SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
MEDIA
Introduction
Pisit Noiwangklang
Media คืออะไร
• มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า ระหว่าง (between) หมายถึง อะไรก็
ตามซึ่งทําการบรรทุกหรือนําพาข้อมูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างแหล่งกําเนิดสาร
กับผู้รับสาร“
• ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (กริยา) หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อ
ความหมาย (นาม) หมายถึง วัสดุต่างๆ ที่นํามาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมายตาม
แนวคิด ซึ่งศิลปินประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม
• สิ่งใดๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางระหว่างแหล่งกําเนิดของสารกับผู้รับสาร เป็นสิ่งที่นําพาสารจาก
แหล่งกําเนินไปยังผู้รับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
ทฤษฎีการสื่อสาร
Theory of Communication
รูปแบบการสื่อสาร
One-Way Communication
การสื่อสารทางเดียว
หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งได้ส่งสาร
ไปยังผู้รับแต่เพียงฝ่ายเดียว
Two-way Communication
การสื่อสารสองทาง
หมายถึง การสื่อสารที่ ผู้ส่งสามารถ
ทราบถึงข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับ
กระบวนการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร สื่อ ช่องทาง ผู้รับ
วัตถุประสงค์ สําเร็จ/ล้มเหลว
ทฤษฎี SMCR (Berio)
ทฤษฎี ADDIE Model
กระบวนการวิเคราะห์, การออกแบบ, การพัฒนา, การดําเนินการให้
เป็นผล และการประเมินผล ที่สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตสื่อ
ในรูปแบบต่างๆได้
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis
2. ขั้นการออกแบบ Design
3. ขั้นการพัฒนา Development
4. ขั้นการนําไปใช้ Implementation
5. ขั้นการประเมินผล Evaluation
ทฤษฎี ADDIE Model
การเปรียบเทียบสื่อ
Comparison of media
การเปรียบเทียบสื่อ
หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์
1. เสียเวลามากในการผลิต
และจําหน่าย กว่าจะถึงมือ
ผู้รับกินเวลานาน
2. ไม่สามารถเสนอข่าว
ขณะที่เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น
3. สามารถนําเสนอได้มาก
ที่สุดวันละครั้งเพราะคน
ทั่วไปมักจะอ่านหนังสือพิมพ์
วันละครั้ง
1. เสนอข่าวได้รวดเร็วได้
ทันที
2. สามารถเสนอข่าวได้ใน
ขณะที่เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น
และสามารถติดตาม
เหตุการณ์ได้ตลอดไปเท่าที่
จําเป็น
3. เสนอข่าวได้บ่อยครั้ง
อย่างน้อยที่สุด ทุกต้นชั่วโมง
1. ไม่สามารถนําเสนอข่าวได้
รวดเร็วเท่ากับวิทยุ เพราะมี
ข้อจํากัดเรื่องภาพ และการ
ตัดสัญญาณจากรายการ
ปกติ
2. เสนอข่าวได้เช่นเดียวกับ
วิทยุแต่อาจมีปัญหาในการ
ติดตั้งอุปกรณ์
การเปรียบเทียบสื่อ
หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์
4. สามารถเสนอข่าวได้
ละเอียดและลึกซึ้งกว่า
5. มีการนําเสนอภาพใน
ขณะที่วิทยุไม่มี
6. สามารถย้อนกลับไปอ่าน
ซํ้าได้เมื่อไม่เข้าใจ
7. อ่านเมื่อไหร่ก็ได้แล้วแต่
ความสะดวกของผู้อ่าน
4. เสนอข่าวเพียงย่นย่อ
5. เร้าความสนใจมากกว่า
หนังสือพิมพ์
6. ฟังได้ครั้งเดียวไม่สามารถ
ย้อนกลับได้
7. ต้องฟังตามเวลาที่กําหนด
8. ขณะฟังวิทยุสามารถทํา
กิจกรรมอย่างอื่นไปด้วยได้
3. เสนอข่าวได้น้อยกว่า
รายการวิทยุ
4. แม้จะให้รายละเอียดได้
มากกว่าวิทยุ แต่ก็น้อยกว่า
หนังสือพิมพ์
5. เร้าความสนใจผู้ชมมาก
ที่สุดเพราะมีทั้งภาพและ
เสียง
การเปรียบเทียบสื่อ
หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์
8. ต้องการความตั้งอกตั้งใจ
ในการอ่าน
9. มีข้อจํากัดเฉพาะผู้ที่
สามารถอ่านหนังสือได้
9. สามารถรับฟังได้ทุกเพศ
ทุกวัย
6. ฟังได้ครั้งเดียวไม่สามารถ
ย้อนกลับได้
7. ต้องชมตามเวลาที่กําหนด
8. ต้องตั้งใจชมและฟัง
ยกเว้นต้องการเพียงรับฟัง
อย่างเดียว
9. สามารถรับชมได้ทุกเพศ
ทุกวัย
กระบวนการผลิตสื่อ
Process of 3 P’s
Pre-Production
ประเมินก่อนการผลิต
ศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มเป้ าหมาย
กําหนดวัตถุประสงค์
กําหนดระยะเวลาในการผลิต
กําหนดแผนปฏิบัติงาน
กําหนดงบประมาณ
who
What
why
when
where
How
Concept
ชื่อเรื่อง รณรงค์ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
Theme ข้ามถนนอย่างปลอดภัย ดูสัญญาณไฟเสียก่อน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดปริมาณการเกิดอุบัติเหตุจากการข้ามถนน
2. เพื่อรณรงค์การข้ามถนนอย่างปลอดภัย
กลุ่มเป้ าหมาย เยาวชน 12-15 ปี
เรื่องย่อ เด็กวัยรุ่นรีบข้ามถนนก่อนไฟแดงขึ้น เลยโดนรถชน
Concept
ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis)
ประกอบด้วยรายละเอียดแต่ละส่วน ดังนี้
1. รณรงค์ลดอุบัติเหตุบนท้องถนนเราควรระมัดระวังเวลาข้ามถนน
2. บุตรมักจะทําพฤติกรรมเลียนแบบบิดา
3. เป็นการนําเสนอข้อมูลสถิติเพื่อให้เกิดความกลัว และตระหนักถึงความระมัดระวัง
ขั้นตอนการออกแบบ (Design)
สปอตโฆษณาความยาว 1 นาที
ขั้นตอนการนําไปใช้ (Implement)
นําเสนอบนอินเตอร์เน็ต เช่นYoutube
ขั้นตอนการประเมินผล (Evaluate)
ใช้สีสดจนบางทีมองไม่เห็นรายละเอียด เช่นสัญญาณไฟ
Theme
ใจความสําคัญ แนวคิดหลัก สาระประเด็นฯ ของหนัง โดยมีเพียงหนึ่ง
เดียว คือมีประเด็นหลัก ที่ต้องการจะสื่อสารเพียงหนึ่งสิ่งที่ผู้สร้างหนัง
ต้องการถ่ายทอดหรือนําเสนอ
Plot
Introduction
Body
Climax
Conclusion
Script
ขั้นตอนการหาเรื่องมาทําบท
ขั้นตอนการลําดับเรื่อง
ขั้นตอนการเขียนบทถ่ายทํา (Shooting Script)
ขั้นตอนการทํา Story Board
ขั้นตอนการจัดทํารายละเอียดแต่ละฉาก
Shooting Script
ตัวอย่างการเขียน Shooting Script
Sequence A กลางถนนใหญ่
ฉาก 1 ภายนอก/เมืองใหญ่/กลางวัน
shot 1. LS. มุมกล้องระดับสายตาคนยืน
เห็นบรรยากาศรถวิ่งขวักไขว่ background เป็นถนนและเมือง เห็นเด็กเดินมา มีรถขับผ่านหน้า
กล้องไปมา
(เด็กอยู่ซ้ายเฟรม ไฟสัญญาณจราจรอยู่ขวาเฟรม)
.................................................................................Cut
shot 2. MLS. มุมกล้องระดับเดียวกับเด็ก
เห็นคนขับในเฟรม -two shot (มุมคนขับและเด็ก) เด็กรอไฟแดงเพื่อข้ามถนน...........................Cut
Story board
สื่อรณรงค์ลดอุบัติเหตุ
Animatic
Production
บุคลากรในการผลิต
Employees in production
Producer
ผู้ที่อยู่เบื้องหลังการผลิตรายการโทรทัศน์
ภาพยนตร์โฆษณา มีหน้าที่วางแผนการผลิต
รายการโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์โฆษณา
กําหนดแนวคิด ความต้องการ วัตถุประสงค์
รูปแบบของรายการโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์โฆษณา
กําหนดกลุ่มเป้ าหมาย งบประมาณ และเวลา
ของชิ้นงาน และระยะเวลาในการผลิต
Director
ผู้กํากับรายการโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์โฆษณา
เป็นผู้นําแนวคิดจากการวางแผน นํามาผลิตเป็น
รายการโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์โฆษณา และ
มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล กระบวนการผลิตงานโฆษณา
ให้ตรงตามแนวคิด และบทโฆษณา
Creative
ผู้สร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ หรือ
ภาพยนตร์โฆษณา มีหน้าที่นําแนวคิด
จากการวางแผน นํามาคิดสร้างสรรค์
ให้ออกมาเป็นรูปแบบของ รายการโทรทัศน์
หรือ ภาพยนตร์โฆษณา
Script Writer
ผู้เขียนบทโทรทัศน์ หรือ บทภาพยนตร์โฆษณา
มีหน้าที่รับความคิดสร้างสรรค์ จาก Creative
ถ่ายทอดออกมาเป็น บทโทรทัศน์ หรือ
บทภาพยนตร์โฆษณา ซึ่งประกอบด้วย
บทสนทนา มุมกล้องเสียงดนตรี และการดําเนินเรื่อง
Floor Director
ผู้กํากับเวที มีหน้าที่ควบคุมการ
ดําเนินงานของการผลิตรายการโทรทัศน์ หรือ
ภาพยนตร์โฆษณา จัดคิวให้กับนักแสดง หรือ
ผู้แสดง โดยการจัดคิวดังกล่าวจะต้องใช้ภาษามือ
การเขียน หรือสัญลักษณ์เป็นการสื่อความหมาย
Actor
นักแสดง มีหน้าที่ รับบทบาทจาก
ผู้กํากับ ให้แสดงตามบทที่ได้รับใน
บทโทรทัศน์ หรือ บทภาพยนตร์โฆษณา
ผู้แสดงจะต้องอ่านบทให้เข้าใจ และต้องแสดง
บทบาท หรือพูดตามบทโฆษณาให้สมจริงที่สุด
Performer
ผู้แสดง เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานจริง หรือ
เป็นผู้ที่ใช้ผลิตภัณฑ์ในภาพยนตร์โฆษณาจริง
ซึ่งผู้แสดงจะสามารถถ่ายทอดเรื่องราว
ในงานโฆษณาตามสิ่งที่ได้ปฏิบัติจริง
Camera man
ช่างภาพ ในรายการโทรทัศน์ หรือ
ภาพยนตร์โฆษณา อาจจะมีช่างภาพคนเดียว หรือ
มากกว่านั้นขึ้นอยู่กับรูปแบบการผลิตรายการโทรทัศน์
หรือ ภาพยนตร์โฆษณา ช่างภาพจะต้องถ่ายภาพตาม
บทโทรทัศน์ บทภาพยตร์โฆษณา หรือตามคําสั่งของ
Director
Art Director
ผู้กํากับฉาก หรือ ผู้กํากับฝ่ายศิลป์ มีหน้าที่เนรมิต
ฉากขึ้นมาตามบทโทรทัศน์ หรือบทภาพยนตร์
อาจจะเป็นการจัดฉากใน Studio หรือนอกสถานที่ก็ได้
ผู้กํากับฉาก จะต้องมีผู้ช่วยในการสร้างฉาก
เช่น ช่างไม้ เป็นต้น
Switcher
มีหน้าที่ควบคุมภาพที่ช่างภาพในการถ่ายทํา
แล้วนํามาบันทึกรายการโทรทัศน์ โดย Switcher
จะต้องควบคุมภาพตามบทโทรทัศน์ หรือตามคําสั่ง
ของ Director
Light Director
ผู้กํากับฝ่ายแสง เป็นผู้ควบคุมแสง ในการถ่ายทํา
ทั้งใน Studio หรือนอกสถานที่ก็ได้ การจัดแสง
จะต้องเป็นไปตามบทโฆษณา หรือ ตามคําสั่งของ
Director
Audio Engineer
ผู้ควบคุมเสียง มีหน้าที่ควบคุม เสียงการถ่ายทํา
ให้มีความชัดเจนและเป็นไปตามบทโทรทัศน์ หรือ
บทภาพยนตร์ และนําเสียงดนตรี หรือเสียงบรรยาย
เข้ามาตัดต่อในรายการโทรทัศน์ หรือ
ภาพยนตร์โฆษณา
Editor
ผู้ตัดต่อรายการโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์โฆษณา
มีหน้าที่นําภาพที่มีการถ่ายทํา หรือบันทึกรายการแล้ว
มาลําดับภาพด้วยการตัดต่อ ในระบบดิจิตอล ด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการส่งภาพนิ่ง วิดีโอ
เสียงบรรยาย เสียงดนตรี กราฟิก ให้ตรงตามบท
ที่กําหนดไว้
Graphic
งานกราฟิก ซึ่งงานทางด้านกราฟิก
ปัจจุบันมีการนําคอมพิวเตอร์มาใช้ โดย Graphic
จะต้องนําสิ่งที่ Script Writer กําหนดในบทโทรทัศน์
หรือ บทภาพยนตร์ แล้วถ่ายทอดออกมาเป็นงานกราฟิก
Narrator
ผู้บรรยาย หรือ มีหน้าที่เป็นผู้บรรยายเสียง ตามบทโทรทัศน์ หรือบท
ภาพยนตร์ที่กําหนดไว้
ผู้บรรยาย จะต้องบรรยาย ตามรูปแบบ และอารมณ์ที่ Script
Writer ที่กําหนด เช่น
ตลก ซีเรียส ตื่นเต้น ฯลฯ
Make up
มีหน้าที่แต่งหน้าที่ หรือทําผม ให้กับนักแสดง หรือ
ผู้แสดงให้มีความสอดคล้อง และตรงตามบทโทรทัศน์
หรือ บทภาพยนตร์ที่กําหนดไว้ นอกจากนั้น Make up
ยังต้องดูแลความเรียบร้อยในเรื่องหน้าตาและทรงผม ของ
นักแสดง ตลอดการถ่ายทํา ซึ่งจะทําให้รายการโทรทัศน์
หรือภาพยนตร์ มีความสมจริงและได้ภาพที่สวยงาม
Costumer
มีหน้าที่ออกแบบเสื้อผ้า และจัดเตรียม
เสื้อผ้าของนักแสดง และผู้แสดง ให้ตรง
ตามบทโทรทัศน์ หรือบทภาพยนตร์ที่กําหนดไว้
เทคนิค
Technic
องค์ประกอบศิลป์
Post Production
ตัดต่อ ลําดับภาพ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นําข้อความ, ภาพกราฟิก, เสียง, ภาพยนตร์
และวีดิทัศน์ หรือ ภาพแอนิเมชั่น มาตัดต่อ
ลําดับภาพเพื่อให้ชิ้นงานมีความสมบูรณ์
Media introduction
Media introduction

More Related Content

Similar to Media introduction

คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3mathawee wattana
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pissofuwan
 
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMasterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMattika Suvarat
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..amphaiboon
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..amphaiboon
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..amphaiboon
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..amphaiboon
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..amphaiboon
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264CUPress
 
ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1Nicharee Piwjan
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Ford Rpj
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sup's Tueng
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)Pitchayanida Khumwichai
 
การพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษา
การพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษาการพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษา
การพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษาPrachyanun Nilsook
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมchavala
 

Similar to Media introduction (20)

คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
 
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMasterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264
 
ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pr by nitiya
Pr by nitiyaPr by nitiya
Pr by nitiya
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
การพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษา
การพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษาการพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษา
การพัฒนานวัตกรรมครูอาชีวศึกษา
 
Scenario Thinking
Scenario ThinkingScenario Thinking
Scenario Thinking
 
Paper
PaperPaper
Paper
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสม
 

More from Pisit Noiwangklang

แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)Pisit Noiwangklang
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นPisit Noiwangklang
 
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]Pisit Noiwangklang
 
หลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative mediaหลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative mediaPisit Noiwangklang
 

More from Pisit Noiwangklang (7)

แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
 
Infographic process 10 step
Infographic process 10 stepInfographic process 10 step
Infographic process 10 step
 
Analysis Design Introduction
Analysis Design IntroductionAnalysis Design Introduction
Analysis Design Introduction
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
 
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
 
Animation introduction
Animation introductionAnimation introduction
Animation introduction
 
หลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative mediaหลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative media
 

Media introduction