SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน
กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน
จัดทาโดย
นางสาวนัฐนิกา แจ่มคง เลขที่ ๓๐
นางสาวจิตรา วงษ์พิจิตร เลขที่ ๓๓
นางสาวธนภร การประเสริฐ เลขที่ ๓๕
นางสาวปณัฐชา ตรีมงคล เลขที่ ๓๘
นางสาวปภานันท์ ย่านวารี เลขที่ ๔๔
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑๑
เสนอ
คุณครูวันวิสาข์ อังศุเกียรติถาวร
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท ๓๐๒๐๕ ประวัติวรรณคดี ๒
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา .....................................................................................................................................................ก
๑.ความเป็นมาของกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน..............................................................................๑
๑.๑ ประวัติและผลงานของผู้แต่ง.....................................................................................................๑
๑.๒ ลักษณะคาประพันธ์.........................................................................................................
๒.เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน.....................................................................................
๒.๑ เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน.............................................................................
๓. คุณค่าและข้อคิดที่ได้............................................................................................................
๓.๑คุณค่าด้านวรรณคดีและวรรณศิลป์………………………………………………
๓.๒ คุณค่าทางด้านสังคม...........
๔. “กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน” กับการเข้าสู่อาเซียน.....................
๔.๑ ความสาคัญของการเข้าสู่อาเซียน
๔.๒ “กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน” สายสัมพันธ์ในอาเซียน..................
บรรณานุกรม
ภาคผนวก.......................................................................
คานา
ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติของประเทศไทย ดังนั้นคนไทยทุกคนจึงต้องมีการเรียนรู้
ภาษาไทยตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหง เพื่อให้ทุกคนสามารถอ่านภาษาไทย เขียนภาษาไทย ใช้ภาษาไทย ใน
การสื่อสารอย่างดีและถูกต้อง
โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท ๓๐๒๐๕ ประวัติวรรณคดี ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดย
มีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการประกอบการเรียนรู้ในรายวิชาประวัติวรรณคดี ๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้รู้ถึงวรรณคดี
เรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน ได้รู้ถึงเนื้อหาสาระที่สาคัญ ประวัติความเป็นมาหรือคุณค่าทางด้าน
ต่างๆของเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน
ข้าพเจ้าตั้งใจจัดทาโครงงานเล่มนี้อย่างมากได้รวบรวมเนื้อหาวรรณคดี เรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่อง
คาวหวานเพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาแก่ทุกคนและต้องขอบขอบพระคุณ คุณครูวันวิสาข์ อังศุเกียรติถาวร
ที่ท่านได้ให้ความรู้ และแนวทางในการศึกษา และได้ให้การช่วยเหลือมาตลอด ข้าพเจ้าว่าหวังว่าโครงงาน
เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่อ่านทุกๆคน
คณะผู้จัดทา
๑.ความเป็นมาของกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน
๑.๑ ประวัติและผลงานของผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระนามเดิมว่า ฉิม
เป็นพระโอรสพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่สมเด็จ
พระอม รินทราบรมราชินี ณ บ้านอัมพวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม เมื่อ
วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อยังทรง พระเยาว์ ได้ทรงศึกษาอักข
รสมัยในสานักสมเด็จพระวนรัต (ทองอยู่) วัดบางหว้าใหญ่ ด้านวิชาการ
รบ สาหรับขัตติยราชกุมารนั้น พระองค์ได้ทรงศึกษาจากประสบการณ์ที่
เป็นจริง กล่าวคือได้ทรงตามเสด็จ พระบรมชนกนาถไปในราชการ
สงครามทุกครั้ง ซึ่งพระปรีชาสามารถและความจัดเจนนี้ย่อมเป็นที่
ประจักษ์ จนได้รับโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระองค์ท่านขึ้นเป็นกรมพร
ราชวังบวรสถานมงคล ที่พระมหาอุปราชแทน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์
ที่ ๒ แห่งพระราชวงศ์จักรี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๒
พระราชกรณียกิจสาคัญที่ทรงเริ่มทาเร่งด่วนครั้งแรกคือ การรวบรวมผู้คนที่กระจัดกระจายกันอยู่
ตั้งแต่ครั้ง กรุงแตกให้อยู่ตั้งมั่นเพื่อความเป็นปึกแผ่นของประเทศ โดยออกพระราชกาหนดสักเลข และ ทา
ทะเบียนราษฎรอย่างจริงจัง และได้ทรงผ่อนผันการเข้าเดือนเหลือเพียงปีละ ๓ เดือน คือ เข้าเดือนออก สาม
เดือน นอกจากนี้ยังได้ทรงออกกฎหมายฉบับสาคัญอีกฉบับหนึ่งเรียกว่า พระราชกาหนดเรื่องห้าม สูบฝิ่น
ขายฝิ่น
ในการทานุบารุงความเจริญของบ้านเมืองก็มีการก่อสร้างอาคารสถานที่ต่างๆ และได้มีการแต่ง สาเภา
ไปค้าขายยังเมืองต่างๆ และเมืองจีนมากขึ้น ทาให้การเศรษฐกิจของชาติดีขึ้นมาก และเหตุที่มีการ แต่งเรือ
สาเภาไปค้าขายต่างประเทศเป็นจานวนมาก เป็นผลให้เกิดการใช้ธงประจาชาติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ
หล้านภาลัยทรงโปรดเกล้าฯ ให้นาสัญลักษณ์ช้างเผือกสาคัญที่ได้มาสู่พระบารมี ๓ เชือก ประทับลงบนธงสี
แดง ธงประจาชาติไทยจึงมีขึ้นเป็นครั้งแรก
ด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงทานุบารุง ตลอดจนทรง
เป็นกษัตริย์ศิลปินโดยแท้จริง
๑.๒ ลักษณะคาประพันธ์
กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สันนิ
ฐานว่าทรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1 เพราะมีความบางตอนได้ทรงชมสมเด็จพระศรีสุริเยน ทราบรม
ราชินีเมื่อครั้งยังเป็นสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ ซึ่งมีฝีพระหัตถ์ในกระบวนเครื่องเสวยไม่มีผู้ใดจะมีฝีมือ
เทียบเคียงได้
กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน เป็นความงดงามของวรรณคดีที่สะท้อนให้เห็นความประณีต ละเอียดละ
อ่อนของชนชาติไทยที่บรรจงประดิดประดอยโภชนาหารนานาชนิดให้เลิศด้วย รสชาติแลวิลาสด้วย
รูปลักษณ์ และสะท้อนความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้อย่าเด่นชัด บทเห่แบ่งเป็นชม
เครื่องคาว ชมผลไม้ และชมเครื่องหวาน
บทเห่ชมเครื่องคาว ไม่เพียงแต่จะเอ่ยเพียงชื่ออาหารที่เป็นที่นิยมในกรุงรัตนโกสินทร์เท่านั้น แต่ยังบอก
ลักษณะที่ควรจะเป็นของอาหารชนิดนั้นไว้
มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง
ชายใดได้กลิ่นแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา
อาหารคาวที่ปรากฏในบทเห่นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระปรีชาสามารถ
เลือกอาหารขึ้นมา เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนความในพระราชหฤทัยได้อย่างไพเราะ เหมาะสม กลมกลืนและ
บริบูรณ์ด้วยอรรถะและพยัญชนะ ซึ่งถือได้ว่าเลิศกว่ารสใดๆ ทั้งสิ้น
ล่าเตียงคิดเตียงนอน นอนเตียงทองทาเมืองบน
ลดหลั่นชั้นชอบกล ยลอยากนิทร์คิดแนบนอน
เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน
เจ็บไกลใจอาวรณ์ ร้อนรุมรุ่นกลุ้มกลางทรวง
(ยาม) ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงทอดพระเนตร “ ล่าเตียง ” ก็ทรง
ราลึกถึงแท่นบรรจถรณ์ที่นามาจาก ล้านนาของพระมเหสี
แลทรงปรารถนาจะร่วมอภิรมย์ประสมสอง หากแต่พอทรง
ทอดพระเนตรเห็น “ หรุ่ม ” ก็ทรงปริเทวนาการ ด้วยรักนั้นถึง
กาลวิปโยค)
ความรุ่งเรืองของกรุงรัตนโกสินทร์ ทาให้มีการติดต่อค้าขายกับชนชาติต่างๆ จึงทาให้มีการแลกเปลี่ยน
ระหว่างวัฒนธรรมเกิดขึ้น “ น้าปลาญี่ปุ่น ” แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างดินแดนสุวรรณภูมิและ
ดินแดนอาทิตย์อุทัยที่ สนิมแนบแน่นมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาล เกิดการผสมผสานของวัฒนธรรมด้านอาหาร
ของคนสองเชื้อชาติได้อย่างลงตัว
ยาใหญ่ใส่สารพัด วางจานจัดหลายเหลือตรา
รสดีด้วยน้าปลา ญี่ปุ่นล้าย้ายวนใจ
เห่ชมผลไม้ เริ่มด้วยการชมผลชิดแช่อิ่ม และพรรณนาถึงผลไม้ชนิดต่างๆ ได้แก่ ลูกตาล ลูกจากลอย
แก้ว มะปราง มะม่วงหมอนทอง มะม่วงอกร่อง ลิ้นจี่ พลับจีนกวน น้าตาล น้อยหน่า ผลเกด ทับทิม ทุเรียน
ลางสาด เงาะ และผลสละ
ศาสตร์และศิลปะแห่งอาหารชาววัง ได้ถูกนาออกมาเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ทราบจากบทเห่ชม
ผลไม้ซึ่งได้พรรณนา ถึงศิลปะในการแกะ ปอก คว้านผลไม้ได้อย่างวิจิตร งดงาม ของกุลสตรีไทยที่ไม่มี
หญิงชนชาติใดเหมือน
น้อยหน่านาเมล็ดออก ปล้อนเปลือกปอกเป็นอัศจรรย์
มือใครไหนจักทัน เทียบเทียมที่ฝีมือนาง
เห่ชมเครื่องหวาน มีเครื่องหวานหลากหลายชนิด ได้แก่ ข้าวเหนียว สังขยาหน้าไข่ ซ่าหริ่ม ลาเจียก
มัศกอด ลุดตี่ ขนมจีบ ขนมเทียน ทองหยิบ ขนมผิง รังไร ทองหยอด ทองม้วน จ่ามงกุฎ บัวลอย ช่อม่วง และ
ฝอยทอง เครื่องหวานที่ปรากฏสะท้อนให้เห็นถึงการผสมผสานในด้านวัฒนธรรมอาหารของไทย กับหลาย
เชื้อชาติตั้งแต่ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์ กรุงศรีอยุธยา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์
ลาเจียกชื่อขนม ไกลกลิ่น นึกโฉมฉมหอมชวยโรย
ดิ้นแดโดย โหยไห้หาบุหงางาม
มัศกอดกอดอย่างไร น่าสงสัยใครขอถาม
กอดเคล้นจะเห็นความ ขนมนามนี้ยังเคลง
ลุดตี่นี้น่าชม แผ่แผ่นกลมเพียงแผ่นแผง
โอชาหน้าไก่แกง แคลงของแขกแปลกกลิ่นอาย
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานนอกจาก จะแสดงถึงพระปรีชาสามารถทางกวีของพระบาทสมเด็จพระพุทธ
เลิศหล้านภาลัยที่ ทรงพระราชนิพนธ์ได้อย่างไพเราะ ยังทาให้เห็นภาพความวิจิตรงดงามของศิลปะอาหาร
ชาววังที่อยู่คู่กับกุลสตรี สยาม ซึ่งความงามของอาหารไม่เพียงแต่ความงามที่ปรากฏแก่สายตามเท่านั้น
หากแต่ยังรวมถึงสุนทรีย์แห่งรสชาติ ซึ่งในปัจจุบันตารับอาหารคาวหวานและผลไม้ชนิดต่างๆ ก็ยังคงเป็นที่
รู้จักกันดีในสังคมไทยทุกวันนี้
๑.๒ ลักษณะคาประพันธ์
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ต่างตามแบบกาพย์เห่เรือ คือแต่งเป็นโคลงผสมกาพย์ ตอนต้นเป็นโคลง
๑ บท จากนั้นเป็นกาพย์ยานี ๑๑ ไม่จากัดจานวน โดยเนื้อความในกาพย์ยานีบทแรกจะมีเนื้อความเหมือน
โคลงสี่สุภาพ
ฉันท์ลักษณ์ของโคลงสี่สุภาพ
ถ้าเราจะแต่งโคลง มีหลักการที่ควรทราบดังนี้
๑. บทหนึ่งมีกี่บาท
๒. บาทหนึ่งมีกี่วรรค
๓. วรรคหนึ่งๆ มีกี่พยางค์
๔. บังคับสัมผัสตรงไหน
๕. บังคับรูปวรรณยุกต์ที่พยางค์ใด
เป็นคาประพันธ์ประเภทหนึ่ง แต่งไว้สาหรับขับร้องเห่ในกระบวนเรือ โดยมีทานองเห่ ที่สอดคล้องกับ
จังหวะการพายของฝีพาย ว่าช้า หรือเร็ว มักจะมีพนักงานขับเห่หนึ่งคนเป็นต้นเสียง และฝีพายคอยร้องขับ
ตามจังหวะ พร้อมกับการให้จังหวะจากพนักงานประจาเรือแต่ละลากาพย์เห่เรือนั้น ใช้คาประพันธ์ 2 ชนิด
ด้วยกัน นั่นคือ กาพย์ยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ เรียงร้อยกันในลักษณะที่เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง โดยมัก
ขึ้นต้นด้วยโคลง 1 บท แล้วตามด้วยกาพย์ยานี เรื่อยไปจนจบตอนหนึ่งๆ เมื่อจะขึ้นตอนใหม่ก็จะยกโคลงสี่
สุภาพมาอีกหนึ่งบท แล้วตามด้วยกาพย์จนจบตอน เช่นนี้สลับกันไป ดังนี้
โคลงสี่สุภาพ
เป็นโคลงชนิดหนึ่งที่กวีนิยมแต่งมากที่สุด ด้วยเสน่ห์ของการบังคับวรรณยุกต์เอกโทอันเป็นมรดกของ
ภาษาไทยที่ลงตัวที่สุด คาว่า สุภาพ หรือ เสาวภาพ หมายถึงคาที่มิได้มีรูปวรรณยุกต์ มีลักษณะบังคับดังนี้
๐ ๐ ๐ เอก โท ๐ x (๐ ๐)
๐ เอก ๐ ๐ x เอก โท
๐ ๐ เอก ๐ x ๐ เอก (๐ ๐)
๐ เอก ๐ ๐ โท เอก โท ๐ ๐ (๐ ๐)
หนึ่งบทมี ๓๐ คา แบ่งเป็น ๔ บาท ๓ บาทแรกบาทละ ๗ คา บาทที่สี่ ๙ คา แต่ละบาทแบ่งเป็น ๒ วรรค
วรรคแรก ๕ คา วรรคหลัง ๒ คา เว้นบาทสุดท้าย วรรคหลัง ๔ คา มีสร้อยได้ในบาทแรก บาทที่สาม และ
บาทที่สี่ ส่งสัมผัสจากคาที่ ๗ บาทแรกไปยังคาที่ ๕ ในบาทที่สองและสาม กับคาสุดท้ายวรรคที่สองไปยังคา
ที่ ๕ บาทที่สี่ บังคับเอก ๗ แห่ง โท ๔
ส่วนคาสร้อยซึ่งใช้ในโคลงสี่สุภาพนั้น จะใช้ต่อเมื่อความขาด หรือยังไม่สมบูรณ์ หากได้ใจความอยู่
แล้วไม่ต้องใส่ เพราะจะทาให้ "รกสร้อย" คาสร้อยที่นิยมใช้กันเป็นแบบแผนมีทั้งหมด ๑๘ คา
พ่อ ใช้ขยายความเฉพาะบุคคล
แม่ ใช้ขยายความเฉพาะบุคคล หรือเป็นคาร้องเรียก
พี่ ใช้ขยายความเฉพาะบุคคล อาจใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือบุรุษที่ ๒ ก็ได้
เลย ใช้ในความหมายเชิงปฏิเสธ
เทอญ มีความหมายเชิงขอให้มี หรือ ขอให้เป็น
นา มีความหมายว่าดังนั้น เช่นนั้น
นอ มีความหมายเช่นเดียวกับคาอุทานว่า หนอ หรือ นั่นเอง
บารนี สร้อยคานี้นิยมใช้มากในลิลิตพระลอ มีความหมายว่า ดังนี้ เช่นนี้
รา มีความหมายว่า เถอะ เถิด
ฤๅ มีความหมายเชิงถาม เหมือนกับคาว่า หรือ
เนอ มีความหมายว่า ดังนั้น เช่นนั้น
ฮา มีความหมายเข่นเดียวกับคาสร้อย นา
แล มีความหมายว่า อย่างนั้น เป็นเช่นนั้น
ก็ดี มีความหมายทานองเดียวกับ ฉันใดก็ฉันนั้น
แฮ มีความหมายว่า เป็นอย่างนั้นนั่นเอง ทานองเดียวกับคาสร้อยแล
อาจไม่มีความหมายแน่ชัด แต่จะวางไว้หลังคาร้องเรียกให้ครบพยางค์ เช่น พ่ออา แม่อา พี่อา หรือเป็นคา
ออกเสียงพูดในเชิงราพึงด้วยวิตกกังวล
เอย ใช้เมื่ออยู่หลังคาร้องเรียกเหมือนคาว่าเอ๋ยในคาประพันธ์อื่น หรือวางไว้ให้คาครบตามบังคับ
เฮย ใช้เน้นความเห็นคล้อยตามข้อความที่กล่าวหน้าสร้อยคานั้น เฮย มาจากคาเขมรว่า "เหย" แปลว่า "แล้ว
กาพย์ยานี
เป็นคาประพันธ์ไทยประเภทกาพย์ที่ กวีนิยมแต่งมากที่สุด มีทั้งแต่งสลับกับคาประพันธ์ประเภทอื่น
และแต่งเพียงลาพัง กาพย์ยานีบทหนึ่งมีสองบาท บาทละ ๑๑ คา คนทั่วไปจึงนิยมเรียกว่า กาพย์ยานี ๑๑
หนึ่งบทมีสองบาท บาทละ ๑๑ คา แบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ คา วรรคหลัง ๖คา บังคับสัมผัสระหว่าง
วรรคที่ ๑, ๒ และ ๓ ทิ้งสัมผัสวรรคที่ ๔ สัมผัสระหว่างบทส่งจากท้ายบทแรกไปยังท้ายบาทแรกของบท
ต่อไป
๒.เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน
๒.๑ เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานขึ้นต้นด้วยโคลงสี่สุภาพ ๑ บท และตามด้วยกาพย์ยานี ๑๑ จานวน ๑๕
บท เนื้อหากล่าวถึงอาหารความเลิศรสฝีมือการปรุงของผู้เป็นที่รัก ได้แก่ แกงมัสมั่น ยาใหญ่ ตับเหล็กลวก
หมูแนม ก้อยกุ้ง แกงเทโพ น้ายา ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ (มีลักษณะคล้ายข้าวหมกไก่) หมูป่าต้ม แกงคั่วส้มใส่
ระกา พล่าเนื้อ ล่าเตียง หรุ่ม รังนกนึ่ง ไตปลา และแสร้งว่า ตอนท้ายกล่าวถึงผักที่เป็นเครื่องจิ้ม คือ ใบโศก
ผักโฉม และผักหวาน ในบทประพันธ์ทุกบท เมื่อกวีกล่าวชมอาหารแล้วจะพรรณนาเชื่อมโยงไปถึงความรัก
ที่มีต่อนางผู้เป็นที่รักได้อย่างลึกซึ้งกินใจ
ชื่ออาหารที่ปรากฏในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
๑.แกงมัสมั่น
๒.ยาใหญ่
๓.ตับเหล็กลวก
๔.หมูแนม
๕.ก้อยกุ้ง
๖.แกงเทโพเนื้อ
๗.แกงขม
๘.แกงอ่อม
๙. ข้าวหุงเครื่องเทศ
๑๐. แกงคั่วส้มใส่ระกา
๑๑. พล่าเนื้อ
๑๒ .ล่าเตียง
๑๓ .หรุ่ม
๑๔. รังนก
๑๕.ไตปลา
๑๖.แสร้งว่า
๑๗.น้ายา
๑๘.หมูป่าต้ม
ชื่อผักที่ปรากฏในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
๑.ใบโศก
๒. ผักโฉม
๓.ผักหวาน
เนื้อเรื่องย่อกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ตอนที่ ๑ เห่ชมเครื่องคาว ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๑๕ บท ในบทเห่ชุดนี้กวีกล่าวชื่ออาหารคาว
ทั้งหมด ๑๕ ชนิด
ตอนที่ ๒ เห่ชมผลไม้ ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๑๔ บท ในบทเห่ชุดนี้กวีกล่าวชื่อผลไม้
ทั้งหมด ๑๔ ชนิด
ตอนที่ ๓ เห่ชมเครื่องหวาน ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๑๕ บท ในบทเห่ชุดนี้กวีกล่าวชื่ออาหาร
หวานทั้งหมด ๑๖ ชนิด
ตอนที่ ๔ เห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๒๑ บท
ตอนที่ ๕ เห่บทเจ้าเซ่น ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๒ บท
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ โดย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒
ลักษณะคาประพันธ์ แต่งตามกาพย์เห่เรือคือแต่งเป็นโคลงผสมกาพย์ตอนต้นเป็นโคลงสี่สุภาพ ๑ บท ตาม
ด้วยกาพย์ยานี๑๑ ไม่จากัดจานวน กาพย์ยานีบทแรกจะเลียนความจากโคลงสี่สุภาพตอนต้น
จุดประสงค์ในการแต่ง เพื่อใช้เห่ชมฝีพระหัตถ์ในการแต่งเครื่องเสวยของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรม
ราชินี บทเห่นี้มีเนื้อความเป็นบทพรรณนาเกี่ยวกับอาหารที่บรรจงปรุงแต่งอย่าง "ถึงเครื่องถึงรส" สะท้อน
ถึงฝีมือการปรุงอาหารอย่างหาที่เปรียบได้ยาก
„ เห่ชมเครื่องคาว
๏ แกงไก่มัสมั่นเนื้อ นพคุณ พี่เอย
หอมยี่หร่ารสฉุน เฉียบร้อน
ชายใดบริโภคภุญช์ พิศวาส หวังนา
แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกให้หวนแสวง ๚
๏ มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง
ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา
๏ ยาใหญ่ใส่สารพัด วางจานจัดหลายเหลือตรา
รสดีด้วยน้าปลา ญี่ปุ่นล้าย้ายวนใจ
๏ ตับเหล็กลวกหล่อนต้ม เจือน้าส้มโรยพริกไทย
โอชาจะหาไหน ไม่มีเทียบเปรียบมือนาง
๏ หมูแนมแหลมเลิศรส พร้อมพริกสดใบทองหลาง
พิศห่อเห็นรางชาง ห่างห่อหวนป่วนใจโหย
๏ ก้อยกุ้งปรุงประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย
รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤๅจะเปรียบเทียบทันขวัญ
๏ เทโพพื้นเนื้อท้อง เป็นมันย่องล่องลอยมัน
น่าซดรสครามครัน ของสวรรค์เสวยรมย์
๏ ความรักยักเปลี่ยนท่า ทาน้ายาอย่างแกงขม
กลอ่อมกล่อมเกลี้ยงกลม ชมไม่วายคล้ายคล้ายเห็น
๏ ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใส่ลูกเอ็น
ใครหุงปรุงไม่เป็น เช่นเชิงมิตรประดิษฐ์ทา
๏ เหลือรู้หมูป่าต้ม แกงคั่วส้มใส่ระกา
รอยแจ้งแห่งความขา ช้าทรวงเศร้าเจ้าตรากตรอม
๏ ช้าช้าพล่าเนื้อสด ฟุ้งปรากฏรสหื่นหอม
คิดความยามถนอม สนิทเนื้อเจือเสาวคนธ์
๏ ล่าเตียงคิดเตียงน้อง นอนเตียงทองทาเมืองบน
ลดหลั่นชั้นชอบกล ยลอยากนิทรคิดแนบนอน
๏ เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน
เจ็บไกลในอาวรณ์ ร้อนรุมรุ่มกลุ้มกลางทรวง
๏ รังนกนึ่งน่าซด โอชารสกว่าทั้งปวง
นกพรากจากรังรวง เหมือนเรียมร้างห่างห้องหวน
๏ ไตปลาเสแสร้งว่า ดุจวาจากระบิดกระบวน
ใบโศกบอกโศกครวญ ให้พี่เคร่าเจ้าดวงใจ
๏ ผักโฉมชื่อเพราะพร้อง เป็นโฉมน้องฤๅโฉมไหน
ผักหวานซ่านทรวงใน ใคร่ครวญรักผักหวานนาง ๚
„ เห่ชมผลไม้
๏ ผลชิดแช่อิ่มโอ้ เอมใจ
หอมชื่นกลืนหวานใน อกชู้
รื่นรื่นรสรมย์ใด ฤๅดุจ นี้แม
หวานเลิศเหลือรู้รู้ แต่เนื้อนงพาล ๚
๏ ผลชิดแช่อิ่มอบ หอมตรลบล้าเหลือหวาน
รสไหนไม่เปรียบปาน หวานเหลือแล้วแก้วกลอยใจ
๏ ตาลเฉาะเหมาะใจจริง รสเย็นยิ่งยิ่งเย็นใจ
คิดความยามพิสมัย หมายเหมือนจริงยิ่งอยากเห็น
๏ ผลจากเจ้าลอยแก้ว บอกความแล้วจากจาเป็น
จากช้าน้าตากระเด็น เป็นทุกข์ท่าหน้านวลแตง
๏ หมากปรางนางปอกแล้ว ใส่โถแก้วแพร้วพรายแสง
ยามชื่นรื่นโรยแรง ปรางอิ่มอาบซาบนาสา
๏ หวนห่วงม่วงหมอนทอง อีกอกร่องรสโอชา
คิดความยามนิทรา อุราแนบแอบอกอร
๏ ลิ้นจี่มีครุ่นครุ่น เรียกส้มฉุนใช้นามกร
หวนถวิลลิ้นลมงอน ชะอ้อนถ้อยร้อยกระบวน
๏ พลับจีนจักด้วยมีด ทาประณีตน้าตาลกวน
คิดโอษฐ์อ่อนยิ้มยวน ยลยิ่งพลับยับยับพรรณ
๏ น้อยหน่านาเมล็ดออก ปล้อนเปลือกปอกเป็นอัศจรรย
มือใครไหนจักทัน เทียบเทียมที่ฝีมือนาง
๏ ผลเกดพิเศษสด โอชารสล้าเลิศปาง
คานึงถึงเอวบาง สางเกศเส้นขนเม่นสอย
๏ ทับทิมพริ้มตาตรู ใส่จานดูดุจเม็ดพลอย
สุกแสงแดงจักย้อย อย่างแหวนก้อยแก้วตาชาย
๏ ทุเรียนเจียนตองปู เนื้อดีดูเหลือเรืองพราย
เหมือนศรีฉวีกาย สายสวาทพี่ที่คู่คิด
๏ ลางสาดแสวงเนื้อหอม ผลงอมงอมรสหวานสนิท
กลืนพลางทางเพ่งพิศ คิดยามสารทยาตรามา
๏ ผลเงาะไม่งามแงะ มล่อนเมล็ดและเหลือปัญญา
หวนเห็นเช่นรจนา จ๋าเจ้าเงาะเพราะเห็นงาม
๏ สละสาแลงผล คิดลาต้นแน่นหนาหนาม
ท่าทิ่มปิ้มปืนกาม นามสละมละเมตตา ๚
„ เห่ชมเครื่องหวาน
๏ สังขยาหน้าไข่คุ้น เคยมี
แกมกับข้าวเหนียวสี โศกย้อม
เป็นนัยนาวาที สมรแม่ มาแม
แถลงว่าโศกเสมอพ้อม เพียบแอ้อกอร ๚
๏ สังขยาหน้าตั้งไข่ ข้าวเหนียวใส่สีโศกแสดง
เป็นนัยไม่เคลือบแคลง แจ้งว่าเจ้าเศร้าโศกเหลือ
๏ ซ่าหริ่มลิ้มหวานล้า แทรกใส่น้ากะทิเจือ
วิตกอกแห้งเครือ ได้เสพหริ่มพิมเสนโรย
๏ ลาเจียกชื่อขนม นึกโฉมฉมหอมชวยโชย
ไกลกลิ่นดิ้นแดโดย โหยไห้หาบุหงางาม
๏ มัศกอดกอดอย่างไร น่าสงสัยใคร่ขอถาม
กอดเคล้นจะเห็นความ ขนมนามนี้ยังแคลง
๏ ลุดตี่นี้น่าชม แผ่แผ่นกลมเพียงแผ่นแผง
โอชาหน้าไก่แกง แคลงของแขกแปลกกลิ่นอาย
๏ ขนมจีบเจ้าจีบห่อ งามสมส่อประพิมพ์ประพาย
นึกน้องนุ่งจีบกราย ชายพกจีบกลีบแนบเนียน
๏ รสรักยักลานา ประดิษฐ์ทาขนมเทียน
คานึงนิ้วนางเจียน เทียนหล่อเหลาเกลากลึงกลม
๏ ทองหยิบทิพย์เทียมทัด สามหยิบชัดน่าเชยชม
หลงหยิบว่ายาดม ก้มหน้าเมินเขินขวยใจ
๏ ขนมผิงผิงผ่าวร้อน เพียงไฟฟอนฟอกทรวงใน
ร้อนนักรักแรมไกล เมื่อไรเห็นจะเย็นทรวง
๏ รังไรโรงด้วยแป้ง เหมือนนกแกล้วทารังรวง
โอ้อกนกทั้งปวง ยังยินดีด้วยมีรัง
๏ ทองหยอดทอดสนิท ทองม้วนมิดคิดความหลัง
สองปีสองปิดบัง แต่ลาพังสองต่อสอง
๏ งามจริงจ่ามงกุฏ ใส่ชื่อดุจมงกุฏทอง
เรียมร่าคานึงปอง สะอิ้งน้องนั้นเคยยล
๏ บัวลอยเล่ห์บัวงาม คิดบัวกามแก้วกับตน
ปลั่งเปล่งเคร่งยุคล สถนนุชดุจประทุม
๏ ช่อม่วงเหมาะมีรส หอมปรากฏกลโกสุม
คิดสีสไลคลุม หุ้มห่อม่วงดวงพุดตาน
๏ ฝอยทองเป็นยองใย เหมือนเส้นไหมไข่ของหวาน
คิดความยามเยาวมาลย์ เย็บชุนใช้ไหมทองจีน ๚
๓. คุณค่าและข้อคิดที่ได้
๓.๑ คุณค่าด้านวรรณคดีและวรรณศิลป์
๑ คุณค่าด้านวรรณคดี “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” เป็นกาพย์เห่นิราศที่มีคุณค่ามากในวงการ
วรรณคดีไทย และเป็นต้นแบบให้แก่การแต่งกาพย์เห่บางบทในสมัยหลังต่อมา คือ บทเห่ชมเครื่องว่างซึ่ง
เป็นเนื้อความตอนหนึ่งใน “กาพย์เห่เรือ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว” ในบท
เห่ชมเครื่องว่างมีเนื้อความกล่าวถึงอาหารหลากหลายชนิดที่เป็นฝีมือของนางที่กวีทรงรัก การชมดังกล่าวนี้
น่าจะได้รับอิทธิพลจาก “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” นี้เอง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ขึ้น
โดยทรงสืบทอดขนบการแต่งวรรณคดีของกวีโบราณ และพัฒนาจนเป็นกาพย์เห่นิราศดีเยี่ยมที่ประดับ
วงการวรรณคดีไทยมาจนตราบเท่าทุกวันนี้
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีความรู้เรื่องวรรณคดีโบราณเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น
วรรณคดีทั่วไปหรือวรรณคดีประเภทกาพย์เห่ ดังเห็นได้จากบทพระราชนิพนธ์ที่ทรงดาเนินตามขนบของกวี
โบราณอย่างเด่นชัด ดังรายละเอียดต่อไปนี้
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงสืบทอดการแต่งวรรณคดีนิราศประเภทคร่าครวญ
คิดถึงนางที่จากกวีไปจาก “ทวาทศมาสโคลงดั้น” ในสมัยอยุธยาตอนต้น และ/หรือ “กาพย์ห่อโคลงนิราศธาร
โศก” ในสมัยอยุธยาตอนปลาย เมื่อกล่าวถึงวันเวลาในรอบ ๑๒ เดือนที่เคลื่อนหมุนไปโดยไม่มีการเดินทาง
เพื่อสื่อความหมายว่าช่วงเวลาที่กวีมีความทุกข์โศกนั้นช่างยาวนานราวกับ ๑๒ เดือนหรือ ๑ ปี แม้กระนั้น
“กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ก็มีลักษณะเด่นเฉพาะของตนเองตรงที่ใช้จุดเริ่มต้นของเวลาเป็นเดือนสาม
ไม่ใช่เดือนห้าอย่างที่พบใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยยัง
ทรงใช้ชื่ออาหารคาวหวานเป็นช่องทางในการคร่าครวญคิดถึงนางได้อย่างแยบคาย สอดคล้องกับพระปรีชา
สามารถพิเศษของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีที่ทรงปรุงแต่งเครื่องเสวยคาวหวานได้เป็นเลิศ ไม่มี
หญิงใดในสมัยนั้นเทียบได้เลย
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงสืบทอดการแต่งคาประพันธ์ประเภท
กาพย์เห่จาก “กาพย์เห่เรือพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร” ที่ประกอบด้วยเนื้อหาหลากหลายตอนที่มี
ความสัมพันธ์กัน
เนื้อหาหลายตอนใน “กาพย์เห่เรือพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร” ได้แก่ เห่ชมเรือกระบวน เห่
ชมปลา เห่ชมไม้ เห่ชมนก เห่เรื่องกากี เห่บทสังวาส และเห่ครวญ
ส่วนเนื้อหาหลายตอนใน “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ได้แก่ เห่ชมเครื่องคาว เห่ชมผลไม้ เห่ชม
เครื่องหวาน เห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ และเห่บทเจ้าเซ็น ขณะเดียวกัน ยังทรงสืบทอดการแต่งกาพย์เห่ให้
เป็น นิราศจาก “กาพย์เห่เรือพระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิ- เบศร” ด้วย
นอกจากนี้ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ยังเป็นวรรณคดีไทยที่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์อย่างสูงส่ง
ดังจะได้กล่าวในหัวข้อต่อไป
๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์อย่างเด่นชัด
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ (๒๕๔๖ : ๑๐๕๕) อธิบายความหมายของคา
ว่า “วรรณศิลป์” ว่าหมายถึงศิลปะในการแต่งหนังสือ
“กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” เป็นวรรณคดีไทยที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง เห็นได้จากวรรณศิลป์ด้าน
ภาษา ด้านเนื้อหา ด้านกลวิธีการแต่ง ดังรายละเอียดต่อไปนี้
๑.๒.๑ วรรณศิลป์ด้านภาษา มีการใช้ภาษาอย่างไพเราะด้วยการเพิ่มความไพเราะด้านเสียง และ
เพิ่มความไพเราะด้านคา ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ก. เพิ่มความไพเราะด้านเสียง กวีทรงเพิ่มความไพเราะด้านเสียงด้วย วิธีการต่างๆดังนี้
เพิ่มเสียงไพเราะในโคลงด้วยการให้มีสัมผัสพยัญชนะระหว่างวรรคในบาทเดียวกัน เช่น
แกงไก่มัสมั่นเนื้อ นพคุณ พี่เอย
หอมยี่หร่ารสฉุน เฉียบร้อน
ชายใดบริโภคภุญช์ พิศวาส หวังนา
แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกไห้หวนแสวง
ในตัวอย่างนี้ กวีทรงใช้คาสุดท้ายในวรรคหน้าให้สัมผัสพยัญชนะกับคาแรกในวรรคหลังในบาท
เดียวกัน ได้แก่ เนื้อ – นพ(คุณ) ฉุน – เฉียบ และคาว่า ภุญช์– พิศ(วาส) ในบาทที่หนึ่ง สอง และสาม
ตามลาดับ
เพิ่มเสียงไพเราะในโคลงด้วยการให้มีสัมผัสในภายในวรรคและในบาทเดียวกัน มีทั้งที่เป็นสัมผัส
พยัญชนะ และสัมผัสสระ เช่น
ผลชิดแช่อิ่มโอ้ เอมใจ
หอมชื่นกลืนหวานใน อกชู้
รื่นรื่นรสรมย์ใด ฤาดุจ นี้แม่
หวานเลิศเหลือรู้รู้ แต่เนื้อนงพาล
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในแต่ละวรรคได้แก่ คาว่า (ผล) ชิด – แช่ อิ่ม – โอ้ ในวรรค
หน้าของบาทแรก คาว่า รื่น – รื่น – รส – รมย์ ในวรรคหน้าของบาทที่สาม คาว่า เลิศ – เหลือ และ รู้ – รู้ ใน
วรรคหน้าของบาทที่สี่
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในแต่ละบาทได้แก่ คาว่า อิ่ม – โอ้ – เอม ในบาทแรก คาว่า
รื่น – รื่น – รส – รมย์ – ฤา ในบาทที่สาม
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในแต่ละวรรค เช่น ชื่น – กลืน ในวรรคหน้าของบาทที่สอง
เพิ่มเสียงไพเราะในกาพย์ด้วยการให้มีสัมผัสในภายในวรรคเดียวกัน มีทั้งที่เป็นสัมผัสพยัญชนะ
และสัมผัสสระ เช่น
ก้อยกุ้งปรุงประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย
รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤาจักเปรียบเทียบทันขวัญ
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในวรรคเดียวกัน เช่น ก้อย – กุ้ง ปรุง – ประ (ทิ่น) ในวรรค
หนึ่งของกาพย์ยานี ดิ้น – แด – โดย ในวรรคที่สองของกาพย์ยานี และ เทียบ – ทัน ในวรรคที่สี่
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในวรรคเดียวกัน เช่น กุ้ง – ปรุง ในวรรคที่หนึ่ง ลิ้น – ดิ้น ใน
วรรคที่สอง ทิพย์ – หยิบ ในวรรคที่สาม และ เปรียบ – เทียบ ทัน – ขวัญ ในวรรคที่สี่
ตัวอย่างในบทเห่ผลไม้ มีดังนี้
หมากปางนางปอกแล้ว ใส่โถแก้วแพร้วพรายแสง
ยามชื่นรื่นโรยแรง ปรางอิ่มอาบซาบนาสา
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในวรรคเดียวกัน เช่น แพร้ว – พราย ในวรรคที่สอง รื่น –
โรย – แรง ในวรรคที่สาม และคา อิ่ม – อาบ และ ซาบ– (นา) สา ในวรรคที่สี่
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในวรรคเดียวกัน เช่น ปราง – นาง แก้ว – แพร้ว ชื่น – รื่น
อาบ – ซาบ ในวรรคที่หนึ่ง สอง สาม และสี่ตามลาดับ
ตัวอย่างในบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ ได้แก่
ทุกลาลอบเล็งลักษณ์ ไม่พบพักตร์เจ้างามเสงี่ยม
ดูไหนไม่เทียบเทียม ร่วมรักเรียมรูปร่างรัด
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในวรรคเดียวกัน เช่น ลา – ลอบ – เล็ง – ลักษณ์ ในวรรคที่
หนึ่ง พบ – พักตร์ และ งาม – เสงี่ยม ในวรรคที่สอง เทียบ – เทียม ในวรรคที่สาม ร่วม – รัก – เรียม – รูป –
ร่าง – รัด ในวรรคที่สี่ ในที่นี้เห็นได้ว่าการใช้คาที่มีเสียงสัมผัสพยัญชนะในวรรคที่สี่ทาได้ดีมาก เพราะมี
เสียงสัมผัสพยัญชนะทุกคา
ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในวรรคเดียวกัน เช่น ไหน - ไม่ ในวรรคที่สาม
เพิ่มเสียงไพเราะในกาพย์ด้วยการให้มีสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระที่มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน
เช่น ชายใดได้กลืนแกง เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า ร้อนรุมรุ่มกลุ้มกลางทรวง
คาว่า ใด – ได้ หรุ่ม – รุม รุม – รุ่ม มีทั้งเล่นเสียงพยัญชนะเดียวกันและเล่นเสียงสระเดียวกัน แต่มี
วรรณยุกต์ต่างกัน
มีความเห็นว่าความไพเราะด้านเสียงที่มีอยู่เต็มเปี่ยมใน “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” นี้ ทาให้
กาพย์เห่เรื่องนี้ไพเราะทัดเทียมกับ “กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร”
การใช้คาที่ก่อให้เกิดความไพเราะในกาพย์เห่เรื่องนี้ได้แก่ การซ้าคาในตาแหน่งต่างๆ การใช้คา
สลับที่ การใช้คาหลาก การใช้คาที่มีความหมายหลายนัย การใช้คากระชับที่กินความ การใช้คาจินตภาพ และ
การใช้ภาพพจน์
การซ้าคาในตาแหน่งต่างๆ มีรายละเอียดต่อไปนี้
การซ้าคาในตาแหน่งติดกัน เช่น
ลิ้นจี่มีครุ่นครุ่น เรียกส้มฉุนใช้นามกร
หวนถวิลลิ้นลมงอน ชะอ้อนถ้อยร้อยกระบวน
ในตัวอย่างข้างต้น กวีทรงใช้คา “ครุ่น - ครุ่น” ซึ่งมีความหมายว่า บ่อยๆ เสมอๆ
ที่เป็นการซ้าคาในตาแหน่งห่างกัน เช่น
ขนมจีบเจ้าจีบห่อ งามสมส่อประพิมพ์ประพาย
นึกน้องนุ่งฉีกทวาย ชายพกจีบกลีบแนบเนียน
ในตัวอย่างกวีทรงใช้คา “(ขนม)จีบ – จีบ(ห่อ) – (ชายพก)จีบ”
ตัวอย่างอื่นได้แก่
ทองหยิบทิพย์เทียบทัด สามหยิบชัดน่าเชยชม
หลงหยิบว่ายาดม ก้มหน้าเมิลเขินขวยใจ
ในตัวอย่างนี้ทรงใช้คา “(ทอง)หยิบ – (สาม)หยิบ – หยิบ(ยาดม)
ที่เป็นการซ้าคาในตาแหน่งต้นวรรค เช่น
คิดรูปน่ารักเหลือ คิดนุ่มเนื้อน่าเชยชม
คิดเนตรขาค้อนคม ผมหอมชื่นรื่นรสคนธ์
ในตัวอย่างข้างต้นมีวิธีการใช้คาคาเดียวกันที่ต้นวรรคที่หนึ่ง วรรคที่สอง และวรรคที่สาม เป็นการ
เน้นความหมายขอคาดังกล่าว คือ เน้นย้าความคิดถึงของกวี กล่าวคือ ทรงคิดถึงพระรูปโฉมที่น่ารักของพระ
นาง พระมังสาอันอ่อนนุ่มของพระนาง และพระเนตรที่งามคมของพระนาง
ที่เป็นการซ้าคาในตาแหน่งที่หลากหลาย เช่น
เดือนแรมเหมือนเรียมค้าง เรื่องรักร้างแรมขนิษฐา
แรมรสแรมพจนา แรมเห็นหน้านิ่งนอนแรม
ตัวอย่างข้างต้นนี้แสดงวิธีการซ้าคาคาเดียวกันที่ปรากฏในหลากหลายตาแหน่ง มีทั้งซ้าคาระหว่าง
วรรคทุกวรรค ได้แก่ ซ้าคาว่า “แรม” การซ้าคาต้นวรรคดังปรากฏที่ต้นวรรคสามกับต้นวรรคสี่ และการซ้า
คาระหว่างคาต้นวรรคกับคาในวรรคดังปรากฏในวรรคสามและวรรคสี่ทาให้เกิดความไพเราะของเสียงคาที่
ซ้ากัน และความคมคายด้านความหมาย กล่าวคือ เดือนข้างแรมที่ค้างอยู่ในท้องฟ้าทาให้กวีทรงคิดถึงความ
รักของพระองค์ที่ยังค้างคา คือ ยังไม่สาเร็จสมพระประสงค์ เพราะยังทรงแรมร้างจากความรักและทรงพลัด
พรากจากนาง มีผลให้ทรงไม่มีโอกาสได้รับทั้งรสอาหารที่นางทรงปรุงแต่งและรสเสน่หาของนาง ทรงไม่มี
โอกาสรับสั่งกับนาง ทรงไม่มีโอกาสทอดพระเนตรเห็นนาง และทาให้ทรงต้องบรรทมนิ่งและแรมคืนนอก
หอห้อง
การซ้าคาในตาแหน่งต่างๆ ที่หลากหลายเช่นนี้ ทาให้เกิดความไพเราะของเสียงคาในท่วงทานอง
ของลีลาและจังหวะที่แตกต่างกัน ทาให้ไม่ซ้าซาก และเป็นเสน่ห์ที่น่าฟังอย่างหนึ่งของกาพย์เห่เรื่องนี้
ในพจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๕ : ๒๒๘)
เรียกว่าการสลับคา และอธิบายว่าเป็นการใช้ภาษาเพื่อเน้นความหมายหรือเพื่อให้ได้ผลทางกวีนิพนธ์
การใช้คาสลับที่เป็นลักษณะเด่นประการหนึ่งของภาษาไทย สามรถสลับตาแหน่งของคา แล้วทา
ให้เกิดความหมายต่างกันได้ เช่น ไข่ไก่ – ไก่ไข่ แน่นหนา – หนาแน่น ไปเที่ยว – เที่ยวไป เรือโคลง –
โคลงเรือ หันเห – เหหัน ลักษณะการใช้คาเช่นนี้แสดงความสามารถของกวีได้ดีอย่างหนึ่ง ที่พบในกาพย์แห่
เรื่องนี้ ได้แก่
ตาลเฉาะเหมาะใจจริง รสเย็นยิ่งยิ่งเย็นใจ
คิดความยามพิสมัย หมายเหมือนจริงยิ่งอยากเห็น
ในตัวอย่างนี้ กวีทรงเล่นคา “เย็นยิ่ง – ยิ่งเย็น” ซึ่งสื่อความหมายว่ามีรสเย็นที่ก่อให้เกิดความรู้สึก
ชื่นใจมาก และทาให้เย็นใจ หรือสบายใจ
การใช้คาหลาก หมายถึงการใช้ทาที่มีความหมายเหมือนกัน แต่มีรูปคาต่างกัน พระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงใช้คานี้กระจายอยู่ในที่ต่างๆ ซึ่งช่วยเสริมความให้แก่กันและกัน ลักษณะเช่นนี้
สะท้อนให้เห็นความรอบรู้เรื่องคาต่างๆ ของพระองค์ได้อย่างดียิ่ง
ในพจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๕: ๑๖) อธิบาย
ความหมายของคาว่า “ambiguity”ซึ่งในหนังสือดังกล่าวเรียกว่า “ความกากวม” และอธิบายผลการใช้คา
ดังกล่าวที่มีทั้งไม่ดีและดี แต่ก็ยอมรับว่ามักเกิดผลดีเมื่อนามาใช้ในวรรณคดี
คาอธิบายดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับการใช้คาเช่นนี้ในวรรณคดี มีดังนี้
ในวรรณคดี คาจะแสดงความหมายในการเสนอแนะความหมายที่เหมาะสมเท่าๆกันตั้งแต่ ๒
ความหมายขึ้นไปในบริบทที่กาหนดให้ในการถ่ายทอดความหมายอันเป็นแก่นแท้ และนาความหมายนั้นไป
ประกอบกับความหมายรองที่มีความหมายและมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น รวมทั้งการทาให้เกิดมีความหมาย ๒
ความหมายขึ้นในเวลาเดียวกัน
ในพจนานุกรมฉบับดังกล่าวข้างต้นยังอธิบายเพิ่มเติมว่าความหมายหลากหลายที่เกิดจากพลังของ
คา ที่กระตุ้นให้มีกระแสความคิดต่างๆ หลายกระแสพร้อมๆกันได้ และทุกกระแสความคิดล้วนมีความหมาย
ด้วยนั้นเป็นลักษณะพิเศษของความรุ่มรวยทางภาษาและความเข้มข้นในการสร้างสรรค์บทกวีที่ยิ่งใหญ่
การใช้คาลักษณะต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้นทาให้เกิดความงามด้านการใช้ภาษา แสดงให้เห็นพระ
ปรีชาสามารถของกวีเรื่องวรรณศิลป์ในด้านภาษาอย่างชัดเจนที่ก่อให้เกิดเสียงไพเราะ มีผลต่อการสื่อความ
ที่ตั้งพระทัยแฝงนัยบางประการไว้ซึ่งเป็นเสน่ห์ดึงดูดใจให้ค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ มีผลต่อการสื้อความ
หมายได้แจ่มแจ้ง และมีผลต่อการ เน้นย้าความหมายและสร้างภาพในใจให้ผู้อ่าน ทาให้สามารถเข้าใจ
ความหมายของเรื่องที่ต้องการสื่อได้อย่างลึกซึ้ง การใช้คาเหล่านี้ส่งผลให้กาพย์เห่เรื่องนี้งามพร้อมทั้งเสียง
คา และความหมาย แสดงให้เห็นพระอัจฉริยภาพด้านอักษรศาสตร์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัยได้อย่างชัดเจน
๑.๒.๒ วรรณศิลป์ด้านกลวิธีการแต่ง ในการแต่งวรรณคดี หากผู้แต่งมีความสามารถสูง คือ มี
กลวิธีการแต่งที่ล้าเลิศ จะสามารถนาเสนอเรื่องที่ต้องการได้อย่างน่าสนใจและน่ายกย่อง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์
“กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ได้อย่างยอดเยี่ยม ดังที่ได้สะท้อนให้เห็นจากกลวิธีการพระราชนิพนธ์อย่างมี
วรรณศิลป์ดังต่อไปนี้
ก. กลวิธีที่ทรงนาเครื่องเสวยคาวหวานมาใช้เป็นสื่อในการคร่าครวญคิดถึงนางและพรรณนาความ
โศกเศร้าของพระองค์ กลวิธีการกล่าวถึงอาหารที่หญิงคนรักทาหรือกล่าวถึงพืชผักบางชนิดเพื่อโยงไปสู่
ความคิดถึงนางนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะเคยมีปรากฏแล้วในวรรณคดีไทยก่อนหน้า “กาพย์เห่ชมเครื่องคาว
หวาน” ดังนี้
ใน “กาสรวลโคลงดั้น” ซึ่งเป็นวรรณคดีสาคัญเรื่องหนึ่งในสมัยอยุธยาตอนต้น เมื่อกวีทรงเดินทาง
ถึงเกรียนสวาย ก็ทรงนาความหมายของคาว่า “สวาย” ที่แปลว่า มะม่วง มาระพันว่าทรงนึกถึงมะม่วงที่นาง
ทรงผ่านและทรงเห็นภาพดังกล่าวในความนึกคิดได้อย่างแจ่มชัด (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐:
๕๒๑) เมื่อกวีทรงเดินทางถึงบางพลู ก็ทรงกล่าวราพันว่าทรงนึกถึงพลูที่นางเสวยได้อย่างถนัดชัดเจน ทาให้
พระทัยดิ้นโหยหานาง (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๕๒๖) เมื่อทรงเดินทางผ่านสองฝั่งน้าที่มี
ต้นหมาก ทรงได้กลิ่นหอมของดอกหมากและทรงคิดถึงกลิ่นหอมจากพระเกศาของนาง และกระแจะจันทร์
ที่นางทรงลูบไล้พระวรกาย (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๕๒๙)
แม้ว่าการกล่าวถึงคุณสมบัติของนางที่ทรงปรุงและจัดแต่งอาหารมีปรากฏในนิราศโบราณหลาย
เรื่อง แต่ก็ไม่เคยมีเรื่องใดที่นาชื่ออาหารชนิดต่างๆ จานวนมากเช่นนี้มากล่าวไว้เหมือนดังที่พบใน “กาพย์เห่
ชมเครื่องคาวหวาน” การที่กวีทรงกล่าวชื่ออาหารต่างๆ ขึ้นนี้ นอกจากจะทรงกล่าวเพื่อชมพระปรีชา
สามารถในการปรุงและจัดแต่งเครื่องเสวยคาวหวานของนางที่ทรงรักแล้ว ยังเป็นกลวิธีกล่าวชมความงาม
ของนาง และเป็นสื่อ กลางให้กวีได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกคิดถึงนางได้นางแยบคายด้วย กลวิธีเช่นนี้
นอกจากจะแปลกแตกต่างไปจากกวีอื่นแล้ว ยังสอดคล้องกับคุณสมบัติพิเศษของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบ
รมราชินีหรือสมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้าบุญรอดในสมัยรัชกาลที่ ๑ ที่ทรงได้รับยกย่องว่ามีพระปรีชา
สามารถในการปรุงและจัดแต่งเครื่องเสวยได้อย่างดีเยี่ยม ไม่มีหญิงใดในสมัยเดียวกันเทียบได้ แม้ว่าจะมีการ
ชมพระปรีชาสามารถในการปรุงและจัดแต่งเครื่องเสวยคาวหวานอิสลามของสมเด็จพระศรีสุลาลัยปนอยู่
บ้างก็ตาม แต่เมื่อเทียบกับการชมพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระสุริเยนทราบรมราชินีแล้วก็พบว่ามี
จานวนน้อยกว่ามาก
เมื่อพิจารรากลวิธีการนาชื่ออาหารมากล่าวคิดถึงนาง พบว่ามีหลากหลายวิธี ดังที่ได้กล่าว
รายละเอียดไปแล้วในบทที่ ๓ ซึ่งสรุปได้ดังนี้
ชื่ออาหาร + รสชาติยอดเยี่ยม
ชื่ออาหาร + รสชาติยอดเยี่ยมและการจัดแต่งอย่างสวยงามยิ่ง
ชื่ออาหาร + พฤติกรรมของกวีที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับนางหรือพฤติกรรมของนาง
ชื่ออาหาร + อวัยวะของนางหรือตัวนาง
ชื่ออาหาร + เครื่องใช้ของนาง
ชื่ออาหาร + ความรู้สึกทุกข์โศกของกวีหรือของนาง
ชื่ออาหาร + พฤติกรรมของนาง
ข. กลวิธีที่ทรงนาเวลาในรอบปีมาเป็นสื่อในการคร่าครวญคิดถึงนางและพรรณนาความโศกเศร้า
ของพระองค์ เพื่อสื่อความหมายว่าพระองค์ทรงรู้สึกว่าได้ตรอมตรมอยูในห้วงทุกข์เพราะคิดถึงนางเป็นเวลา
เนิ่นนานนับปี กลวิธีเช่นนี้มีมาแล้วใน “ทวาทศมาสโคลงตั้น” ที่กวีทรงใช้เวลาที่เคลื่อนหมุนไปเป็นช่องทาง
ในการครวญคิดนึงนาง โดยเริ่มครวญคิดถึงนางตั้งแต่เดือน ๕ เป็นต้นไปจนถึงเดือน ๔ ซึ่งครบรอบพอดี
(วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๖๘๘ – ๗๒๑) และกวีกล่าวสรุปว่าครวญคิดถึงนางจนครบ ๑๒
เดือนหรือ ๑ ปีแล้ว แต่ก็ยังไม่มีความสุขเพราะยังพลัดพรากจากนางอยู่ (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒,
๒๕๓๐: ๗๒๗)
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรก็ทรงนากลวิธีการแต่งเช่นนี้ไปทรงพระนิพนธ์ “กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก”
โดยทรงพรรณนาความคิดถึงนางเมื่อทรงกล่าวถึงเวลาที่หมุนเวียนเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะของการแบ่ง
ช่วงเวลาที่ละเอียดมากกว่าใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” กล่าวคือ ทรงแบ่งเวลาออกเป็น ชั่วโมง ยาม วัน
เดือน ฤดู ปี มีข้อสังเกตว่าเมื่อทรงครวญคิดถึงนางในเดือนต่างๆ ทรงเริ่มที่เดือน ๕ และสิ้นสุดที่เดือน ๔
(วรรณกรรมสมัยอยุธยาเล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๒๖๑ – ๒๖๔) เหมือนดังที่ปรากฎใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” และ
ในที่สุดเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงสรุปว่าทรงครวญถึงนางเป็นเวลาถึง ๑๒ ปี อย่างไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย
(วรรณกรรมสมัยอยุธยาเล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๒๖๘)
ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเริ่มครวญคิดถึงนางในเดือน ๓ และสิ้นสุดการ
ครวญในเดือนยี่นี้ไม่ใช่เป็นเพียงการจัดเรียงเวลาให้ชนรอบปีเพื่อสื่อระยะเวลายาวนานนับปีที่ทรงจมอยู่ใน
ห้วงทุกข์อย่างที่พบใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” และ “ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก” เท่านั้น แต่น่าจะทรง
วางแผนไว้แล้วว่าเดือนยี่นั้นเป็นเวลาเหมาะสมที่จะทรงนามาเชื่อมโยงกับอารมณ์ความทุกข์โศกของพรองค์
ที่มีความรุนแรงเข้มข้นได้อย่างน่าสะเทือนใจ
ค. กลวิธีที่ดึงพิธีกรรมแห่เจ้าเซ็นออกจากเวลาในรอบ ๑๒ เดือนเพื่อเน้นอารมณ์โศกเศร้าของกวี
ให้เด่นชัดขึ้น แม้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจะทรงใช้เวลาในรอบ ๑๒ เดือน เป็นช่องทางใน
การพรรณนาคร่าครวญความคิดถึงและความทุกข์โศกเศร้าของกวีที่มีต่อนางขณะที่ทรงพลัดพรากจากนาง
นั้น แต่ก็ทรงมีกลวิธีการแต่งที่ซับซ้อนมากขึ้นกว่าที่พบใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” และในกาพย์เห่เรือที่เป็น
พระราชนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ในเบื้องต้นทรงกล่าวคิดถึงนางที่พลัดพรากจากไปตั้งแต่เดือน ๓ เป็น
ต้นไปจนกระทั่งเวลา (ในความคิดคานึงของกวี) ล่วงเลยไปถึงเดือนยี่ กวีทรงกล่าวถึงพิธีโล้ชิงช้า พิธีแห่พระ
อิศวร และพิธีแห่พระนารายณ์ซึ่งเป็นพิธีกรรมสาคัญในเดือนยี่ รวมทั้งความทุกข์โศกเศร้าที่อัดแน่นอยู่ใน
พระทัยจนกวีทรงอ่อนแรงและบรรทมนิ่งด้วยความตรอมพระทัย ดังปรากฎในกาพย์บทสุดท้ายของบทเห่
ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์
ในเห่บทเจ้าเซ็น กวีทรงบรรยายว่าทรงคร่าครวญคิดถึงนางมาจนเดือนมะหะหร่าซึ่งเป็นเดือนขึ้นปี
ใหม่ของชาวอิสลามนิกายฮุเซ็นซึ่งในปีที่กวีทรงคร่าครวญคิดถึงนางนั้น พิธีกรรมแห่เจ้าเซ็นน่าจะอยู่ใน
เดือนยี่ การกล่าวเช่นนี้สื่อความหมายว่ากวีทรงครวญคิดถึงนางมาจนครบรอบปีหรือ ๑๒ เดือนแล้ว เมื่อกวี
กวีทรงคิดถึงเดือนมะหะหร่า ก็ทรงนึกถึงพิธีกรรมวาคัญในเดือนนี้ของแขกเจ้าเซ็น ได้แก่ พิธีแห่เจ้าเซ็น
ผู้เข้าร่วมขบวนแห่เจ้าเซ็นจะทุบตีอกตัวเองเพื่อแสดงออกซึ่งความรักและความอาลัย พระเจ้าฮุเซ็นที่ถูก
สังหารในสงครามศาสนา เมื่อกวีทรงนึกถึงพิธีกรรมนี้ ก็ทรงนึกขึ้นได้ว่าพระองค์น่าจะแสดงความโศกเศร้า
และระบายความโศกเศร้าที่อัดแน่นอยู่ในพระทัยแบบแขกเจ้าเซ็นบ้าง จึงทรงลูบพระอุระไปมาเพื่อ
เลียนแบบการทุบตีอกของแขกเจ้าเซ็น แต่เมื่อทรงทาเช่นนี้แล้ว กลับทรงพบว่าไม่สามารถระบายความทุกข์
โศกหรือลดความโศกเศร้าในพระทัยลงได้เลยทั้งยังทรงตระหนักว่าความทุกข์โศกเศร้าของพระองค์มี
มากกว่าและรุนแรงกว่าความทุกข์ของแขกเจ้าเซ็นที่รักและอาลัยพระเจ้าฮุเซ็นเสียอีก
การที่กวีไม่ได้ทรงทุบตีพระอุระดุจการทุบตีอกตนเองของแขกเจ้าเซ็น ในพิธีกรรมแห่เจ้าเซ็น เป็น
เพราะกวีสิ้นไร้เรี่ยวแรงตั้งแต่ในตอนท้ายของบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์แล้ว และด้วยความสิ้นไร้
เรี่ยวแรง ของกวีนี่เอง จึงได้แต่ทรงลูบพระอุระไปมาเท่านั้น
ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าการที่กวีทรงเริ่มครวญคิดถึงนางในเดือน ๓ และสิ้นสุดการครวญในเดือนยี่
หรือเดือน ๒ เมื่อทรงกล่าวถึงพิธีกรรมแห่เจ้าเซ็นนี้เป็นไปตามแผนการพระราชนิพนธ์ที่ทรงวางไว้อย่างแยบ
คายยิ่ง นอกจากนี้จะทาให้แปลกแตกต่างไปจากวีอื่นแล้ว ยังส่งผลให้นาเสนออารมณ์ทุกข์โศกของกวีได้
อย่างสะเทือนอารมณ์ และทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งว่ากวีทรงโศกเศร้าคิดถึงนางมากเพียงใด
ง. กลวิธีที่ทรงเรียงลาดับเนื้อหาเพื่อนาเสนออารมณ์ที่เข้มข้นและรุนแรงขึ้น ผู้วิจัยได้กล่าว
รายละเอียดเรื่องนี้ไปแล้วในบทอื่นที่อยู่ก่อนหน้าบทนี้ ในที่นี้จะสรุปแต่เพียงสังเขปว่ากวีทรงเรียงลาดับ
เนื้อหาจากอารมณ์โศกเศร้าน้อยไปสู่อารมณ์เศร้ามากขึ้น จนกระทั่งความทุกข์โศกนั้นอัดแน่นในพระทัยจน
ต้องทรงบรรทมนิ่งดังที่ปรากฎในกาพย์บทสุดท้ายของบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ ต่อมากวีทรงต้อง
เปลี่ยนความโศกเศร้าที่อัดแน่นในพระทัยนั้นให้เป็นพฤติกรรมลูบพระอุระไปมาเพื่อจะให้บรรเทาความ
ทุกข์โศก แต่แท้จริงแล้วความทุกข์โศกยังมีมากเท่าเดิม หาได้ลดน้อยลงแต่อย่างใดไม่ ผู้วิจัยพบว่ากลวิธีการ
แต่งเช่นนี้ไม่เคยมีปรากฎในกาพย์เห่เรื่องใดๆ เลย นับเป็นกลวิธีการแต่งที่แสดงความสามารถวรรณศิลป์
อย่างสูงส่ง
จ. กลวิธีที่ทรงเปิดเรื่องด้วยคาว่า “ข้อนอก” และปิดเรื่องด้วย “ข้อนทรวง” กล่าวคือ ในโคลงนา
ของบทเห่เครื่องคาว มีข้อความกล่าวว่า “แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกไห้หวนแสวง” และปิดเรื่องด้วยการให้กวี
กล่าวราพันว่า “เรียมลูบอกไล้ไล้ คู่ข้อนทรวงเซ็น” ลักษณะเช่นนี้เป็นกลวิธีการแต่งที่เน้นความเป็นเอกภาพ
ของการใช้ภาษาที่มีความหมายอย่างเดียวกัน และเอกภาพของการใช้ภาษาที่สอดคล้องกับแก่นเรื่องของ
กาพย์เห่เรื่องนี้ด้วย เพราะการทุบตีอกเป็นการแสดงออกให้เห็นความโศกเศร้าที่มีอยู่ภายในใจซึ่งเป็น
สาระสาคัญในกาพย์เห่เรื่องนี้ ส่วนการใช้ภาษาที่สื่อความหมายของการทุบตีอกในตอนเริ่มเรื่อง คือ “แรง
อยากยอหัตถ์ข้อน อกไห้หวนแสวง” กับตอนปิดท้ายเรื่องที่ว่า “ลูบอกโอ้อาลัย ลาลศล้ากาสรวลเซ็น”
สะท้อนให้เห็นความคิดเรื่องวิธีแสดงออกของกวียามที่ทรงมีความทุกข์ คือ ทรงมุ่งมั่นกับวิธีการแสดงออก
ดังกล่าว และเมื่อทรงทุกข์โศกอย่างรุนแรง จึงทรงใช้วิธีการนี้แสดงเป็นพฤติกรรมออกมา
ฉ. กลวิธีที่ทรงเชื่อมโยงเนื้อหาที่เป็นบทเห่ชมเครื่องคาวหวาน บทเห่ชมผลไม้ บทเห่ชมเครื่อง
หวานให้เข้ากับเนื้อหาของบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์และเห่บทเจ้าเซ็นได้อย่างกลมกลืน โดยทรงใช้
ความคิดถึงนางและความทุกข์โศกเศร้าของพระองค์ขณะที่ทรงพลัดพรากจากนางที่ทรงรักเป็นเส้นด้ายร้อย
เรียงเนื้อหาเหล่านี้เข้าด้วยกันอย่างมีศิลปะและน่าชื่นชมยิ่ง กลวิธีนี้ทาให้เนื้อหาของกาพย์เห่เรื่องนี้ผสานกัน
ได้อย่างดีและมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างมีเอกภาพยิ่ง
๓.๒ คุณค่าทางด้านสังคม
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานเป็นวรรณคดีที่สะท้อนวัฒนธรรมเกี่ยวกับอาหารการกิน ที่นิยมในสมัย
รัชการที่ ๒ บางชนิดเป็นอาหารที่เรารู้จักในปัจจุบัน เช่น มัสมั่น หมูแนม การกิน ที่นิยมในสมัยรัชการที่ ๒
บางชนิดเป็นอาหารที่เรารู้จักในปัจจุบัน เช่น มัสมั่น หมูแนม ต่างชาติ ใช้เครื่องปรุงเฉพาะที่ทาให้มีรสชาติ
ต่างไป เช่น ข้าวหุงปรุงเครื่องเทศ “ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใส่ลูกเอ็น”
วรรณคดีเรื่องนี้จึงสะท้อนให้เห็นว่าในยุคสมัยนั้นนิยมรับประทานอาหารประเภทใด อาหาร
และเครื่องปรุงบางอย่างเป็นของต่างชาติ ดังนั้นจึงสะท้อนภาพการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศได้อีก
ด้วย แสดงให้เห็นว่าอาหารไทยมีความประณีตบรรจงในการปรุงแต่ง และให้ความสาคัญกับความงดงาม
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....

More Related Content

What's hot

การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษาประพันธ์ เวารัมย์
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4Sombom
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียDe'Icejoong Ice
 
ข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวันข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวันDnavaroj Dnaka
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่มPhattharawut Bubphra
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่pink2543
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

What's hot (20)

คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.3
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.3คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.3
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.3
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกสังคมศึกษา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
ข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวันข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวัน
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 

วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....

  • 1. วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน จัดทาโดย นางสาวนัฐนิกา แจ่มคง เลขที่ ๓๐ นางสาวจิตรา วงษ์พิจิตร เลขที่ ๓๓ นางสาวธนภร การประเสริฐ เลขที่ ๓๕ นางสาวปณัฐชา ตรีมงคล เลขที่ ๓๘ นางสาวปภานันท์ ย่านวารี เลขที่ ๔๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑๑ เสนอ คุณครูวันวิสาข์ อังศุเกียรติถาวร รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท ๓๐๒๐๕ ประวัติวรรณคดี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา .....................................................................................................................................................ก ๑.ความเป็นมาของกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน..............................................................................๑ ๑.๑ ประวัติและผลงานของผู้แต่ง.....................................................................................................๑ ๑.๒ ลักษณะคาประพันธ์......................................................................................................... ๒.เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน..................................................................................... ๒.๑ เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน............................................................................. ๓. คุณค่าและข้อคิดที่ได้............................................................................................................ ๓.๑คุณค่าด้านวรรณคดีและวรรณศิลป์……………………………………………… ๓.๒ คุณค่าทางด้านสังคม........... ๔. “กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน” กับการเข้าสู่อาเซียน..................... ๔.๑ ความสาคัญของการเข้าสู่อาเซียน ๔.๒ “กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน” สายสัมพันธ์ในอาเซียน.................. บรรณานุกรม ภาคผนวก.......................................................................
  • 3. คานา ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติของประเทศไทย ดังนั้นคนไทยทุกคนจึงต้องมีการเรียนรู้ ภาษาไทยตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหง เพื่อให้ทุกคนสามารถอ่านภาษาไทย เขียนภาษาไทย ใช้ภาษาไทย ใน การสื่อสารอย่างดีและถูกต้อง โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท ๓๐๒๐๕ ประวัติวรรณคดี ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดย มีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการประกอบการเรียนรู้ในรายวิชาประวัติวรรณคดี ๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้รู้ถึงวรรณคดี เรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน ได้รู้ถึงเนื้อหาสาระที่สาคัญ ประวัติความเป็นมาหรือคุณค่าทางด้าน ต่างๆของเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน ข้าพเจ้าตั้งใจจัดทาโครงงานเล่มนี้อย่างมากได้รวบรวมเนื้อหาวรรณคดี เรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่อง คาวหวานเพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาแก่ทุกคนและต้องขอบขอบพระคุณ คุณครูวันวิสาข์ อังศุเกียรติถาวร ที่ท่านได้ให้ความรู้ และแนวทางในการศึกษา และได้ให้การช่วยเหลือมาตลอด ข้าพเจ้าว่าหวังว่าโครงงาน เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่อ่านทุกๆคน คณะผู้จัดทา
  • 4. ๑.ความเป็นมาของกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน ๑.๑ ประวัติและผลงานของผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระนามเดิมว่า ฉิม เป็นพระโอรสพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่สมเด็จ พระอม รินทราบรมราชินี ณ บ้านอัมพวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม เมื่อ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อยังทรง พระเยาว์ ได้ทรงศึกษาอักข รสมัยในสานักสมเด็จพระวนรัต (ทองอยู่) วัดบางหว้าใหญ่ ด้านวิชาการ รบ สาหรับขัตติยราชกุมารนั้น พระองค์ได้ทรงศึกษาจากประสบการณ์ที่ เป็นจริง กล่าวคือได้ทรงตามเสด็จ พระบรมชนกนาถไปในราชการ สงครามทุกครั้ง ซึ่งพระปรีชาสามารถและความจัดเจนนี้ย่อมเป็นที่ ประจักษ์ จนได้รับโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระองค์ท่านขึ้นเป็นกรมพร ราชวังบวรสถานมงคล ที่พระมหาอุปราชแทน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ ที่ ๒ แห่งพระราชวงศ์จักรี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๒ พระราชกรณียกิจสาคัญที่ทรงเริ่มทาเร่งด่วนครั้งแรกคือ การรวบรวมผู้คนที่กระจัดกระจายกันอยู่ ตั้งแต่ครั้ง กรุงแตกให้อยู่ตั้งมั่นเพื่อความเป็นปึกแผ่นของประเทศ โดยออกพระราชกาหนดสักเลข และ ทา ทะเบียนราษฎรอย่างจริงจัง และได้ทรงผ่อนผันการเข้าเดือนเหลือเพียงปีละ ๓ เดือน คือ เข้าเดือนออก สาม เดือน นอกจากนี้ยังได้ทรงออกกฎหมายฉบับสาคัญอีกฉบับหนึ่งเรียกว่า พระราชกาหนดเรื่องห้าม สูบฝิ่น ขายฝิ่น ในการทานุบารุงความเจริญของบ้านเมืองก็มีการก่อสร้างอาคารสถานที่ต่างๆ และได้มีการแต่ง สาเภา ไปค้าขายยังเมืองต่างๆ และเมืองจีนมากขึ้น ทาให้การเศรษฐกิจของชาติดีขึ้นมาก และเหตุที่มีการ แต่งเรือ สาเภาไปค้าขายต่างประเทศเป็นจานวนมาก เป็นผลให้เกิดการใช้ธงประจาชาติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัยทรงโปรดเกล้าฯ ให้นาสัญลักษณ์ช้างเผือกสาคัญที่ได้มาสู่พระบารมี ๓ เชือก ประทับลงบนธงสี แดง ธงประจาชาติไทยจึงมีขึ้นเป็นครั้งแรก
  • 5. ด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงทานุบารุง ตลอดจนทรง เป็นกษัตริย์ศิลปินโดยแท้จริง ๑.๒ ลักษณะคาประพันธ์ กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สันนิ ฐานว่าทรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1 เพราะมีความบางตอนได้ทรงชมสมเด็จพระศรีสุริเยน ทราบรม ราชินีเมื่อครั้งยังเป็นสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ ซึ่งมีฝีพระหัตถ์ในกระบวนเครื่องเสวยไม่มีผู้ใดจะมีฝีมือ เทียบเคียงได้ กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน เป็นความงดงามของวรรณคดีที่สะท้อนให้เห็นความประณีต ละเอียดละ อ่อนของชนชาติไทยที่บรรจงประดิดประดอยโภชนาหารนานาชนิดให้เลิศด้วย รสชาติแลวิลาสด้วย รูปลักษณ์ และสะท้อนความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้อย่าเด่นชัด บทเห่แบ่งเป็นชม เครื่องคาว ชมผลไม้ และชมเครื่องหวาน บทเห่ชมเครื่องคาว ไม่เพียงแต่จะเอ่ยเพียงชื่ออาหารที่เป็นที่นิยมในกรุงรัตนโกสินทร์เท่านั้น แต่ยังบอก ลักษณะที่ควรจะเป็นของอาหารชนิดนั้นไว้ มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง ชายใดได้กลิ่นแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา อาหารคาวที่ปรากฏในบทเห่นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระปรีชาสามารถ เลือกอาหารขึ้นมา เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนความในพระราชหฤทัยได้อย่างไพเราะ เหมาะสม กลมกลืนและ บริบูรณ์ด้วยอรรถะและพยัญชนะ ซึ่งถือได้ว่าเลิศกว่ารสใดๆ ทั้งสิ้น ล่าเตียงคิดเตียงนอน นอนเตียงทองทาเมืองบน ลดหลั่นชั้นชอบกล ยลอยากนิทร์คิดแนบนอน เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน เจ็บไกลใจอาวรณ์ ร้อนรุมรุ่นกลุ้มกลางทรวง
  • 6. (ยาม) ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงทอดพระเนตร “ ล่าเตียง ” ก็ทรง ราลึกถึงแท่นบรรจถรณ์ที่นามาจาก ล้านนาของพระมเหสี แลทรงปรารถนาจะร่วมอภิรมย์ประสมสอง หากแต่พอทรง ทอดพระเนตรเห็น “ หรุ่ม ” ก็ทรงปริเทวนาการ ด้วยรักนั้นถึง กาลวิปโยค) ความรุ่งเรืองของกรุงรัตนโกสินทร์ ทาให้มีการติดต่อค้าขายกับชนชาติต่างๆ จึงทาให้มีการแลกเปลี่ยน ระหว่างวัฒนธรรมเกิดขึ้น “ น้าปลาญี่ปุ่น ” แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างดินแดนสุวรรณภูมิและ ดินแดนอาทิตย์อุทัยที่ สนิมแนบแน่นมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาล เกิดการผสมผสานของวัฒนธรรมด้านอาหาร ของคนสองเชื้อชาติได้อย่างลงตัว ยาใหญ่ใส่สารพัด วางจานจัดหลายเหลือตรา รสดีด้วยน้าปลา ญี่ปุ่นล้าย้ายวนใจ เห่ชมผลไม้ เริ่มด้วยการชมผลชิดแช่อิ่ม และพรรณนาถึงผลไม้ชนิดต่างๆ ได้แก่ ลูกตาล ลูกจากลอย แก้ว มะปราง มะม่วงหมอนทอง มะม่วงอกร่อง ลิ้นจี่ พลับจีนกวน น้าตาล น้อยหน่า ผลเกด ทับทิม ทุเรียน ลางสาด เงาะ และผลสละ ศาสตร์และศิลปะแห่งอาหารชาววัง ได้ถูกนาออกมาเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ทราบจากบทเห่ชม ผลไม้ซึ่งได้พรรณนา ถึงศิลปะในการแกะ ปอก คว้านผลไม้ได้อย่างวิจิตร งดงาม ของกุลสตรีไทยที่ไม่มี หญิงชนชาติใดเหมือน น้อยหน่านาเมล็ดออก ปล้อนเปลือกปอกเป็นอัศจรรย์ มือใครไหนจักทัน เทียบเทียมที่ฝีมือนาง
  • 7. เห่ชมเครื่องหวาน มีเครื่องหวานหลากหลายชนิด ได้แก่ ข้าวเหนียว สังขยาหน้าไข่ ซ่าหริ่ม ลาเจียก มัศกอด ลุดตี่ ขนมจีบ ขนมเทียน ทองหยิบ ขนมผิง รังไร ทองหยอด ทองม้วน จ่ามงกุฎ บัวลอย ช่อม่วง และ ฝอยทอง เครื่องหวานที่ปรากฏสะท้อนให้เห็นถึงการผสมผสานในด้านวัฒนธรรมอาหารของไทย กับหลาย เชื้อชาติตั้งแต่ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์ กรุงศรีอยุธยา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ลาเจียกชื่อขนม ไกลกลิ่น นึกโฉมฉมหอมชวยโรย ดิ้นแดโดย โหยไห้หาบุหงางาม มัศกอดกอดอย่างไร น่าสงสัยใครขอถาม กอดเคล้นจะเห็นความ ขนมนามนี้ยังเคลง ลุดตี่นี้น่าชม แผ่แผ่นกลมเพียงแผ่นแผง โอชาหน้าไก่แกง แคลงของแขกแปลกกลิ่นอาย กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานนอกจาก จะแสดงถึงพระปรีชาสามารถทางกวีของพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยที่ ทรงพระราชนิพนธ์ได้อย่างไพเราะ ยังทาให้เห็นภาพความวิจิตรงดงามของศิลปะอาหาร ชาววังที่อยู่คู่กับกุลสตรี สยาม ซึ่งความงามของอาหารไม่เพียงแต่ความงามที่ปรากฏแก่สายตามเท่านั้น หากแต่ยังรวมถึงสุนทรีย์แห่งรสชาติ ซึ่งในปัจจุบันตารับอาหารคาวหวานและผลไม้ชนิดต่างๆ ก็ยังคงเป็นที่ รู้จักกันดีในสังคมไทยทุกวันนี้ ๑.๒ ลักษณะคาประพันธ์ กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ต่างตามแบบกาพย์เห่เรือ คือแต่งเป็นโคลงผสมกาพย์ ตอนต้นเป็นโคลง ๑ บท จากนั้นเป็นกาพย์ยานี ๑๑ ไม่จากัดจานวน โดยเนื้อความในกาพย์ยานีบทแรกจะมีเนื้อความเหมือน โคลงสี่สุภาพ ฉันท์ลักษณ์ของโคลงสี่สุภาพ ถ้าเราจะแต่งโคลง มีหลักการที่ควรทราบดังนี้ ๑. บทหนึ่งมีกี่บาท
  • 8. ๒. บาทหนึ่งมีกี่วรรค ๓. วรรคหนึ่งๆ มีกี่พยางค์ ๔. บังคับสัมผัสตรงไหน ๕. บังคับรูปวรรณยุกต์ที่พยางค์ใด เป็นคาประพันธ์ประเภทหนึ่ง แต่งไว้สาหรับขับร้องเห่ในกระบวนเรือ โดยมีทานองเห่ ที่สอดคล้องกับ จังหวะการพายของฝีพาย ว่าช้า หรือเร็ว มักจะมีพนักงานขับเห่หนึ่งคนเป็นต้นเสียง และฝีพายคอยร้องขับ ตามจังหวะ พร้อมกับการให้จังหวะจากพนักงานประจาเรือแต่ละลากาพย์เห่เรือนั้น ใช้คาประพันธ์ 2 ชนิด ด้วยกัน นั่นคือ กาพย์ยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ เรียงร้อยกันในลักษณะที่เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง โดยมัก ขึ้นต้นด้วยโคลง 1 บท แล้วตามด้วยกาพย์ยานี เรื่อยไปจนจบตอนหนึ่งๆ เมื่อจะขึ้นตอนใหม่ก็จะยกโคลงสี่ สุภาพมาอีกหนึ่งบท แล้วตามด้วยกาพย์จนจบตอน เช่นนี้สลับกันไป ดังนี้ โคลงสี่สุภาพ เป็นโคลงชนิดหนึ่งที่กวีนิยมแต่งมากที่สุด ด้วยเสน่ห์ของการบังคับวรรณยุกต์เอกโทอันเป็นมรดกของ ภาษาไทยที่ลงตัวที่สุด คาว่า สุภาพ หรือ เสาวภาพ หมายถึงคาที่มิได้มีรูปวรรณยุกต์ มีลักษณะบังคับดังนี้ ๐ ๐ ๐ เอก โท ๐ x (๐ ๐) ๐ เอก ๐ ๐ x เอก โท ๐ ๐ เอก ๐ x ๐ เอก (๐ ๐) ๐ เอก ๐ ๐ โท เอก โท ๐ ๐ (๐ ๐)
  • 9. หนึ่งบทมี ๓๐ คา แบ่งเป็น ๔ บาท ๓ บาทแรกบาทละ ๗ คา บาทที่สี่ ๙ คา แต่ละบาทแบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ คา วรรคหลัง ๒ คา เว้นบาทสุดท้าย วรรคหลัง ๔ คา มีสร้อยได้ในบาทแรก บาทที่สาม และ บาทที่สี่ ส่งสัมผัสจากคาที่ ๗ บาทแรกไปยังคาที่ ๕ ในบาทที่สองและสาม กับคาสุดท้ายวรรคที่สองไปยังคา ที่ ๕ บาทที่สี่ บังคับเอก ๗ แห่ง โท ๔ ส่วนคาสร้อยซึ่งใช้ในโคลงสี่สุภาพนั้น จะใช้ต่อเมื่อความขาด หรือยังไม่สมบูรณ์ หากได้ใจความอยู่ แล้วไม่ต้องใส่ เพราะจะทาให้ "รกสร้อย" คาสร้อยที่นิยมใช้กันเป็นแบบแผนมีทั้งหมด ๑๘ คา พ่อ ใช้ขยายความเฉพาะบุคคล แม่ ใช้ขยายความเฉพาะบุคคล หรือเป็นคาร้องเรียก พี่ ใช้ขยายความเฉพาะบุคคล อาจใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือบุรุษที่ ๒ ก็ได้ เลย ใช้ในความหมายเชิงปฏิเสธ เทอญ มีความหมายเชิงขอให้มี หรือ ขอให้เป็น นา มีความหมายว่าดังนั้น เช่นนั้น นอ มีความหมายเช่นเดียวกับคาอุทานว่า หนอ หรือ นั่นเอง บารนี สร้อยคานี้นิยมใช้มากในลิลิตพระลอ มีความหมายว่า ดังนี้ เช่นนี้ รา มีความหมายว่า เถอะ เถิด ฤๅ มีความหมายเชิงถาม เหมือนกับคาว่า หรือ เนอ มีความหมายว่า ดังนั้น เช่นนั้น ฮา มีความหมายเข่นเดียวกับคาสร้อย นา แล มีความหมายว่า อย่างนั้น เป็นเช่นนั้น ก็ดี มีความหมายทานองเดียวกับ ฉันใดก็ฉันนั้น แฮ มีความหมายว่า เป็นอย่างนั้นนั่นเอง ทานองเดียวกับคาสร้อยแล
  • 10. อาจไม่มีความหมายแน่ชัด แต่จะวางไว้หลังคาร้องเรียกให้ครบพยางค์ เช่น พ่ออา แม่อา พี่อา หรือเป็นคา ออกเสียงพูดในเชิงราพึงด้วยวิตกกังวล เอย ใช้เมื่ออยู่หลังคาร้องเรียกเหมือนคาว่าเอ๋ยในคาประพันธ์อื่น หรือวางไว้ให้คาครบตามบังคับ เฮย ใช้เน้นความเห็นคล้อยตามข้อความที่กล่าวหน้าสร้อยคานั้น เฮย มาจากคาเขมรว่า "เหย" แปลว่า "แล้ว กาพย์ยานี เป็นคาประพันธ์ไทยประเภทกาพย์ที่ กวีนิยมแต่งมากที่สุด มีทั้งแต่งสลับกับคาประพันธ์ประเภทอื่น และแต่งเพียงลาพัง กาพย์ยานีบทหนึ่งมีสองบาท บาทละ ๑๑ คา คนทั่วไปจึงนิยมเรียกว่า กาพย์ยานี ๑๑ หนึ่งบทมีสองบาท บาทละ ๑๑ คา แบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ คา วรรคหลัง ๖คา บังคับสัมผัสระหว่าง วรรคที่ ๑, ๒ และ ๓ ทิ้งสัมผัสวรรคที่ ๔ สัมผัสระหว่างบทส่งจากท้ายบทแรกไปยังท้ายบาทแรกของบท ต่อไป
  • 11. ๒.เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน ๒.๑ เนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานขึ้นต้นด้วยโคลงสี่สุภาพ ๑ บท และตามด้วยกาพย์ยานี ๑๑ จานวน ๑๕ บท เนื้อหากล่าวถึงอาหารความเลิศรสฝีมือการปรุงของผู้เป็นที่รัก ได้แก่ แกงมัสมั่น ยาใหญ่ ตับเหล็กลวก หมูแนม ก้อยกุ้ง แกงเทโพ น้ายา ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ (มีลักษณะคล้ายข้าวหมกไก่) หมูป่าต้ม แกงคั่วส้มใส่ ระกา พล่าเนื้อ ล่าเตียง หรุ่ม รังนกนึ่ง ไตปลา และแสร้งว่า ตอนท้ายกล่าวถึงผักที่เป็นเครื่องจิ้ม คือ ใบโศก ผักโฉม และผักหวาน ในบทประพันธ์ทุกบท เมื่อกวีกล่าวชมอาหารแล้วจะพรรณนาเชื่อมโยงไปถึงความรัก ที่มีต่อนางผู้เป็นที่รักได้อย่างลึกซึ้งกินใจ ชื่ออาหารที่ปรากฏในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ๑.แกงมัสมั่น ๒.ยาใหญ่ ๓.ตับเหล็กลวก ๔.หมูแนม ๕.ก้อยกุ้ง ๖.แกงเทโพเนื้อ ๗.แกงขม ๘.แกงอ่อม ๙. ข้าวหุงเครื่องเทศ ๑๐. แกงคั่วส้มใส่ระกา ๑๑. พล่าเนื้อ ๑๒ .ล่าเตียง
  • 12. ๑๓ .หรุ่ม ๑๔. รังนก ๑๕.ไตปลา ๑๖.แสร้งว่า ๑๗.น้ายา ๑๘.หมูป่าต้ม ชื่อผักที่ปรากฏในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ๑.ใบโศก ๒. ผักโฉม ๓.ผักหวาน เนื้อเรื่องย่อกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ตอนที่ ๑ เห่ชมเครื่องคาว ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๑๕ บท ในบทเห่ชุดนี้กวีกล่าวชื่ออาหารคาว ทั้งหมด ๑๕ ชนิด ตอนที่ ๒ เห่ชมผลไม้ ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๑๔ บท ในบทเห่ชุดนี้กวีกล่าวชื่อผลไม้ ทั้งหมด ๑๔ ชนิด ตอนที่ ๓ เห่ชมเครื่องหวาน ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๑๕ บท ในบทเห่ชุดนี้กวีกล่าวชื่ออาหาร หวานทั้งหมด ๑๖ ชนิด ตอนที่ ๔ เห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๒๑ บท ตอนที่ ๕ เห่บทเจ้าเซ่น ประกอบด้วยโคลง ๑ บท กาพย์ยานี ๒ บท
  • 13. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ โดย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ลักษณะคาประพันธ์ แต่งตามกาพย์เห่เรือคือแต่งเป็นโคลงผสมกาพย์ตอนต้นเป็นโคลงสี่สุภาพ ๑ บท ตาม ด้วยกาพย์ยานี๑๑ ไม่จากัดจานวน กาพย์ยานีบทแรกจะเลียนความจากโคลงสี่สุภาพตอนต้น จุดประสงค์ในการแต่ง เพื่อใช้เห่ชมฝีพระหัตถ์ในการแต่งเครื่องเสวยของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรม ราชินี บทเห่นี้มีเนื้อความเป็นบทพรรณนาเกี่ยวกับอาหารที่บรรจงปรุงแต่งอย่าง "ถึงเครื่องถึงรส" สะท้อน ถึงฝีมือการปรุงอาหารอย่างหาที่เปรียบได้ยาก „ เห่ชมเครื่องคาว ๏ แกงไก่มัสมั่นเนื้อ นพคุณ พี่เอย หอมยี่หร่ารสฉุน เฉียบร้อน ชายใดบริโภคภุญช์ พิศวาส หวังนา แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกให้หวนแสวง ๚ ๏ มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา ๏ ยาใหญ่ใส่สารพัด วางจานจัดหลายเหลือตรา รสดีด้วยน้าปลา ญี่ปุ่นล้าย้ายวนใจ
  • 14. ๏ ตับเหล็กลวกหล่อนต้ม เจือน้าส้มโรยพริกไทย โอชาจะหาไหน ไม่มีเทียบเปรียบมือนาง ๏ หมูแนมแหลมเลิศรส พร้อมพริกสดใบทองหลาง พิศห่อเห็นรางชาง ห่างห่อหวนป่วนใจโหย ๏ ก้อยกุ้งปรุงประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤๅจะเปรียบเทียบทันขวัญ ๏ เทโพพื้นเนื้อท้อง เป็นมันย่องล่องลอยมัน น่าซดรสครามครัน ของสวรรค์เสวยรมย์ ๏ ความรักยักเปลี่ยนท่า ทาน้ายาอย่างแกงขม กลอ่อมกล่อมเกลี้ยงกลม ชมไม่วายคล้ายคล้ายเห็น ๏ ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใส่ลูกเอ็น ใครหุงปรุงไม่เป็น เช่นเชิงมิตรประดิษฐ์ทา ๏ เหลือรู้หมูป่าต้ม แกงคั่วส้มใส่ระกา รอยแจ้งแห่งความขา ช้าทรวงเศร้าเจ้าตรากตรอม ๏ ช้าช้าพล่าเนื้อสด ฟุ้งปรากฏรสหื่นหอม คิดความยามถนอม สนิทเนื้อเจือเสาวคนธ์ ๏ ล่าเตียงคิดเตียงน้อง นอนเตียงทองทาเมืองบน ลดหลั่นชั้นชอบกล ยลอยากนิทรคิดแนบนอน ๏ เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน เจ็บไกลในอาวรณ์ ร้อนรุมรุ่มกลุ้มกลางทรวง
  • 15. ๏ รังนกนึ่งน่าซด โอชารสกว่าทั้งปวง นกพรากจากรังรวง เหมือนเรียมร้างห่างห้องหวน ๏ ไตปลาเสแสร้งว่า ดุจวาจากระบิดกระบวน ใบโศกบอกโศกครวญ ให้พี่เคร่าเจ้าดวงใจ ๏ ผักโฉมชื่อเพราะพร้อง เป็นโฉมน้องฤๅโฉมไหน ผักหวานซ่านทรวงใน ใคร่ครวญรักผักหวานนาง ๚ „ เห่ชมผลไม้ ๏ ผลชิดแช่อิ่มโอ้ เอมใจ หอมชื่นกลืนหวานใน อกชู้ รื่นรื่นรสรมย์ใด ฤๅดุจ นี้แม หวานเลิศเหลือรู้รู้ แต่เนื้อนงพาล ๚ ๏ ผลชิดแช่อิ่มอบ หอมตรลบล้าเหลือหวาน รสไหนไม่เปรียบปาน หวานเหลือแล้วแก้วกลอยใจ ๏ ตาลเฉาะเหมาะใจจริง รสเย็นยิ่งยิ่งเย็นใจ คิดความยามพิสมัย หมายเหมือนจริงยิ่งอยากเห็น ๏ ผลจากเจ้าลอยแก้ว บอกความแล้วจากจาเป็น จากช้าน้าตากระเด็น เป็นทุกข์ท่าหน้านวลแตง
  • 16. ๏ หมากปรางนางปอกแล้ว ใส่โถแก้วแพร้วพรายแสง ยามชื่นรื่นโรยแรง ปรางอิ่มอาบซาบนาสา ๏ หวนห่วงม่วงหมอนทอง อีกอกร่องรสโอชา คิดความยามนิทรา อุราแนบแอบอกอร ๏ ลิ้นจี่มีครุ่นครุ่น เรียกส้มฉุนใช้นามกร หวนถวิลลิ้นลมงอน ชะอ้อนถ้อยร้อยกระบวน ๏ พลับจีนจักด้วยมีด ทาประณีตน้าตาลกวน คิดโอษฐ์อ่อนยิ้มยวน ยลยิ่งพลับยับยับพรรณ ๏ น้อยหน่านาเมล็ดออก ปล้อนเปลือกปอกเป็นอัศจรรย มือใครไหนจักทัน เทียบเทียมที่ฝีมือนาง ๏ ผลเกดพิเศษสด โอชารสล้าเลิศปาง คานึงถึงเอวบาง สางเกศเส้นขนเม่นสอย ๏ ทับทิมพริ้มตาตรู ใส่จานดูดุจเม็ดพลอย สุกแสงแดงจักย้อย อย่างแหวนก้อยแก้วตาชาย ๏ ทุเรียนเจียนตองปู เนื้อดีดูเหลือเรืองพราย เหมือนศรีฉวีกาย สายสวาทพี่ที่คู่คิด ๏ ลางสาดแสวงเนื้อหอม ผลงอมงอมรสหวานสนิท กลืนพลางทางเพ่งพิศ คิดยามสารทยาตรามา ๏ ผลเงาะไม่งามแงะ มล่อนเมล็ดและเหลือปัญญา หวนเห็นเช่นรจนา จ๋าเจ้าเงาะเพราะเห็นงาม
  • 17. ๏ สละสาแลงผล คิดลาต้นแน่นหนาหนาม ท่าทิ่มปิ้มปืนกาม นามสละมละเมตตา ๚ „ เห่ชมเครื่องหวาน ๏ สังขยาหน้าไข่คุ้น เคยมี แกมกับข้าวเหนียวสี โศกย้อม เป็นนัยนาวาที สมรแม่ มาแม แถลงว่าโศกเสมอพ้อม เพียบแอ้อกอร ๚ ๏ สังขยาหน้าตั้งไข่ ข้าวเหนียวใส่สีโศกแสดง เป็นนัยไม่เคลือบแคลง แจ้งว่าเจ้าเศร้าโศกเหลือ ๏ ซ่าหริ่มลิ้มหวานล้า แทรกใส่น้ากะทิเจือ วิตกอกแห้งเครือ ได้เสพหริ่มพิมเสนโรย ๏ ลาเจียกชื่อขนม นึกโฉมฉมหอมชวยโชย ไกลกลิ่นดิ้นแดโดย โหยไห้หาบุหงางาม ๏ มัศกอดกอดอย่างไร น่าสงสัยใคร่ขอถาม กอดเคล้นจะเห็นความ ขนมนามนี้ยังแคลง ๏ ลุดตี่นี้น่าชม แผ่แผ่นกลมเพียงแผ่นแผง โอชาหน้าไก่แกง แคลงของแขกแปลกกลิ่นอาย ๏ ขนมจีบเจ้าจีบห่อ งามสมส่อประพิมพ์ประพาย นึกน้องนุ่งจีบกราย ชายพกจีบกลีบแนบเนียน
  • 18. ๏ รสรักยักลานา ประดิษฐ์ทาขนมเทียน คานึงนิ้วนางเจียน เทียนหล่อเหลาเกลากลึงกลม ๏ ทองหยิบทิพย์เทียมทัด สามหยิบชัดน่าเชยชม หลงหยิบว่ายาดม ก้มหน้าเมินเขินขวยใจ ๏ ขนมผิงผิงผ่าวร้อน เพียงไฟฟอนฟอกทรวงใน ร้อนนักรักแรมไกล เมื่อไรเห็นจะเย็นทรวง ๏ รังไรโรงด้วยแป้ง เหมือนนกแกล้วทารังรวง โอ้อกนกทั้งปวง ยังยินดีด้วยมีรัง ๏ ทองหยอดทอดสนิท ทองม้วนมิดคิดความหลัง สองปีสองปิดบัง แต่ลาพังสองต่อสอง ๏ งามจริงจ่ามงกุฏ ใส่ชื่อดุจมงกุฏทอง เรียมร่าคานึงปอง สะอิ้งน้องนั้นเคยยล ๏ บัวลอยเล่ห์บัวงาม คิดบัวกามแก้วกับตน ปลั่งเปล่งเคร่งยุคล สถนนุชดุจประทุม ๏ ช่อม่วงเหมาะมีรส หอมปรากฏกลโกสุม คิดสีสไลคลุม หุ้มห่อม่วงดวงพุดตาน ๏ ฝอยทองเป็นยองใย เหมือนเส้นไหมไข่ของหวาน คิดความยามเยาวมาลย์ เย็บชุนใช้ไหมทองจีน ๚
  • 19. ๓. คุณค่าและข้อคิดที่ได้ ๓.๑ คุณค่าด้านวรรณคดีและวรรณศิลป์ ๑ คุณค่าด้านวรรณคดี “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” เป็นกาพย์เห่นิราศที่มีคุณค่ามากในวงการ วรรณคดีไทย และเป็นต้นแบบให้แก่การแต่งกาพย์เห่บางบทในสมัยหลังต่อมา คือ บทเห่ชมเครื่องว่างซึ่ง เป็นเนื้อความตอนหนึ่งใน “กาพย์เห่เรือ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว” ในบท เห่ชมเครื่องว่างมีเนื้อความกล่าวถึงอาหารหลากหลายชนิดที่เป็นฝีมือของนางที่กวีทรงรัก การชมดังกล่าวนี้ น่าจะได้รับอิทธิพลจาก “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” นี้เอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ขึ้น โดยทรงสืบทอดขนบการแต่งวรรณคดีของกวีโบราณ และพัฒนาจนเป็นกาพย์เห่นิราศดีเยี่ยมที่ประดับ วงการวรรณคดีไทยมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีความรู้เรื่องวรรณคดีโบราณเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น วรรณคดีทั่วไปหรือวรรณคดีประเภทกาพย์เห่ ดังเห็นได้จากบทพระราชนิพนธ์ที่ทรงดาเนินตามขนบของกวี โบราณอย่างเด่นชัด ดังรายละเอียดต่อไปนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงสืบทอดการแต่งวรรณคดีนิราศประเภทคร่าครวญ คิดถึงนางที่จากกวีไปจาก “ทวาทศมาสโคลงดั้น” ในสมัยอยุธยาตอนต้น และ/หรือ “กาพย์ห่อโคลงนิราศธาร โศก” ในสมัยอยุธยาตอนปลาย เมื่อกล่าวถึงวันเวลาในรอบ ๑๒ เดือนที่เคลื่อนหมุนไปโดยไม่มีการเดินทาง เพื่อสื่อความหมายว่าช่วงเวลาที่กวีมีความทุกข์โศกนั้นช่างยาวนานราวกับ ๑๒ เดือนหรือ ๑ ปี แม้กระนั้น “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ก็มีลักษณะเด่นเฉพาะของตนเองตรงที่ใช้จุดเริ่มต้นของเวลาเป็นเดือนสาม ไม่ใช่เดือนห้าอย่างที่พบใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยยัง ทรงใช้ชื่ออาหารคาวหวานเป็นช่องทางในการคร่าครวญคิดถึงนางได้อย่างแยบคาย สอดคล้องกับพระปรีชา สามารถพิเศษของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีที่ทรงปรุงแต่งเครื่องเสวยคาวหวานได้เป็นเลิศ ไม่มี หญิงใดในสมัยนั้นเทียบได้เลย นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงสืบทอดการแต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์เห่จาก “กาพย์เห่เรือพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร” ที่ประกอบด้วยเนื้อหาหลากหลายตอนที่มี ความสัมพันธ์กัน
  • 20. เนื้อหาหลายตอนใน “กาพย์เห่เรือพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร” ได้แก่ เห่ชมเรือกระบวน เห่ ชมปลา เห่ชมไม้ เห่ชมนก เห่เรื่องกากี เห่บทสังวาส และเห่ครวญ ส่วนเนื้อหาหลายตอนใน “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ได้แก่ เห่ชมเครื่องคาว เห่ชมผลไม้ เห่ชม เครื่องหวาน เห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ และเห่บทเจ้าเซ็น ขณะเดียวกัน ยังทรงสืบทอดการแต่งกาพย์เห่ให้ เป็น นิราศจาก “กาพย์เห่เรือพระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิ- เบศร” ด้วย นอกจากนี้ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ยังเป็นวรรณคดีไทยที่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์อย่างสูงส่ง ดังจะได้กล่าวในหัวข้อต่อไป ๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์อย่างเด่นชัด พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ (๒๕๔๖ : ๑๐๕๕) อธิบายความหมายของคา ว่า “วรรณศิลป์” ว่าหมายถึงศิลปะในการแต่งหนังสือ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” เป็นวรรณคดีไทยที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง เห็นได้จากวรรณศิลป์ด้าน ภาษา ด้านเนื้อหา ด้านกลวิธีการแต่ง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ๑.๒.๑ วรรณศิลป์ด้านภาษา มีการใช้ภาษาอย่างไพเราะด้วยการเพิ่มความไพเราะด้านเสียง และ เพิ่มความไพเราะด้านคา ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ก. เพิ่มความไพเราะด้านเสียง กวีทรงเพิ่มความไพเราะด้านเสียงด้วย วิธีการต่างๆดังนี้ เพิ่มเสียงไพเราะในโคลงด้วยการให้มีสัมผัสพยัญชนะระหว่างวรรคในบาทเดียวกัน เช่น แกงไก่มัสมั่นเนื้อ นพคุณ พี่เอย หอมยี่หร่ารสฉุน เฉียบร้อน ชายใดบริโภคภุญช์ พิศวาส หวังนา แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกไห้หวนแสวง
  • 21. ในตัวอย่างนี้ กวีทรงใช้คาสุดท้ายในวรรคหน้าให้สัมผัสพยัญชนะกับคาแรกในวรรคหลังในบาท เดียวกัน ได้แก่ เนื้อ – นพ(คุณ) ฉุน – เฉียบ และคาว่า ภุญช์– พิศ(วาส) ในบาทที่หนึ่ง สอง และสาม ตามลาดับ เพิ่มเสียงไพเราะในโคลงด้วยการให้มีสัมผัสในภายในวรรคและในบาทเดียวกัน มีทั้งที่เป็นสัมผัส พยัญชนะ และสัมผัสสระ เช่น ผลชิดแช่อิ่มโอ้ เอมใจ หอมชื่นกลืนหวานใน อกชู้ รื่นรื่นรสรมย์ใด ฤาดุจ นี้แม่ หวานเลิศเหลือรู้รู้ แต่เนื้อนงพาล ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในแต่ละวรรคได้แก่ คาว่า (ผล) ชิด – แช่ อิ่ม – โอ้ ในวรรค หน้าของบาทแรก คาว่า รื่น – รื่น – รส – รมย์ ในวรรคหน้าของบาทที่สาม คาว่า เลิศ – เหลือ และ รู้ – รู้ ใน วรรคหน้าของบาทที่สี่ ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในแต่ละบาทได้แก่ คาว่า อิ่ม – โอ้ – เอม ในบาทแรก คาว่า รื่น – รื่น – รส – รมย์ – ฤา ในบาทที่สาม ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในแต่ละวรรค เช่น ชื่น – กลืน ในวรรคหน้าของบาทที่สอง เพิ่มเสียงไพเราะในกาพย์ด้วยการให้มีสัมผัสในภายในวรรคเดียวกัน มีทั้งที่เป็นสัมผัสพยัญชนะ และสัมผัสสระ เช่น ก้อยกุ้งปรุงประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤาจักเปรียบเทียบทันขวัญ ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในวรรคเดียวกัน เช่น ก้อย – กุ้ง ปรุง – ประ (ทิ่น) ในวรรค หนึ่งของกาพย์ยานี ดิ้น – แด – โดย ในวรรคที่สองของกาพย์ยานี และ เทียบ – ทัน ในวรรคที่สี่
  • 22. ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในวรรคเดียวกัน เช่น กุ้ง – ปรุง ในวรรคที่หนึ่ง ลิ้น – ดิ้น ใน วรรคที่สอง ทิพย์ – หยิบ ในวรรคที่สาม และ เปรียบ – เทียบ ทัน – ขวัญ ในวรรคที่สี่ ตัวอย่างในบทเห่ผลไม้ มีดังนี้ หมากปางนางปอกแล้ว ใส่โถแก้วแพร้วพรายแสง ยามชื่นรื่นโรยแรง ปรางอิ่มอาบซาบนาสา ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในวรรคเดียวกัน เช่น แพร้ว – พราย ในวรรคที่สอง รื่น – โรย – แรง ในวรรคที่สาม และคา อิ่ม – อาบ และ ซาบ– (นา) สา ในวรรคที่สี่ ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในวรรคเดียวกัน เช่น ปราง – นาง แก้ว – แพร้ว ชื่น – รื่น อาบ – ซาบ ในวรรคที่หนึ่ง สอง สาม และสี่ตามลาดับ ตัวอย่างในบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ ได้แก่ ทุกลาลอบเล็งลักษณ์ ไม่พบพักตร์เจ้างามเสงี่ยม ดูไหนไม่เทียบเทียม ร่วมรักเรียมรูปร่างรัด ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสพยัญชนะในวรรคเดียวกัน เช่น ลา – ลอบ – เล็ง – ลักษณ์ ในวรรคที่ หนึ่ง พบ – พักตร์ และ งาม – เสงี่ยม ในวรรคที่สอง เทียบ – เทียม ในวรรคที่สาม ร่วม – รัก – เรียม – รูป – ร่าง – รัด ในวรรคที่สี่ ในที่นี้เห็นได้ว่าการใช้คาที่มีเสียงสัมผัสพยัญชนะในวรรคที่สี่ทาได้ดีมาก เพราะมี เสียงสัมผัสพยัญชนะทุกคา ที่เป็นสัมผัสในชนิดสัมผัสสระในวรรคเดียวกัน เช่น ไหน - ไม่ ในวรรคที่สาม เพิ่มเสียงไพเราะในกาพย์ด้วยการให้มีสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระที่มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน เช่น ชายใดได้กลืนแกง เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า ร้อนรุมรุ่มกลุ้มกลางทรวง คาว่า ใด – ได้ หรุ่ม – รุม รุม – รุ่ม มีทั้งเล่นเสียงพยัญชนะเดียวกันและเล่นเสียงสระเดียวกัน แต่มี วรรณยุกต์ต่างกัน
  • 23. มีความเห็นว่าความไพเราะด้านเสียงที่มีอยู่เต็มเปี่ยมใน “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” นี้ ทาให้ กาพย์เห่เรื่องนี้ไพเราะทัดเทียมกับ “กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร” การใช้คาที่ก่อให้เกิดความไพเราะในกาพย์เห่เรื่องนี้ได้แก่ การซ้าคาในตาแหน่งต่างๆ การใช้คา สลับที่ การใช้คาหลาก การใช้คาที่มีความหมายหลายนัย การใช้คากระชับที่กินความ การใช้คาจินตภาพ และ การใช้ภาพพจน์ การซ้าคาในตาแหน่งต่างๆ มีรายละเอียดต่อไปนี้ การซ้าคาในตาแหน่งติดกัน เช่น ลิ้นจี่มีครุ่นครุ่น เรียกส้มฉุนใช้นามกร หวนถวิลลิ้นลมงอน ชะอ้อนถ้อยร้อยกระบวน ในตัวอย่างข้างต้น กวีทรงใช้คา “ครุ่น - ครุ่น” ซึ่งมีความหมายว่า บ่อยๆ เสมอๆ ที่เป็นการซ้าคาในตาแหน่งห่างกัน เช่น ขนมจีบเจ้าจีบห่อ งามสมส่อประพิมพ์ประพาย นึกน้องนุ่งฉีกทวาย ชายพกจีบกลีบแนบเนียน ในตัวอย่างกวีทรงใช้คา “(ขนม)จีบ – จีบ(ห่อ) – (ชายพก)จีบ” ตัวอย่างอื่นได้แก่ ทองหยิบทิพย์เทียบทัด สามหยิบชัดน่าเชยชม หลงหยิบว่ายาดม ก้มหน้าเมิลเขินขวยใจ ในตัวอย่างนี้ทรงใช้คา “(ทอง)หยิบ – (สาม)หยิบ – หยิบ(ยาดม) ที่เป็นการซ้าคาในตาแหน่งต้นวรรค เช่น คิดรูปน่ารักเหลือ คิดนุ่มเนื้อน่าเชยชม คิดเนตรขาค้อนคม ผมหอมชื่นรื่นรสคนธ์
  • 24. ในตัวอย่างข้างต้นมีวิธีการใช้คาคาเดียวกันที่ต้นวรรคที่หนึ่ง วรรคที่สอง และวรรคที่สาม เป็นการ เน้นความหมายขอคาดังกล่าว คือ เน้นย้าความคิดถึงของกวี กล่าวคือ ทรงคิดถึงพระรูปโฉมที่น่ารักของพระ นาง พระมังสาอันอ่อนนุ่มของพระนาง และพระเนตรที่งามคมของพระนาง ที่เป็นการซ้าคาในตาแหน่งที่หลากหลาย เช่น เดือนแรมเหมือนเรียมค้าง เรื่องรักร้างแรมขนิษฐา แรมรสแรมพจนา แรมเห็นหน้านิ่งนอนแรม ตัวอย่างข้างต้นนี้แสดงวิธีการซ้าคาคาเดียวกันที่ปรากฏในหลากหลายตาแหน่ง มีทั้งซ้าคาระหว่าง วรรคทุกวรรค ได้แก่ ซ้าคาว่า “แรม” การซ้าคาต้นวรรคดังปรากฏที่ต้นวรรคสามกับต้นวรรคสี่ และการซ้า คาระหว่างคาต้นวรรคกับคาในวรรคดังปรากฏในวรรคสามและวรรคสี่ทาให้เกิดความไพเราะของเสียงคาที่ ซ้ากัน และความคมคายด้านความหมาย กล่าวคือ เดือนข้างแรมที่ค้างอยู่ในท้องฟ้าทาให้กวีทรงคิดถึงความ รักของพระองค์ที่ยังค้างคา คือ ยังไม่สาเร็จสมพระประสงค์ เพราะยังทรงแรมร้างจากความรักและทรงพลัด พรากจากนาง มีผลให้ทรงไม่มีโอกาสได้รับทั้งรสอาหารที่นางทรงปรุงแต่งและรสเสน่หาของนาง ทรงไม่มี โอกาสรับสั่งกับนาง ทรงไม่มีโอกาสทอดพระเนตรเห็นนาง และทาให้ทรงต้องบรรทมนิ่งและแรมคืนนอก หอห้อง การซ้าคาในตาแหน่งต่างๆ ที่หลากหลายเช่นนี้ ทาให้เกิดความไพเราะของเสียงคาในท่วงทานอง ของลีลาและจังหวะที่แตกต่างกัน ทาให้ไม่ซ้าซาก และเป็นเสน่ห์ที่น่าฟังอย่างหนึ่งของกาพย์เห่เรื่องนี้ ในพจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๕ : ๒๒๘) เรียกว่าการสลับคา และอธิบายว่าเป็นการใช้ภาษาเพื่อเน้นความหมายหรือเพื่อให้ได้ผลทางกวีนิพนธ์ การใช้คาสลับที่เป็นลักษณะเด่นประการหนึ่งของภาษาไทย สามรถสลับตาแหน่งของคา แล้วทา ให้เกิดความหมายต่างกันได้ เช่น ไข่ไก่ – ไก่ไข่ แน่นหนา – หนาแน่น ไปเที่ยว – เที่ยวไป เรือโคลง – โคลงเรือ หันเห – เหหัน ลักษณะการใช้คาเช่นนี้แสดงความสามารถของกวีได้ดีอย่างหนึ่ง ที่พบในกาพย์แห่ เรื่องนี้ ได้แก่ ตาลเฉาะเหมาะใจจริง รสเย็นยิ่งยิ่งเย็นใจ คิดความยามพิสมัย หมายเหมือนจริงยิ่งอยากเห็น
  • 25. ในตัวอย่างนี้ กวีทรงเล่นคา “เย็นยิ่ง – ยิ่งเย็น” ซึ่งสื่อความหมายว่ามีรสเย็นที่ก่อให้เกิดความรู้สึก ชื่นใจมาก และทาให้เย็นใจ หรือสบายใจ การใช้คาหลาก หมายถึงการใช้ทาที่มีความหมายเหมือนกัน แต่มีรูปคาต่างกัน พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงใช้คานี้กระจายอยู่ในที่ต่างๆ ซึ่งช่วยเสริมความให้แก่กันและกัน ลักษณะเช่นนี้ สะท้อนให้เห็นความรอบรู้เรื่องคาต่างๆ ของพระองค์ได้อย่างดียิ่ง ในพจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๕: ๑๖) อธิบาย ความหมายของคาว่า “ambiguity”ซึ่งในหนังสือดังกล่าวเรียกว่า “ความกากวม” และอธิบายผลการใช้คา ดังกล่าวที่มีทั้งไม่ดีและดี แต่ก็ยอมรับว่ามักเกิดผลดีเมื่อนามาใช้ในวรรณคดี คาอธิบายดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับการใช้คาเช่นนี้ในวรรณคดี มีดังนี้ ในวรรณคดี คาจะแสดงความหมายในการเสนอแนะความหมายที่เหมาะสมเท่าๆกันตั้งแต่ ๒ ความหมายขึ้นไปในบริบทที่กาหนดให้ในการถ่ายทอดความหมายอันเป็นแก่นแท้ และนาความหมายนั้นไป ประกอบกับความหมายรองที่มีความหมายและมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น รวมทั้งการทาให้เกิดมีความหมาย ๒ ความหมายขึ้นในเวลาเดียวกัน ในพจนานุกรมฉบับดังกล่าวข้างต้นยังอธิบายเพิ่มเติมว่าความหมายหลากหลายที่เกิดจากพลังของ คา ที่กระตุ้นให้มีกระแสความคิดต่างๆ หลายกระแสพร้อมๆกันได้ และทุกกระแสความคิดล้วนมีความหมาย ด้วยนั้นเป็นลักษณะพิเศษของความรุ่มรวยทางภาษาและความเข้มข้นในการสร้างสรรค์บทกวีที่ยิ่งใหญ่ การใช้คาลักษณะต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้นทาให้เกิดความงามด้านการใช้ภาษา แสดงให้เห็นพระ ปรีชาสามารถของกวีเรื่องวรรณศิลป์ในด้านภาษาอย่างชัดเจนที่ก่อให้เกิดเสียงไพเราะ มีผลต่อการสื่อความ ที่ตั้งพระทัยแฝงนัยบางประการไว้ซึ่งเป็นเสน่ห์ดึงดูดใจให้ค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ มีผลต่อการสื้อความ หมายได้แจ่มแจ้ง และมีผลต่อการ เน้นย้าความหมายและสร้างภาพในใจให้ผู้อ่าน ทาให้สามารถเข้าใจ ความหมายของเรื่องที่ต้องการสื่อได้อย่างลึกซึ้ง การใช้คาเหล่านี้ส่งผลให้กาพย์เห่เรื่องนี้งามพร้อมทั้งเสียง คา และความหมาย แสดงให้เห็นพระอัจฉริยภาพด้านอักษรศาสตร์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยได้อย่างชัดเจน ๑.๒.๒ วรรณศิลป์ด้านกลวิธีการแต่ง ในการแต่งวรรณคดี หากผู้แต่งมีความสามารถสูง คือ มี กลวิธีการแต่งที่ล้าเลิศ จะสามารถนาเสนอเรื่องที่ต้องการได้อย่างน่าสนใจและน่ายกย่อง
  • 26. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ได้อย่างยอดเยี่ยม ดังที่ได้สะท้อนให้เห็นจากกลวิธีการพระราชนิพนธ์อย่างมี วรรณศิลป์ดังต่อไปนี้ ก. กลวิธีที่ทรงนาเครื่องเสวยคาวหวานมาใช้เป็นสื่อในการคร่าครวญคิดถึงนางและพรรณนาความ โศกเศร้าของพระองค์ กลวิธีการกล่าวถึงอาหารที่หญิงคนรักทาหรือกล่าวถึงพืชผักบางชนิดเพื่อโยงไปสู่ ความคิดถึงนางนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะเคยมีปรากฏแล้วในวรรณคดีไทยก่อนหน้า “กาพย์เห่ชมเครื่องคาว หวาน” ดังนี้ ใน “กาสรวลโคลงดั้น” ซึ่งเป็นวรรณคดีสาคัญเรื่องหนึ่งในสมัยอยุธยาตอนต้น เมื่อกวีทรงเดินทาง ถึงเกรียนสวาย ก็ทรงนาความหมายของคาว่า “สวาย” ที่แปลว่า มะม่วง มาระพันว่าทรงนึกถึงมะม่วงที่นาง ทรงผ่านและทรงเห็นภาพดังกล่าวในความนึกคิดได้อย่างแจ่มชัด (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๕๒๑) เมื่อกวีทรงเดินทางถึงบางพลู ก็ทรงกล่าวราพันว่าทรงนึกถึงพลูที่นางเสวยได้อย่างถนัดชัดเจน ทาให้ พระทัยดิ้นโหยหานาง (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๕๒๖) เมื่อทรงเดินทางผ่านสองฝั่งน้าที่มี ต้นหมาก ทรงได้กลิ่นหอมของดอกหมากและทรงคิดถึงกลิ่นหอมจากพระเกศาของนาง และกระแจะจันทร์ ที่นางทรงลูบไล้พระวรกาย (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๕๒๙) แม้ว่าการกล่าวถึงคุณสมบัติของนางที่ทรงปรุงและจัดแต่งอาหารมีปรากฏในนิราศโบราณหลาย เรื่อง แต่ก็ไม่เคยมีเรื่องใดที่นาชื่ออาหารชนิดต่างๆ จานวนมากเช่นนี้มากล่าวไว้เหมือนดังที่พบใน “กาพย์เห่ ชมเครื่องคาวหวาน” การที่กวีทรงกล่าวชื่ออาหารต่างๆ ขึ้นนี้ นอกจากจะทรงกล่าวเพื่อชมพระปรีชา สามารถในการปรุงและจัดแต่งเครื่องเสวยคาวหวานของนางที่ทรงรักแล้ว ยังเป็นกลวิธีกล่าวชมความงาม ของนาง และเป็นสื่อ กลางให้กวีได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกคิดถึงนางได้นางแยบคายด้วย กลวิธีเช่นนี้ นอกจากจะแปลกแตกต่างไปจากกวีอื่นแล้ว ยังสอดคล้องกับคุณสมบัติพิเศษของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบ รมราชินีหรือสมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้าบุญรอดในสมัยรัชกาลที่ ๑ ที่ทรงได้รับยกย่องว่ามีพระปรีชา สามารถในการปรุงและจัดแต่งเครื่องเสวยได้อย่างดีเยี่ยม ไม่มีหญิงใดในสมัยเดียวกันเทียบได้ แม้ว่าจะมีการ ชมพระปรีชาสามารถในการปรุงและจัดแต่งเครื่องเสวยคาวหวานอิสลามของสมเด็จพระศรีสุลาลัยปนอยู่ บ้างก็ตาม แต่เมื่อเทียบกับการชมพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระสุริเยนทราบรมราชินีแล้วก็พบว่ามี จานวนน้อยกว่ามาก
  • 27. เมื่อพิจารรากลวิธีการนาชื่ออาหารมากล่าวคิดถึงนาง พบว่ามีหลากหลายวิธี ดังที่ได้กล่าว รายละเอียดไปแล้วในบทที่ ๓ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ชื่ออาหาร + รสชาติยอดเยี่ยม ชื่ออาหาร + รสชาติยอดเยี่ยมและการจัดแต่งอย่างสวยงามยิ่ง ชื่ออาหาร + พฤติกรรมของกวีที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับนางหรือพฤติกรรมของนาง ชื่ออาหาร + อวัยวะของนางหรือตัวนาง ชื่ออาหาร + เครื่องใช้ของนาง ชื่ออาหาร + ความรู้สึกทุกข์โศกของกวีหรือของนาง ชื่ออาหาร + พฤติกรรมของนาง ข. กลวิธีที่ทรงนาเวลาในรอบปีมาเป็นสื่อในการคร่าครวญคิดถึงนางและพรรณนาความโศกเศร้า ของพระองค์ เพื่อสื่อความหมายว่าพระองค์ทรงรู้สึกว่าได้ตรอมตรมอยูในห้วงทุกข์เพราะคิดถึงนางเป็นเวลา เนิ่นนานนับปี กลวิธีเช่นนี้มีมาแล้วใน “ทวาทศมาสโคลงตั้น” ที่กวีทรงใช้เวลาที่เคลื่อนหมุนไปเป็นช่องทาง ในการครวญคิดนึงนาง โดยเริ่มครวญคิดถึงนางตั้งแต่เดือน ๕ เป็นต้นไปจนถึงเดือน ๔ ซึ่งครบรอบพอดี (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๖๘๘ – ๗๒๑) และกวีกล่าวสรุปว่าครวญคิดถึงนางจนครบ ๑๒ เดือนหรือ ๑ ปีแล้ว แต่ก็ยังไม่มีความสุขเพราะยังพลัดพรากจากนางอยู่ (วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๗๒๗) เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรก็ทรงนากลวิธีการแต่งเช่นนี้ไปทรงพระนิพนธ์ “กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก” โดยทรงพรรณนาความคิดถึงนางเมื่อทรงกล่าวถึงเวลาที่หมุนเวียนเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะของการแบ่ง ช่วงเวลาที่ละเอียดมากกว่าใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” กล่าวคือ ทรงแบ่งเวลาออกเป็น ชั่วโมง ยาม วัน เดือน ฤดู ปี มีข้อสังเกตว่าเมื่อทรงครวญคิดถึงนางในเดือนต่างๆ ทรงเริ่มที่เดือน ๕ และสิ้นสุดที่เดือน ๔ (วรรณกรรมสมัยอยุธยาเล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๒๖๑ – ๒๖๔) เหมือนดังที่ปรากฎใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” และ ในที่สุดเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงสรุปว่าทรงครวญถึงนางเป็นเวลาถึง ๑๒ ปี อย่างไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย (วรรณกรรมสมัยอยุธยาเล่ม ๒, ๒๕๓๐: ๒๖๘)
  • 28. ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเริ่มครวญคิดถึงนางในเดือน ๓ และสิ้นสุดการ ครวญในเดือนยี่นี้ไม่ใช่เป็นเพียงการจัดเรียงเวลาให้ชนรอบปีเพื่อสื่อระยะเวลายาวนานนับปีที่ทรงจมอยู่ใน ห้วงทุกข์อย่างที่พบใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” และ “ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก” เท่านั้น แต่น่าจะทรง วางแผนไว้แล้วว่าเดือนยี่นั้นเป็นเวลาเหมาะสมที่จะทรงนามาเชื่อมโยงกับอารมณ์ความทุกข์โศกของพรองค์ ที่มีความรุนแรงเข้มข้นได้อย่างน่าสะเทือนใจ ค. กลวิธีที่ดึงพิธีกรรมแห่เจ้าเซ็นออกจากเวลาในรอบ ๑๒ เดือนเพื่อเน้นอารมณ์โศกเศร้าของกวี ให้เด่นชัดขึ้น แม้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจะทรงใช้เวลาในรอบ ๑๒ เดือน เป็นช่องทางใน การพรรณนาคร่าครวญความคิดถึงและความทุกข์โศกเศร้าของกวีที่มีต่อนางขณะที่ทรงพลัดพรากจากนาง นั้น แต่ก็ทรงมีกลวิธีการแต่งที่ซับซ้อนมากขึ้นกว่าที่พบใน “ทวาทศมาสโคลงดั้น” และในกาพย์เห่เรือที่เป็น พระราชนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ในเบื้องต้นทรงกล่าวคิดถึงนางที่พลัดพรากจากไปตั้งแต่เดือน ๓ เป็น ต้นไปจนกระทั่งเวลา (ในความคิดคานึงของกวี) ล่วงเลยไปถึงเดือนยี่ กวีทรงกล่าวถึงพิธีโล้ชิงช้า พิธีแห่พระ อิศวร และพิธีแห่พระนารายณ์ซึ่งเป็นพิธีกรรมสาคัญในเดือนยี่ รวมทั้งความทุกข์โศกเศร้าที่อัดแน่นอยู่ใน พระทัยจนกวีทรงอ่อนแรงและบรรทมนิ่งด้วยความตรอมพระทัย ดังปรากฎในกาพย์บทสุดท้ายของบทเห่ ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ ในเห่บทเจ้าเซ็น กวีทรงบรรยายว่าทรงคร่าครวญคิดถึงนางมาจนเดือนมะหะหร่าซึ่งเป็นเดือนขึ้นปี ใหม่ของชาวอิสลามนิกายฮุเซ็นซึ่งในปีที่กวีทรงคร่าครวญคิดถึงนางนั้น พิธีกรรมแห่เจ้าเซ็นน่าจะอยู่ใน เดือนยี่ การกล่าวเช่นนี้สื่อความหมายว่ากวีทรงครวญคิดถึงนางมาจนครบรอบปีหรือ ๑๒ เดือนแล้ว เมื่อกวี กวีทรงคิดถึงเดือนมะหะหร่า ก็ทรงนึกถึงพิธีกรรมวาคัญในเดือนนี้ของแขกเจ้าเซ็น ได้แก่ พิธีแห่เจ้าเซ็น ผู้เข้าร่วมขบวนแห่เจ้าเซ็นจะทุบตีอกตัวเองเพื่อแสดงออกซึ่งความรักและความอาลัย พระเจ้าฮุเซ็นที่ถูก สังหารในสงครามศาสนา เมื่อกวีทรงนึกถึงพิธีกรรมนี้ ก็ทรงนึกขึ้นได้ว่าพระองค์น่าจะแสดงความโศกเศร้า และระบายความโศกเศร้าที่อัดแน่นอยู่ในพระทัยแบบแขกเจ้าเซ็นบ้าง จึงทรงลูบพระอุระไปมาเพื่อ เลียนแบบการทุบตีอกของแขกเจ้าเซ็น แต่เมื่อทรงทาเช่นนี้แล้ว กลับทรงพบว่าไม่สามารถระบายความทุกข์ โศกหรือลดความโศกเศร้าในพระทัยลงได้เลยทั้งยังทรงตระหนักว่าความทุกข์โศกเศร้าของพระองค์มี มากกว่าและรุนแรงกว่าความทุกข์ของแขกเจ้าเซ็นที่รักและอาลัยพระเจ้าฮุเซ็นเสียอีก การที่กวีไม่ได้ทรงทุบตีพระอุระดุจการทุบตีอกตนเองของแขกเจ้าเซ็น ในพิธีกรรมแห่เจ้าเซ็น เป็น เพราะกวีสิ้นไร้เรี่ยวแรงตั้งแต่ในตอนท้ายของบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์แล้ว และด้วยความสิ้นไร้ เรี่ยวแรง ของกวีนี่เอง จึงได้แต่ทรงลูบพระอุระไปมาเท่านั้น
  • 29. ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าการที่กวีทรงเริ่มครวญคิดถึงนางในเดือน ๓ และสิ้นสุดการครวญในเดือนยี่ หรือเดือน ๒ เมื่อทรงกล่าวถึงพิธีกรรมแห่เจ้าเซ็นนี้เป็นไปตามแผนการพระราชนิพนธ์ที่ทรงวางไว้อย่างแยบ คายยิ่ง นอกจากนี้จะทาให้แปลกแตกต่างไปจากวีอื่นแล้ว ยังส่งผลให้นาเสนออารมณ์ทุกข์โศกของกวีได้ อย่างสะเทือนอารมณ์ และทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งว่ากวีทรงโศกเศร้าคิดถึงนางมากเพียงใด ง. กลวิธีที่ทรงเรียงลาดับเนื้อหาเพื่อนาเสนออารมณ์ที่เข้มข้นและรุนแรงขึ้น ผู้วิจัยได้กล่าว รายละเอียดเรื่องนี้ไปแล้วในบทอื่นที่อยู่ก่อนหน้าบทนี้ ในที่นี้จะสรุปแต่เพียงสังเขปว่ากวีทรงเรียงลาดับ เนื้อหาจากอารมณ์โศกเศร้าน้อยไปสู่อารมณ์เศร้ามากขึ้น จนกระทั่งความทุกข์โศกนั้นอัดแน่นในพระทัยจน ต้องทรงบรรทมนิ่งดังที่ปรากฎในกาพย์บทสุดท้ายของบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ ต่อมากวีทรงต้อง เปลี่ยนความโศกเศร้าที่อัดแน่นในพระทัยนั้นให้เป็นพฤติกรรมลูบพระอุระไปมาเพื่อจะให้บรรเทาความ ทุกข์โศก แต่แท้จริงแล้วความทุกข์โศกยังมีมากเท่าเดิม หาได้ลดน้อยลงแต่อย่างใดไม่ ผู้วิจัยพบว่ากลวิธีการ แต่งเช่นนี้ไม่เคยมีปรากฎในกาพย์เห่เรื่องใดๆ เลย นับเป็นกลวิธีการแต่งที่แสดงความสามารถวรรณศิลป์ อย่างสูงส่ง จ. กลวิธีที่ทรงเปิดเรื่องด้วยคาว่า “ข้อนอก” และปิดเรื่องด้วย “ข้อนทรวง” กล่าวคือ ในโคลงนา ของบทเห่เครื่องคาว มีข้อความกล่าวว่า “แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกไห้หวนแสวง” และปิดเรื่องด้วยการให้กวี กล่าวราพันว่า “เรียมลูบอกไล้ไล้ คู่ข้อนทรวงเซ็น” ลักษณะเช่นนี้เป็นกลวิธีการแต่งที่เน้นความเป็นเอกภาพ ของการใช้ภาษาที่มีความหมายอย่างเดียวกัน และเอกภาพของการใช้ภาษาที่สอดคล้องกับแก่นเรื่องของ กาพย์เห่เรื่องนี้ด้วย เพราะการทุบตีอกเป็นการแสดงออกให้เห็นความโศกเศร้าที่มีอยู่ภายในใจซึ่งเป็น สาระสาคัญในกาพย์เห่เรื่องนี้ ส่วนการใช้ภาษาที่สื่อความหมายของการทุบตีอกในตอนเริ่มเรื่อง คือ “แรง อยากยอหัตถ์ข้อน อกไห้หวนแสวง” กับตอนปิดท้ายเรื่องที่ว่า “ลูบอกโอ้อาลัย ลาลศล้ากาสรวลเซ็น” สะท้อนให้เห็นความคิดเรื่องวิธีแสดงออกของกวียามที่ทรงมีความทุกข์ คือ ทรงมุ่งมั่นกับวิธีการแสดงออก ดังกล่าว และเมื่อทรงทุกข์โศกอย่างรุนแรง จึงทรงใช้วิธีการนี้แสดงเป็นพฤติกรรมออกมา ฉ. กลวิธีที่ทรงเชื่อมโยงเนื้อหาที่เป็นบทเห่ชมเครื่องคาวหวาน บทเห่ชมผลไม้ บทเห่ชมเครื่อง หวานให้เข้ากับเนื้อหาของบทเห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์และเห่บทเจ้าเซ็นได้อย่างกลมกลืน โดยทรงใช้ ความคิดถึงนางและความทุกข์โศกเศร้าของพระองค์ขณะที่ทรงพลัดพรากจากนางที่ทรงรักเป็นเส้นด้ายร้อย เรียงเนื้อหาเหล่านี้เข้าด้วยกันอย่างมีศิลปะและน่าชื่นชมยิ่ง กลวิธีนี้ทาให้เนื้อหาของกาพย์เห่เรื่องนี้ผสานกัน ได้อย่างดีและมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างมีเอกภาพยิ่ง
  • 30. ๓.๒ คุณค่าทางด้านสังคม กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานเป็นวรรณคดีที่สะท้อนวัฒนธรรมเกี่ยวกับอาหารการกิน ที่นิยมในสมัย รัชการที่ ๒ บางชนิดเป็นอาหารที่เรารู้จักในปัจจุบัน เช่น มัสมั่น หมูแนม การกิน ที่นิยมในสมัยรัชการที่ ๒ บางชนิดเป็นอาหารที่เรารู้จักในปัจจุบัน เช่น มัสมั่น หมูแนม ต่างชาติ ใช้เครื่องปรุงเฉพาะที่ทาให้มีรสชาติ ต่างไป เช่น ข้าวหุงปรุงเครื่องเทศ “ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใส่ลูกเอ็น” วรรณคดีเรื่องนี้จึงสะท้อนให้เห็นว่าในยุคสมัยนั้นนิยมรับประทานอาหารประเภทใด อาหาร และเครื่องปรุงบางอย่างเป็นของต่างชาติ ดังนั้นจึงสะท้อนภาพการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศได้อีก ด้วย แสดงให้เห็นว่าอาหารไทยมีความประณีตบรรจงในการปรุงแต่ง และให้ความสาคัญกับความงดงาม