SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
โครงสร้าง
โลก
การศึกษาโครงสร ้างภายใน
ของโลก
 โลกมีมวลสาร 6 x 1024 กิโลกรัม
 มีความหนาแน่นเฉลี่ย 5.5 กิโลกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร (หนาแน่นกว่าน้า 5.5 เท่า)
 นักธรณีวิทยาทาการศึกษาโครงสร ้างภายใน
ของโลก โดยศึกษาการเดินทางของ “คลื่นซิส
มิค” (Seismic waves) ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ
คลื่นปฐมภูมิ (P wave)เป็ นคลื่นตามยาวที่
เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดย
อนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบ
อัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้
สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็ นของแข็ง
ของเหลว และก๊าซ
คลื่นปฐมภูมิ (P-wave)เป็ นคลื่นที่สถานีวัด
แรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดย
มีความเร็วประมาณ 6–8 กิโลเมตรต่อวินาที
คลื่นปฐมภูมิทาให้เกิดการอัดหรือขยายตัว
ของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S-wave) เป็ นคลื่นตามขวางที่
เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดย
อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับ
ทิศทางที่คลื่นผ่าน
มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน
คลื่นทุติยภูมิ (S-wave)ผ่านได้เฉพาะ
ตัวกลางที่เป็ นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถ
เดินทางผ่านของเหลว คลื่นนี้มีความเร็ว
ประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร ต่อวินาที คลื่น
ทุติยภูมิทาให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
P-waves
มีความเร็วสูง ส่งผลให้เกิดแรงบีบอัด และแรง
กระแทก
7
S-waves
มีความเร็วรองจาก P-waves ส่งผลให้เกิดแรง
ยกขึ้น-ลง
8
Surface waves
เดินทางช ้าที่สุด แต่จะมีแรงสั่นสะเทือนสูง และเป็น
คลื่นที่
ก่อให้เกิดความเสียหายมากที่สุด
9
ภาพรวมของแผ่นดินไหว
10
แสดง
สัญญาณคลื่น
ขาดหายไป
บริเวณบอด
คลื่นปฐมภูมิ
11
คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และคลื่น
ทุติยภูมิ (S wave)
การเดินทางของ P wave และ S wave
ขณะเกิดแผ่นดินไหว
 ขณะที่เกิดแผ่นดินไหว (Earthquake) จะเกิดแรง
สั่นสะเทือนหรือคลื่นซิสมิคขยายแผ่จากศูนย์เกิด
แผ่นดินไหวออกไปโดยรอบทุกทิศทุกทาง
 เนื่องจากวัสดุภายในของโลกมีความหนาแน่นไม่
เท่ากัน และมีสถานะต่างกัน คลื่นทั้งสองจึงมี
ความเร็วและทิศทางที่เปลี่ยนแปลงไป
 คลื่นปฐมภูมิหรือ P wave สามารถเดินทางผ่าน
ศูนย์กลางของโลกไปยังซีกโลกตรงข้ามโดยมีเขตอับ
(Shadow zone) อยู่ระหว่างมุม 100 – 140 องศา
 แต่คลื่นทุติยภูมิ หรือ S wave ไม่สามารถเดิน
ทางผ่านชั้นของเหลวได้ จึงปรากฏแต่บนซีกโลก
เดียวกับจุดเกิดแผ่นดินไหว
องค์ประกอบของโลก
โครงสร้างภายในของโลก
โครงสร้างภายในของโลก

More Related Content

Similar to โครงสร้างโลก.ppt

โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงAnuchitKongsui
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwanส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwanArunwan Permlap
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)Salin Satheinmars
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
พายุสุริยะ
พายุสุริยะพายุสุริยะ
พายุสุริยะCh Khankluay
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพsarawut chaiyong
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์Som Kamonwan
 
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์kroojaja
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)gamertense
 

Similar to โครงสร้างโลก.ppt (20)

โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwanส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
พายุสุริยะ
พายุสุริยะพายุสุริยะ
พายุสุริยะ
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์
 
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
 

โครงสร้างโลก.ppt