SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
บทที่ 2
ทฤษฎีหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
ทฤษฎีหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย ทฤษฎี
การออกแบบหลักสูตร และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของ
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3
กลุ่มหลัก คือ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมศาสตร์ และ มนุษย์ศาสตร์
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร
2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
สาระเนื้อหา(Content)
ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
การศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาระบบสังคม การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่
เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนา
ความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งหลักสูตรจัดเป็นหัวใจหลักของการพัฒนา
ศึกษา มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัด
การศึกษาที่มีระบบ และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้อง
กับการจัดการศึกษา
1. ทฤษฎีหลักสูตร
ทฤษฎีหลักสูตรเป็นคาอธิบายสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสูตร การสร้างหลักสูตร การพัฒนา
หลักสูตร การประเมินผลหลักสูตร และการนาผลที่ได้รับจากการประเมินผลมาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร
(Kelly.2009)โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับ
เนื้อหาวิชา ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด
2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร
Beauchamp (1981:77) ได้เสนอว่าทฤษฎีหลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือทฤษฎีการ
ออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories)
2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร
การออกแบบหลักสูตร(Curriculum design) หมายถึง การจัดส่วนประกอบหรือองค์ประกอบของ
หลักสูตรซึ่งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา สาระ กิจกรรมการเรียนและการประเมินผล (Zais.1976:16) Herrick
and Tyler (1950:41) ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ
จุดประสงค์
เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน
การประเมินผล
2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร
วิศวกรรมหลักสูตร (Curriculum engineering) หมายถึงกระบวนการทุกอย่างที่จาเป็นในการทา
ให้ระบบหลักสูตรเกิดขึ้นในโรงเรียนได้แก่ การสร้างหรือจัดทาหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการประเมิน
ประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร
3.การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรมีข้อควรคานึงหลายประการที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องหาคาตอบ เพื่อใช้
ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร?
2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์
การศึกษาอะไร?
3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร?
4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร?
4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ
ผู้บริหารและครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้
ครูผู้สอน อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ
1. หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บท (Nationai level) เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้
กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน
2. หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา หลักสูตรระดับท้องถิ่น
3. หลักสูตรระดับห้องเรียน (Classroom level) สังคมจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ขึ้นอยู่กับ
หลักสูตรระดับนี้ ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่
จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลักสูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตาม
หลักสูตรที่กาหนด

More Related Content

Similar to บทที่2

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Dook dik
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2parkpoom11z
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2nattawad147
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059gam030
 

Similar to บทที่2 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 

More from Phonchanitmelrdie (11)

ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Tf02895266
Tf02895266Tf02895266
Tf02895266
 

บทที่2

  • 2. มโนทัศน์(Concept) ทฤษฎีหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย ทฤษฎี การออกแบบหลักสูตร และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3 กลุ่มหลัก คือ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมศาสตร์ และ มนุษย์ศาสตร์ ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร 2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
  • 3. สาระเนื้อหา(Content) ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาระบบสังคม การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่ เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนา ความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งหลักสูตรจัดเป็นหัวใจหลักของการพัฒนา ศึกษา มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัด การศึกษาที่มีระบบ และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้อง กับการจัดการศึกษา 1. ทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรเป็นคาอธิบายสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสูตร การสร้างหลักสูตร การพัฒนา หลักสูตร การประเมินผลหลักสูตร และการนาผลที่ได้รับจากการประเมินผลมาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร (Kelly.2009)โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับ เนื้อหาวิชา ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด
  • 4. 2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร Beauchamp (1981:77) ได้เสนอว่าทฤษฎีหลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือทฤษฎีการ ออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories) 2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร การออกแบบหลักสูตร(Curriculum design) หมายถึง การจัดส่วนประกอบหรือองค์ประกอบของ หลักสูตรซึ่งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา สาระ กิจกรรมการเรียนและการประเมินผล (Zais.1976:16) Herrick and Tyler (1950:41) ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ จุดประสงค์ เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล
  • 5. 2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร วิศวกรรมหลักสูตร (Curriculum engineering) หมายถึงกระบวนการทุกอย่างที่จาเป็นในการทา ให้ระบบหลักสูตรเกิดขึ้นในโรงเรียนได้แก่ การสร้างหรือจัดทาหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการประเมิน ประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร 3.การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรมีข้อควรคานึงหลายประการที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องหาคาตอบ เพื่อใช้ ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้ 1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร? 2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์ การศึกษาอะไร? 3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร? 4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร?
  • 6. 4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ ผู้บริหารและครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้ ครูผู้สอน อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ 1. หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บท (Nationai level) เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้ กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน 2. หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา หลักสูตรระดับท้องถิ่น 3. หลักสูตรระดับห้องเรียน (Classroom level) สังคมจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ขึ้นอยู่กับ หลักสูตรระดับนี้ ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่ จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลักสูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตาม หลักสูตรที่กาหนด