SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การเชื่อมต่ออุปกรณ์สื่อสารเพื่อสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอักจุดหนึ่งนั้น สามารถทาได้หลาย
รูปแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
1. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point)
เป็นการเชื่อมต่อแบบพื้นฐาน โดยต่อจากอุปกรณ์รับหรือส่ง 2 ชุด ใช้สายสื่อสารเพียงสายเดียวมีความยาวของ
สายไม่จากัด เชื่อมต่อสายสื่อสารไว้ตอลดเวลา (Lease Line) ซึ่งสายส่งอาจจะเป็นชนิดสายส่งทางเดียว
(Simplex) สายส่งกึ่งทางคู่ (Half-duplex) หรือสายส่งทางคู่แบบสมบูรณ์ (Full-duplex) ก็ได้
2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint)
เนื่องจากค่าเช่าช่องทางในการส่งผ่านข้อมูลต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้นเปลืองสาย
สื่อสารมาก การส่งข้อมูลไม่ได้ใช้งานตลอดเวลา จึงมีแนวความคิดที่จะใช้สายสื่อสารเพียงสายเดียวแต่เชื่อมต่อกับ
หลายๆ จุด ซึ่งทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากกว่า ลักษณะการเชื่อมต่อแบบหลายจุดแสดงให้เห็นได้ดังรูป
โครงสร้างของเครือข่าย (Network Topology) จะอธิบายถึงแผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามลักษณะทาง
กายภาพ (Physical Topology) หรือทางตรรกะ (Logical Topology) ซึ่งจะแสดงถึงตาแหน่งของ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่น ๆ และเส้นทางการเชื่อมต่อของอุปกรณ์เหล่านี้
1. โครงสร้างแบบบัส (Bus Network)
ลักษณะการเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป ทาให้โครงสร้าง
แบบนี้มี
จุดอ่อน ก็คือเมื่อคอมพิวเตอร์ตัวใดตัวหนึ่งมีปัญหากับสายเคเบิล ก็จะทาให้เครื่องรวนไปทั้งระบบ
ข้อดี ก็คือไม่ต้องมีอุปกรณ์อย่างเช่น ฮับ/สวิทช์ ใช้สายเพียงเส้นเดียวก็เพียงพอแล้ว โครงสร้างแบบนี้จึงเหมาะ
กับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กที่มีจานวนเครื่องไม่มาก และในปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว
2. โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Network)
ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์นี้ ดูไปแล้วจะคล้ายๆ ดาวกระจาย คือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์ เป็น
ศูนย์กลาง ซึ่งการเชื่อมต่อแบบนี้มีประโยชน์คือ ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลกระทบต่อการทางานของ
ระบบ นอกจากนี้ถ้าหากเราเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าไปอีกในเครือข่ายก็สามารถทาได้ทันที การต่อแบบนี้เป็นที่นิยมมาก
ในปัจจุบัน เนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้เป็นศูนย์กลางคือ ฮับ/สวิทช์ ราคาได้ถูกลงอย่างมากแล้วในขณะที่ประสิทธิภาพก็ได้เพิ่ม
สูงขึ้นเรื่อยๆ แต่เป็นการเชื่อมต่อจากศูนย์กลางทาให้มีโอกาสที่ระบบเครือข่ายจะล้มเหลวพร้อมกันได้ง่าย
3. โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Network)
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวในลักษณะวงแหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่าย
วงแหวนจะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้นเมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งส่งข้อมูล จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปถ้าข้อมูลที่รับมาไม่
ตรงตามที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ต้นทางระบุ จะส่งผ่านไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะเป็นขั้นตอนอย่างนี้ไป เรื่อย ๆ
จนกว่าจะถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ปลายทางที่ถูกระบุตามที่อยู่จากเครื่องต้นทาง
STAR
4. โครงสร้างแบบเมช (Mesh Topology)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบเมช มีการทางานโดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีช่องสัญญาณจานวนมาก
เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆทุกเครื่อง โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์นี้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ
เครื่องจะส่งข้อมูล ได้อิสระไม่ต้องรอการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทาให้การส่งข้อมูลมีความรวดเร็ว
แต่ค่าใช้จ่ายสายเคเบิ้ลก็สูงด้วยเช่นกัน
5. โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Topology)
มีลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบดาวแต่จะมีโครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมีสายนาสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบ
กิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่
หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน
การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน
ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน
Network  topology

More Related Content

Viewers also liked

Preek feest van Genade zondag 22 september
Preek feest van Genade zondag 22 septemberPreek feest van Genade zondag 22 september
Preek feest van Genade zondag 22 septemberJohan Bos
 
Eng 102 6pm Leo Tolstoy
Eng 102 6pm Leo TolstoyEng 102 6pm Leo Tolstoy
Eng 102 6pm Leo Tolstoyveronicaamarin
 
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นคำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นRawitsada Intarabut
 
Feest van genade
Feest van genadeFeest van genade
Feest van genadeJohan Bos
 
Preek sheet 29 9 Feest van Genade
Preek sheet 29 9 Feest van GenadePreek sheet 29 9 Feest van Genade
Preek sheet 29 9 Feest van GenadeJohan Bos
 
Noodhulp filipijnen
Noodhulp filipijnenNoodhulp filipijnen
Noodhulp filipijnenJohan Bos
 
131006 preek
131006 preek131006 preek
131006 preekJohan Bos
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายRawitsada Intarabut
 
Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rawitsada Intarabut
 

Viewers also liked (13)

Cleantech
CleantechCleantech
Cleantech
 
Preek feest van Genade zondag 22 september
Preek feest van Genade zondag 22 septemberPreek feest van Genade zondag 22 september
Preek feest van Genade zondag 22 september
 
Protocol
Protocol Protocol
Protocol
 
Eng 102 6pm Leo Tolstoy
Eng 102 6pm Leo TolstoyEng 102 6pm Leo Tolstoy
Eng 102 6pm Leo Tolstoy
 
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นคำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Feest van genade
Feest van genadeFeest van genade
Feest van genade
 
Preek sheet 29 9 Feest van Genade
Preek sheet 29 9 Feest van GenadePreek sheet 29 9 Feest van Genade
Preek sheet 29 9 Feest van Genade
 
Noodhulp filipijnen
Noodhulp filipijnenNoodhulp filipijnen
Noodhulp filipijnen
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
131006 preek
131006 preek131006 preek
131006 preek
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่าย
 
Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer network ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Electrochemistry
ElectrochemistryElectrochemistry
Electrochemistry
 

Similar to Network topology

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
การถ่านโอนข้อมูล
การถ่านโอนข้อมูลการถ่านโอนข้อมูล
การถ่านโอนข้อมูลwitchuta
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทWannipa Wongwaew
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทWannipa Wongwaew
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลpatcha130
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลpatcha130
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารGreenteaICY
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารGreenteaICY
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 

Similar to Network topology (20)

Network
NetworkNetwork
Network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
การถ่านโอนข้อมูล
การถ่านโอนข้อมูลการถ่านโอนข้อมูล
การถ่านโอนข้อมูล
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูล
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูล
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 

Network topology

  • 1.
  • 2. การเชื่อมต่ออุปกรณ์สื่อสารเพื่อสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอักจุดหนึ่งนั้น สามารถทาได้หลาย รูปแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสม 1. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point) เป็นการเชื่อมต่อแบบพื้นฐาน โดยต่อจากอุปกรณ์รับหรือส่ง 2 ชุด ใช้สายสื่อสารเพียงสายเดียวมีความยาวของ สายไม่จากัด เชื่อมต่อสายสื่อสารไว้ตอลดเวลา (Lease Line) ซึ่งสายส่งอาจจะเป็นชนิดสายส่งทางเดียว (Simplex) สายส่งกึ่งทางคู่ (Half-duplex) หรือสายส่งทางคู่แบบสมบูรณ์ (Full-duplex) ก็ได้ 2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint) เนื่องจากค่าเช่าช่องทางในการส่งผ่านข้อมูลต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้นเปลืองสาย สื่อสารมาก การส่งข้อมูลไม่ได้ใช้งานตลอดเวลา จึงมีแนวความคิดที่จะใช้สายสื่อสารเพียงสายเดียวแต่เชื่อมต่อกับ หลายๆ จุด ซึ่งทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากกว่า ลักษณะการเชื่อมต่อแบบหลายจุดแสดงให้เห็นได้ดังรูป
  • 3. โครงสร้างของเครือข่าย (Network Topology) จะอธิบายถึงแผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามลักษณะทาง กายภาพ (Physical Topology) หรือทางตรรกะ (Logical Topology) ซึ่งจะแสดงถึงตาแหน่งของ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่น ๆ และเส้นทางการเชื่อมต่อของอุปกรณ์เหล่านี้ 1. โครงสร้างแบบบัส (Bus Network) ลักษณะการเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป ทาให้โครงสร้าง แบบนี้มี จุดอ่อน ก็คือเมื่อคอมพิวเตอร์ตัวใดตัวหนึ่งมีปัญหากับสายเคเบิล ก็จะทาให้เครื่องรวนไปทั้งระบบ ข้อดี ก็คือไม่ต้องมีอุปกรณ์อย่างเช่น ฮับ/สวิทช์ ใช้สายเพียงเส้นเดียวก็เพียงพอแล้ว โครงสร้างแบบนี้จึงเหมาะ กับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กที่มีจานวนเครื่องไม่มาก และในปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว
  • 4. 2. โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Network) ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์นี้ ดูไปแล้วจะคล้ายๆ ดาวกระจาย คือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์ เป็น ศูนย์กลาง ซึ่งการเชื่อมต่อแบบนี้มีประโยชน์คือ ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลกระทบต่อการทางานของ ระบบ นอกจากนี้ถ้าหากเราเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าไปอีกในเครือข่ายก็สามารถทาได้ทันที การต่อแบบนี้เป็นที่นิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้เป็นศูนย์กลางคือ ฮับ/สวิทช์ ราคาได้ถูกลงอย่างมากแล้วในขณะที่ประสิทธิภาพก็ได้เพิ่ม สูงขึ้นเรื่อยๆ แต่เป็นการเชื่อมต่อจากศูนย์กลางทาให้มีโอกาสที่ระบบเครือข่ายจะล้มเหลวพร้อมกันได้ง่าย 3. โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวในลักษณะวงแหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่าย วงแหวนจะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้นเมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งส่งข้อมูล จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ ตรงตามที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ต้นทางระบุ จะส่งผ่านไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะเป็นขั้นตอนอย่างนี้ไป เรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ปลายทางที่ถูกระบุตามที่อยู่จากเครื่องต้นทาง STAR
  • 5. 4. โครงสร้างแบบเมช (Mesh Topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบเมช มีการทางานโดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีช่องสัญญาณจานวนมาก เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆทุกเครื่อง โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์นี้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ เครื่องจะส่งข้อมูล ได้อิสระไม่ต้องรอการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทาให้การส่งข้อมูลมีความรวดเร็ว แต่ค่าใช้จ่ายสายเคเบิ้ลก็สูงด้วยเช่นกัน 5. โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Topology) มีลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบดาวแต่จะมีโครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมีสายนาสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบ กิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่ หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน