าย ฝ่ายโครงการฯให้คาแนะนาช่วยเหลือ สนับสนุนการจัดตั้งห้องสมุด หรือมุมหนังสือของโรงเรียนตามศักยภาพหรือความพร้อม ของโรงเรียน สาหรับกิจกรรมหลัก คือ บริการด้านการอ่านและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น การเล่านิทาน การวาดภาพระบายสี การพับกระดาษ การเขียนเรื่องจากภาพ การ แสดงหุ่น การร้องเพลงและกิจกรรมเข้าจังหวะ จัดตามความเหมาะสมของเด็กในแต่ละ ช่วงชั้นด้วย นอกจากนี้โครงการยังมีกิจกรรมให้บริการวิชาการในรูปแบบอื่นๆ อีกด้วย เช่น จัดบรรยายพิเศษในหัวข้อต่างๆ อบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อที่เป็นประโยชน์ต่อ การดาเนินงานของครู เช่น ห้องสมุดในบ้าน การจัดทาและแสดงหุ่น ตลอดจนถวาย ความรู้แด่พระสงฆ์ เรื่องการดาเนินงานห้องสมุด จากโครงการจัดตั้งห้องสมุดในวัดเนื่อง ในโอกาสฉลองครบรอบพระชนมายุ 60 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นต้น
  • 6. 2. ทศวรรษที่สอง “จ่อไฟ ใส่เชื้อ” (พ.ศ. 2535-2543) ในทศวรรษที่สองนี้เรียกได้ว่าเป็น ช่วงจ่อไฟ ใส่เชื้อ เนื่องจากเป็นระยะที่รูปแบบ กิจกรรมและลักษณะการให้บริการมีการปรับขยายตัวมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการของชุมชนประกอบกับแนวคิดของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 เน้นการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตและให้มีการจัดแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับชุมชน กิจกรรมที่ขยายเพิ่มจากกิจกรรมหลักส่วนใหญ่เน้นหนักไปในด้านการพัฒนาส่งเสริมการ จัดตั้งห้องสมุด การจัดตั้งศูนย์หนังสือ ตลอดจนจัดอบรมเชิงปฎิบัติการด้านการจัด ดาเนินงานและบริการห้องสมุดให้กับครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ของสานักงานการ ประถมศึกษาอาเภอ และสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2.1 การดาเนินงาน อยู่ในรูปของคณะกรรมการ มีคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์เป็นที่ปรึกษา หัวหน้าภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์เป็น ประธานคณะกรรมการ และอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็นกรรมการ ในช่วงนี้โครงการ มีบุคลากรประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวจานวน 3 คนและพนักงาน ขับรถ 2 คนโดยได้รับความช่วยเหลือด้านเงินเดือนจาก Ohanashi Caravan Center, Buddhist Aid Center (BAC) และจากกระทรวงไปรษณีย์ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี มี รถสาหรับออกให้บริการ 2 คันคือ รถตู้โตโยต้าไฮเอซ และรถตู้นิสสันซึ่งได้รับบริจาคเพิ่ม 2.2 บริการและกิจกรรม ในทศวรรษนี้มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการอีก 5 รุ่น ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 54 โรงเรียน มี 3 กิจกรรมหลักคือ 1. การให้บริการการอ่านหนังสือ แบ่งออกเป็น - การให้บริการการอ่านที่โรงเรียนตามตารางนัดหมาย - การให้บริการหมุนเวียนตู้หนังสือที่ประจาอยู่แต่ละ โรงเรียนทุกเดือน - การให้บริการการอ่านภาคฤดูร้อนโดยจัดตู้หนังสือไป ให้บริการที่บ้านอาสาสมัครในหมู่บ้าน 2. การให้บริการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ประกอบด้วย การเล่านิทาน การ แสดงละครหุ่น การวาดภาพระบายสี การเล่นเกม การร้องเพลง และกิจกรรมอื่นๆ จานวนนักเรียนที่ได้รับบริการกว่าห้าพันคนในแต่ละปี การดาเนินงานของโครงการได้มุ่ง ให้ครูมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม โดยให้ครูเป็นผู้คิด และออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการ ใช้ห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในแต่ละเดือน ส่วนโครงการเป็นผู้จัดเตรียม วัสดุอุปกรณ์ให้ 3. การสนับสนุนให้จัดตั้งหรือพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนและพัฒนาความรู้ ความสามารถของครู โดยจัดฝึกอบรมการจัดดาเนินงานและบริการห้องสมุด 4. กิจกรรมและบริการอื่นๆ 4.1 การจัดโครงการยอดนักอ่าน เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียน อ่านหนังสือของโครงการตลอดปีการศึกษาของแต่ละปี โดยโครงการฯ คัดเลือกนักเรียน จากสมุดบันทึกการอ่านของนักเรียนเป็นยอดนักอ่านของแต่ละโรงเรียน โดยแยกเป็น ระดับชั้น และจัดพิธีมอบรางวัลให้แก่นักเรียน งบประมาณการจัดหารางวัลสาหรับ นักเรียนยอดนักอ่านประจาแต่ละปีการศึกษาได้รับการสนับสนุนทั้งจากจากงบประมาณ แผ่นดิน และบริษัทห้างร้านต่างๆ ในเมืองขอนแก่น 4.2 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ โรงเรียนในเครือข่ายซึ่งจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและได้รับรางวัลในด้านกิจกกรรม ส่งเสริมการอ่าน ทาให้ครูได้แลกเปลี่ยนความรู้และเป็นแรงจูงใจในการดาเนินงานใน การส่งเสริมการอ่านต่อไป
  • 7. 4.3 จัดการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการให้ครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ห้องสมุด โรงเรียนประถมศึกษา ในช่วงปี พ.ศ. 2535-2539 มีโรงเรียนสังกัดสานักงานการ ประถมศึกษาอาเภอและสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 10 จังหวัด ได้แก่ นครพนม ศรีสะเกษ มุกดาหาร หนองคาย อุบลราชธานี ชัยภูมิ สุรินทร์ เลย บุรีรัมย์ และยโสธร เข้ารับการอบรมรวม 14 รุ่น รุ่นละประมาณ 80-120 คน 3. ทศวรรษที่สาม “เกื้อกูล” (พ.ศ. 2544-2553) ในช่วงทศวรรษนี้ โครงการได้ปรับลักษณะการให้บริการทั้งระยะเวลาและ รูปแบบของกิจกรรม คือ นอกจากเน้นการพัฒนาโอกาสและความสามารถในการอ่าน และการเรียนรู้ของนักเรียน การกระตุ้นผู้บริหารและครูให้มีความรู้ความเข้าใจและเห็น ความสาคัญของห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนช่วยพัฒนาครูบรรณารักษ์ ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดบริการห้องสมุดสาหรับโรงเรียนแล้ว ยังขยายในด้าน การจัดกิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดประโยชน์กับ นักเรียนทั้งในแง่ของการพัฒนาการอ่าน การขยายโลกทัศน์การเรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆ ซึ่ง
  • 8. จะส่งผลต่อการเรียนรู้วิชาต่างๆได้ดีขึ้น ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิต และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยด้านการบริการวิชาการที่เน้น ให้มีผลกระทบต่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาสังคมภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (Impact on Community) และผลงานการบริการวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือของ ชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน (Community Participation) โครงการฯจึงเห็นควรจัด ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน ในโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน รณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน เพื่อแสวงหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการ อ่าน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป 3.1 การดาเนินงาน ยังอยู่ในรูปของคณะกรรมการเช่นเดิมแต่มีบุคลากร ประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวลดลงเหลือ 1 คนและพนักงานขับรถ 1 คนโดยองค์กรที่เคยให้การสนับสนุนด้านการเงินได้งดความช่วยเหลือ เนื่องจากในช่วง ระยะเวลานี้ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548 เป็นต้นมา (รุ่นที่ 12) โครงการจึงปรับเปลี่ยนทั้งรูปแบบและลดจานวนโรงเรียนและ ระยะเวลาในการให้บริการลงเหลือรุ่นละ 1 ปีงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับแนว ทางการจัดการงบประมาณที่เปลี่ยนแปลงไป 3.2 บริการและกิจกรรม ที่จัดในช่วงนี้ยังคงประกอบด้วยกิจกรรมหลักและ บริการต่างๆเช่นเดิม แต่เน้นให้ครูเป็นผู้ดาเนินการและโครงการเป็นฝ่ายสนับสนุนให้ คาแนะนาและช่วยแก้ปัญหาในการดาเนินงาน สาหรับกิจกรรมหลักนี้ ยังคงมี ความสาคัญเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์หลักของโครงการเนื่องจากการอ่านเป็นพื้นฐาน และจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนาประเทศทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจ และโครงการได้ ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน โดยมุ่งสร้างโอกาสในการอ่านให้กับ เด็กในชนบท ด้วยการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน และการพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพื่อช่วยส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน โดยในการนี้มีวัตถุประสงค์สาคัญในการบูรณาการการ เรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการให้บริการ วิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการทากิจกรรม ร่วมกับชุมชนในโครงการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชนรณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ได้แก่ 1. อบรมต้นกล้ารักการอ่าน ซึ่งมุ่งให้ความรู้พื้นฐานแก่เยาวชนซึ่งจะทาหน้าที่ เป็นแกนนาอายุระหว่าง 10-15 ปี ในการจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์ให้เยาวชนและ ประชาชนในชุมชนสนใจและเข้าร่วมกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านอันจะช่วยพัฒนา ศักยภาพในการเรียนรู้ของคนชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป 2. การประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการอ่าน (นักประชาสัมพันธ์น้อย) เป็นโครงการย่อย ที่มุ่งให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจหลักการประชาสัมพันธ์และ สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยรักการอ่านให้ เกิดขึ้นภายในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
  • 9. 3. ไอทีเพื่อการอ่าน การจัดทาเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยมี จุดมุ่งหมายให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสร้างเว็บไซต์ของหมู่บ้าน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูล และประชาสัมพันธ์หมู่บ้านให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วยังได้นาแนวความคิด ของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาประยุกต์ใช้กับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลหมู่บ้าน เพื่อความ ทันสมัย สามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ที่สนใจได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4. โครงการรักษ์ใบลานสานความรู้ เพื่อให้ความรู้แก่ชุมชน และปฏิบัติการ อนุรักษและฟนฟูใบลานที่มีอยูในชุมชนใหคงอยู ตลอดจนบันทึกรายละเอียดรายการ ความรูในใบลาน และสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยใช้ทั้งระบบมือ และเทคโนโลยี ในอนาคตฐานข้อมูลใบลานที่รวบรวมนี้ สามารถใช้เป็นแหล่งสนับสนุนการ เรียนการสอนวิชาท้องถิ่นของโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ของชุมชน เป็นการกระตุ้นให้ ประชาชนในชุมชน และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เข้าใจคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้าน ตระหนักถึงความสาคัญใน การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนเอง ตลอดจนเกิดความรัก ความหวงแหน และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในฐานะที่เป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคนี้ ส่งผล ให้เกิดการส่งเสริมการอนุรักษ์ที่เป็นวิชาการที่เหมาะสมต่อไป 3. ย่างเข้าสู่ทศวรรษที่สี่ (พ.ศ. 2554 -2555) พ.ศ. 2554 โครงการที่ดาเนินการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น การรณรงค์ให้รัก การอ่านอย่างยั่งยืน หลักการและเหตุผล โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้ ให้ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ และสนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะ ขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการ อ่าน รวมทั้ง โดยแสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและ สิ่งแวดล้อมในการส่งเสริมการอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้ สามารถจัดบริการได้อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน เป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และ เป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน ส่งเสริมให้คนไทยรักการ อ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย 2. เพื่อพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะช่วยส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน
  • 10. 3. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษา ได้มีส่วนร่วมในการ ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนบ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้ ชุมชนอ.พระยืน นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์ กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร) วัน เวลา และสถานที่ ครั้งที่ 1 วันที่ 9 สิงหาคม 2555 เวลา 13.30 –17.30 น. ณ โรงเรียน บ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน อ.พระยืน ครั้งที่ 2 วันที่ 30-31 สิงหาคม 2555 เวลา 08.30-12.30 น. ณ ห้องราช พฤกษ์ 4 โรงแรมเซนทารา คอนเวนชั่น ขอนแก่น วิธีดาเนินการ/กิจกรรม 1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย 2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ ชุมชน 3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้ 4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม 5. จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน โครงการ 6. จัดอบรมไอทีเพื่อการอ่าน และวิธีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ส่งเสริมให้รักการอ่าน 7. สรุปประเมินผลการจัดกิจกรรมและการให้บริการ สะท้อนผลและถอด บทเรียน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) เกิดเครือข่ายรักการอ่านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการ ดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ที่ดี ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือ ศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นประเด็นในการ ขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงทรัพยากรการอ่าน และสื่อการ เรียนรู้ 2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็นต้นแบบในการสร้างนิสัยรัก การอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแล ตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความ ต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ แล มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก พ.ศ. 2555 ชื่อโครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น :บริการชุมชนคนรักอ่าน หลักการและเหตุผล โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญขอ การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้ให้ ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
  • 11. ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ และ สนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะขับเคลื่อน นโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน รวมทั้ง โดย แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม การอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้อย่าง ทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่านเป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็น ชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน โดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่าน สู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย 2. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มี ส่วนร่วมในการ ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองขอนแก่น 3 แห่ง นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการ จัดการสารสนเทศและการสื่อสาร) วัน เวลา และสถานที่ วันที่ 28 มกราคม 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านสีฐาน วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้าน สามเหลี่ยม วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านหนอง แวง วิธีดาเนินการ/กิจกรรม 1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย 2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ ชุมชน 3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้ 4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม 7.5 จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน โครงการ งบประมาณ ใช้งบประมาณแผ่นดิน แผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน โครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น 60,000.- บาท ดังรายละเอียดต่อไปนี้ (ถัวเฉลี่ยทุกรายการ) 1. ค่าวัสดุประกอบการจัดกิจกรรม (หนังสือและสื่อต่าง ๆ) 50,000.- บาท 2. ค่าวัสดุสานักงาน ค่าวัสดุน้ามันเชื้อเพลิง 10,000.- บาท ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ
  • 12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ ชุมชนโดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้ วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้าง นิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก