SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ด.ญ.ปพิชญา กิจสวน ม.2/8 
รหัสประจาตัวนักเรียน 07698 
83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์ 
83เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ที่พวกเรายังไม่รู้ ? 
คุณรู้รึเปล่า ? ถ้ายังไม่รู้ก็มาดูกันเลย 
จะมีอะไรบ้างนะ ? อยากรู้จัง
1. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ มนุษย์พลังงาน 
เชื่อหรือไม่ว่าร่างกายของคนผลิตกระแสไฟฟ้าได้ คนแต่ละคนจะมีพลังงานเทียบเท่ากับ 
การเปิดหลอดไฟฟ้าขนาด 120 วัตต์ เพราะคนที่กินอาหารเข้าไปปริมาณ 2,500 แคลอรี 
ในแต่ละวันจะให้พลังงานความร้อน 104 แคลอรีต่อชั่วโมง 
ซึ่งเทียบเท่ากระแสไฟฟ้าที่มีพลังงาน 120 วัตต์ 
2. กะพริบตา 
ตลอดชีวิตของคนเรานั้นเราต้องกะพริบตาถึง 250 ล้านครั้งทีเดียว เพราะเราจะต้องกะพริบตาทุก ๆ 6 วินาที 
ทาให้กล้ามเนื้อตาเคลื่อนไหวประมาณ 10,000ครั้งต่อวัน ถ้าเปรียบกับการทางานของกล้ามเนื้อขาแล้ว จะ 
เท่ากับวิ่งระยะทาง 80 กิโลเมตรต่อวัน 
3. สมองบริโภค 
เชื่อหรือไม่ว่าตอนแรกเกิดสมองของเราหนักประมาณ 3% ของน้าหนักตัวเท่านั้น แต่เมื่ออายุได้ประมาณ 15 ปี สมองจะหนักถึง 1.4 กิโลกรัมและจะมีขนาดคงที่ สมองเติบโตได้เพราะใช้พลังงานจากอากาศที่เราหายใจเข้าไป 20% และใช้เลือดหล่อเลี้ยงถึง 15% ของเลือด ทั้งหมดในร่างกาย 
4. กระบวนการคิด 
นักวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วว่า อิริยาบถต่าง ๆ มีผลต่อการคิดและการตัดสินใจของมนุษย์ การนอนคิดจะทาให้ความคิดกว้างไกล การยืนทาให้ ความคิดแคบลงสามารถตัดสินใจได้เร็วขึ้น ส่วนการนั่งเป็นอิริยาบถที่เหมาะกับการตัดสินใจที่ไม่รีบร้อนเท่าใดนัก 
ผมงอก โดยปกติ ใน 1 สัปดาห์ผมจะงอกออกมา 2 มิลลิเมตรใน 1 วัน จะมีช่วงที่ผมงอกได้ดี 2 ช่วง คือ ระหว่างเวลา 10.00 ? 11.00 น. และ 16.00 ? 18.00 น. แต่ไม่ต้องเอากระจกไปส่องดูการงอกของเส้นผมหรอกนะ เพราะมันแทบจะมองไม่เห็นเลย 
5. เส้นขนแข็งแรง 
โดยเฉลี่ยแล้ว คนเราจะมีเส้นขนประมาณ 5 ล้านเส้นทั่วร่างกาย ยกเว้นบริเวณริมฝีปาก ฝ่ามือและฝ่าเท้า เส้นขนที่แข็งแรงที่สุดคือหนวด เชื่อ หรือไม่ว่าหนวดแข็งแรงพอ ๆ กับลวดทองแดงที่มีขนาดเท่ากันเลยทีเดียว
6. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ตาแหลมคม 
ตาของเหยี่ยวสามารถมองเห็นแมลงวันที่อยู่ในระยะครึ่งไมล์ได้ ส่วนเสือดาวก็สามารถมองเห็นคนกะพริบตาที่ระยะห่าง 100 หลาได้ ตา ของคนก็มีความพิเศษเช่นเดียวกัน เพราะสามารถแยกแยะความแตกต่างของสีได้มากถึง 17,000 สี 
7. ตาที่สาม 
เชื่อหรือไม่ว่ามนุษย์มีสามตา ตาที่สามนี้ก็คือต่อมไพเนียลซึ่งอยู่ด้านหลังของกะโหลกศีรษะ ภายในต่อมมีสารเคมีที่มีชื่อว่าเซโรโตนินอยู่ เป็นจานวนมาก เชื่อกันว่า สารชนิดนี้ช่วยส่งผลให้มนุษย์มีการคิดอย่างสมเหตุสมผล นักวิทยาศาสตร์จึงเปรียบต่อมนี้ว่าเป็นตาที่สาม ของมนุษย์ 
8. ฮัดเช้ย! 
เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้ามาทาให้จมูกของเราเกิดการระคายเคือง เราจะจามออกมาโดยอัตโนมัติ ทุกครั้งที่เราจามจะมีน้าลายฟุ้งกระจาย ออกมาถึง 100,000 หยด ด้วยอัตราเร็ว 152 ฟุตต่อวินาที 
9. ริมฝีปาก 
เคยสงสัยกันหรือไม่ครับว่าทาไมริมฝีปากของเราจึงมีสีแดงมากกว่าส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะผิวหนังบริเวณริมฝีปาก บางกว่าส่วนอื่น ๆ นั่นเอง จึงทาให้สามารถมองเห็นสีของเลือดใต้ผิวหนังได้ 
10. ยิ้มแย้ม 
ร่างกายของเราประกอบด้วยกล้ามเนื้อประมาณ 650 มัด หากเราหน้าบึ้งจะต้องใช้กล้ามเนื้อประมาณ 400 มัด ในขณะที่การยิ้มใช้ กล้ามเนื้อ 15 มัด เท่านั้น และพลังงานที่ใช้ก็น้อยกว่าการขมวดคิ้ว 1 ครั้งเสียอีก เชื่อกันว่าการขมวดคิ้ว 200,000 ครั้ง ทาให้เกิดรอย ตีนกา 1 รอย 
11. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ฟันปลา 
เชื่อกันว่าเมื่อประมาณ 1 ล้านปีที่แล้ว ฟันของมนุษย์มีลักษณะคล้ายกับฟันปลาเพราะมีการค้นพบฟันลักษณะเดียวกันกับของมนุษย์อยู่ ในกรามของปลาฉลามยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังนั้น ฟันของมนุษย์และปลาฉลามจึงมีโครงสร้างพื้นฐานเหมือนกัน แต่ฟันของมนุษย์ได้ พัฒนาจนมีรูปร่างเหมือนในปัจจุบัน 
ปลาเปคู (Pacu) ปลาฟันคน >?http://teen.mthai.com/variety/59011.html
12.การทรงตัว 
เชื่อหรือไม่ว่าหูมีผลต่อการทรงตัว อวัยวะที่ช่วยให้เราสามารถทรงตัวอยู่ได้คือ เซมิเซอร์คิวลาร์ คาแนล (semicir-cularcanel) ในหูซึ่งภายในมีของเหลวที่ไวต่อการกระตุ้นของเหลวนี้จะทาหน้าที่ในการรับรู้สมดุล หากเราหมุนไปรอบ ๆ ตัวเร็ว ๆ หลาย ๆ ครั้ง จะทาให้อวัยวะนี้เกิดความสับสน เราจึงรู้สึกเวียนศีรษะ 
13. เสียงกรน 
เสียงกรนเป็นเสียงที่สร้างความราคาญแก่ผู้ได้ยินเพราะดังพอ ๆ กับเสียงของสว่านไฟฟ้าซึ่งดังถึง 70 เดซิเบล 
14. พลังปอด 
เชื่อหรือไม่ว่าปกติเราจะหายใจเอาอากาศเข้าไปประมาณ 6 ลิตรต่อนาที แต่ระหว่างออกกาลังกายและหลังออกกาลังกายใหม่ ๆ เราอาจหายใจเอาอากาศเข้าไปได้มากถึง 100 ลิตรต่อนาที 
15. น้าหนักวิญญาณ 
เชื่อหรือไม่ครับว่าวิญญาณของพวกเราก็มีน้าหนักด้วยเหมือนกัน นักวิทยาศาสตร์ทดลองชั่งน้าหนักของวิญญาณโดยชั่ง น้าหนักของคนในขณะที่มีชีวิตอยู่เปรียบเทียบกับน้าหนักหลังจากเสียชีวิตทันที พบว่าน้าหนักหายไป 21 กรัม จึงสรุปว่าดวง วิญญาณของพวกเรามีน้าหนัก 21 กรัมด้วย 
16. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ สารฆ่าความเจ็บปวด 
น้องๆเคยสังเกตไหมว่าทาไมบางครั้งนักกีฬาที่ได้รับบาดเจ็บในระหว่างการแข่งขันยังสามารถลงแข่งขันได้จนจบหรือทหารที่ ได้รับบาดเจ็บในสนามรบยังคงทนต่อสู้ข้าศึกอยู่ได้ พวกเขาไม่เจ็บกันหรือ นักวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วครับว่าเมื่อมนุษย์เผชิญ สถานการณ์ที่ตึงเครียด สมองจะปล่อยสารออกมายับยั้งความรู้สึกเจ็บปวดเอาไว้ ทาให้มนุษย์ต่อสู้กับความเจ็บปวดได้ 
17. ไม่มีน้าตา 
รู้หรือปล่าวว่าตอนที่เราอายุ 4-5 เดือน เราร้องไห้ไม่มีน้าตากันหรอกครับ แม้จะร้องเสียงดังแค่ไหนก็ตาม ที่เป็นเช่นนี้เพราะ ต่อมน้าตาของคนเราจะพัฒนาขึ้นหลังจากเกิดมาแล้ว 4-5 เดือน ตอนนี้พวกเราคงจะร้องไห้มีน้าตากันทุกคนแล้วนะครับ 
18. หิวเพราะกลิ่น 
พอกลิ่นหอมของอาหารลอยมา พวกเราคงเคยรู้สึกหิวตามกลิ่นนั้นไปด้วยใช่ไหมล่ะ ก็กลิ่นอาหารเข้าไปกระตุ้นระบบการย่อย อาหารของเราน่ะสิครับ ทาให้น้าย่อยในปากและท้องทางาน เราจึงรู้สึกหิวทั้งๆที่บางครั้งเราไม่ต้องการกินอีกแล้ว 
19. กระเพาะแข็งแกร่ง 
ในกระเพาะอาหารของเรามีน้าย่อยที่มีฤทธิ์เป็นกรดสูงมาก จนสามารถละลายสังกะสีได้ แต่กรดเหล่านี้ไม่สามารถละลายผนัง กระเพาะของเราได้ เนื่องจากทุกนาทีเซลล์ผนังกระเพาะเก่า 5000 เซลล์ จะถูกเซลล์ใหม่แทนที่และเปลี่ยนเป็นเซลล์ใหม่ทั้งหมด ทุกๆ 3 วัน
20. ท้องร้องจ๊อกๆ 
พวกเราเคยได้ยินเสียงท้องร้องเมื่อรู้สึกหิวบ้างไหมครับ สาเหตุที่ท้องร้องก็เพราะสมองซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุมความรู้สึกหิวของเรา จะคอย จัดลาดับการทางานของกระเพาะอาหารและลาไส้ ถ้าในเลือดมีสารอาหารพอเพียง สมองก็จะสั่งให้ระบบย่อยอาหารทางานช้าลง แต่เมื่อใด ที่มีสารอาหารในเลือดน้อยระบบย่อยอาหารจะทางานเร็วขึ้นเราจึงได้ยินเสียงท้องร้อง 
21. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ตกใจจนหน้าซีด 
เมื่อเราตกใจหน้าจะซีด เนื่องจากเลือดบริเวณแก้มจะไหลย้อนกลับอย่างรวดเร็วเพื่อทาหน้าที่ฉุกเฉิน คือให้สารอาหารและออกซิเจนแก่ กล้ามเนื้อส่วนอื่น เนื่องจากร่างกายไม่ได้เตรียมพร้อมอยู่ตลอดเวลาว่าจะต้องเผชิญความตกใจ เมื่อเลือดจากแก้มไหลออกไป หน้าเราจึงซีด 
22. เขินอาย 
เมื่อเรารู้สึกเชินอายหน้าเราก็จะแดง โดยเฉพาะบริเวณแก้มและลาคอ เพราะขณะที่เราเขินอาย เซลล์ประสาทจะถูกกระตุ้นให้ปล่อยสารเคมีที่ พลังงานสูงชื่อว่า เปปไตด์ (peptide) ออกมา ทาให้เส้นเลือดที่แก้มและลาคอขยายตัว หน้าของเราจึงแดงมากกว่าปกติ 
23. มาจากดวงดาว 
ร่างกายของเราประกอบด้วยอะตอมจานวนมาก อะตอมเหล่านี้มาจากไหน นักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าอะตอมเกิดมาจากดวงดาวที่ดับ แล้วเมื่อ 5000 ล้านปี ก่อนที่จะมีพระอาทิตย์เกิดขึ้น และดวงดวงนี้เคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ก่อนเมื่อโลกเกิดขึ้น เซลล์ของสิ่งมีชีวิตนี้ก็ได้ พัฒนาเรื่อยมาจนกลายเป็นคน 
24. สารพัดสาร 
เชื่อหรือไม่ว่าในร่างกายของเรามีสารอยู่มากมาย เช่น มีฟอสฟอรัสในปริมาณที่มากพอจะทาหัวไม้ขีดไฟ 2,000 ก้าน มีไขมันพอที่จะทา สบู่ได้ 7 ก้อน มีเหล็กมากพอที่จะทาตะปูได้ 1 ตัว มีปูนขาวที่สามารถละลายน้าแล้วนาไปทาห้องเล็ก ๆ ได้ 1 ห้อง มีซัลเฟอร์ 1 ช้อนชา และโลหะอีกประมาณ 30 กรั 
25. นอนแล้วสูง 
การนอนช่วยให้เราสูงขึ้นได้ เพราะเมื่อเรายืนหรือนั่ง แผ่นกระดูกอ่อนที่กระดูกสันหลังจะถูกแรงดึงดูดของโลกกดลง การนอนช่วยให้แรงกด นี้หายไป แผ่นกระดูกอ่อนที่ถูกกดก็จะพองตัว ทาให้เราสูงขึ้นได้อีก 8 มิลลิเมตร แต่เมื่อตื่นมาเราก็จะสูงเท่าเดิม 
26. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ พลังกาย 
ร่างกายของคนเราแข็งแกร่งมากกว่าที่เราคิดเสียอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการยกน้าหนัก เช่น ถ้าเรานอนหลับโดยห่มผ้าหนัก 2.5 กิโลกรัม หายใจโดยเฉลี่ย 16 ครั้งต่อนาที และนอนนานประมาณ 8 ชั่วโมง ทรวงอกของเราสามารถยกน้าหนักได้ถึง 20 ตัน 
27. ฉันทาไม่ได้ 
สิ่งที่ร่างกายของคนเราไม่สามารถทาได้ คือหายใจและกลืนอาหารไปพร้อม ๆ กัน เพราะกระบวนการกลืนจะไปรบกวนกระบวนการหายใจ ด้วยการปิดกั้นอากาศไม่ให้ผ่านเข้าไปขณะที่อาหารเคลื่อนจากปากไปยังคอหอยและผ่านไปที่กระเพาะอาหาร
28. หัวใจที่รัก 
ในช่วงชีวิตของมนุษย์นั้น หัวใจจะสูบฉีดโลหิตประมาณ 500 ล้านลิตรและเต้น 2,000 ล้านครั้ง ดังนั้น ใน 1 วัน หัวใจจะสูบฉีดโลหิตมากกว่า 13,500 ลิตร และเต้น 100,000 ครั้ง แต่ละวันหัวใจจึงต้องทางานหนัก เพื่อให้ได้พลังงานมากพอ เชื่อหรือไม่ว่าพลังงานที่ได้นี้สามารถยกรถยนต์ได้สูงถึง 15เมตรเลยทีเดียว 
29. เรื่องของผิวหนัง 
เชื่อหรือไม่ว่าพื้นที่เพียง 1 ตารางนิ้วบนผิวหนังของเรานั้นประกอบไปด้วยเซลล์ถึง 19 ล้านเซลล์ ขน 60 เส้น ต่อมน้ามัน 90 ต่อม ต่อมเหงื่อ 625 ต่อม เส้นเลือดยาว 19 ฟุต และเซลล์รับความรู้สึก 19,000 เซลล์ 
30. เซลล์เม็ดเลือด 
มีผู้เชี่ยวชาญสันนิษฐานว่าถ้านาเซลล์เม็ดเลือดของเรามาต่อเป็นสายยาวจะสามารถพันรอบเส้นศูนย์สูตรได้ ถึง 4 รอบเลยทีเดียว 
31. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ น้าในร่างกาย 
น้อง ๆ คิดว่า ร่างกายของเรามีสถานะใดตามหลักวิทยาศาสตร์ หลายคนอาจจะคิดว่า มีสถานะเป็นของแข็ง แต่น้อง ๆ รู้หรือไม่ว่าร่างกายของเราประกอบด้วยน้าถึง 2 ใน 3 ด้วยเหตุนี้ตลอดชีวิตของคน 1 คนจึงต้อง ดื่มน้าเป็นจานวนมากถึง 70,000 ลิตร 
32. ความสาคัญของเกลือแร่ 
เกลือแร่เป็นสารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกาย เพราะช่วยทาให้กระดูกแข็งแรง หากนาเกลือแร่ออกจากกระดูกโดย นากระดูกไปแช่ในน้ากรด เกลือแร่จะละลายออกมาจนสามารถนากระดูกนั้นมาผูกให้เป็นปมได้ 
33. หนาวสั่น 
อาการหนาวสั่นเป็นอาการที่ร่างกายแสดงออกมาเพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม หลังจากที่ได้รับความเย็นมากเกินไป เพราะความเย็นจะทาให้กระบวนการต่าง ๆ ในร่างกายทางานช้าลง และ เป็นอันตรายได้หากอุณหภูมิลดต่าลงมาก ๆ ดังนั้น กล้ามเนื้อจึงผลิตความร้อนด้วยการทาให้กล้ามเนื้อหดตัว ไปมาอย่างรวดเร็ว 
34. สูงและต่า 
ตอนกลางวัน อุณหภูมิในร่างกายของเราอาจสูงขึ้นได้มาก ๆ หากเรารับประทานอาหารมื้อใหญ่ อยู่ในที่อากาศ ร้อน หรือออกกาลังกายอย่างหนัก แต่ตอนกลางคืน อุณหภูมิในร่างกายของเราจะค่อย ๆ ลดลงจนต่าที่สุด เมื่อเรานอนหลับเพื่อเป็นการรักษาสมดุล
35. ลูกผู้ชาย 
การที่ผู้ชายเชื่อว่าลูกผู้ชายต้องไม่หลั่งน้าตานั้น ส่งผลกระทบให้ผู้ชายเป็นโรคเครียดได้ง่ายกว่าผู้หญิง เพราะมีโอกาส ปลดปล่อยอารมณ์ที่ถูกกดดันได้น้อย รู้อย่างนี้แล้ว ใครที่กาลังเครียดก็ลองหาโอกาสปลดปล่อยอารมณ์บ้างก็ดีนะครับ แต่ไม่ใช่ เอาแต่นั่งร้องไห้อยู่ล่ะ การออกกาลังกายก็สามารถช่วยคลายเครียดได้เช่นกัน 
36. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ตัวยารักษาโรค 
การฉีดยาเป็นวิธีการรักษาโรคอีกวิธีหนึ่งที่แพร่หลาย ทราบหรือไม่ว่าแพทย์ได้ตัวยามาจากไหน ในยาฉีดนั้นมีส่วนประกอบของ แบคทีเรียที่ทาให้มีฤทธิ์อ่อนลง ซึ่งได้มาจากเชื้อโรคของผู้ป่วยรายอื่นที่ป่วยเป็นโรคเดียวกับเรา นอกจากนาไปทาเป็นยาฉีดแล้ว เชื้อโรคเหล้านั้นยังสามารถนาไปทาเป็นวัคซีนป้องกันโรคได้อีกด้วย โดยวัคซีนจะเข้าไปสร้างภูมิคุ้มกันโรคชนิดนั้น ๆ ในร่างกาย 
37. หาวนอน 
อาการง่วงเหงาหาวนอนเกิดจากการที่เรารู้สึกเหนื่อยหรืออ่อนเพลีย ระบบทางเดินหายใจของเราจึงทางานช้าลงเป็นผลให้ กล้ามเนื้อคอหอยปิดโดยอัตโนมัติ ทาให้ร่างกายต้องการอากาศเพิ่มขึ้น เราจึงต้องหาวเพื่อเอาอากาศเข้าไปใช้ในกระบวนการ หายใจ 
38. ใบหน้า 
วันหนึ่ง ๆ เราอาจมีอารมณ์และความรู้สึกเหล่านั้นถูกถ่ายทอดออกมาบ่อยครั้งทางใบหน้า เชื่อหรือไม่ว่ากล้ามเนื้อทั้งที่เป็น วงกลมและเป็นเส้นบนใบหน้าสามารถแสดงอารมณ์ที่หลากหลายได้มากกว่า 1,000 รูปแบบ 
39. นอนหลับ 
ขณะนอนหลับเราสามารถเรียนรู้ได้หรือไม่ ในสมัยก่อนนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่ามนุษย์ไม่สามารถเรียนรู้ในขณะนอนหลับได้ แต่จาก การทดลองอย่างละเอียดของนักวิทยาศาสตร์รุ่นหลังพบว่า มนุษย์จะไม่สามารถเรียนรู้ได้ในขณะที่นอนหลับสนิท แต่จะสามารถ เรียนรู้ได้ในขณะที่อยู่ในช่วงสะลึมสะลือ 
40. ล้มตัวลงนอน 
เชื่อหรือไม่ว่า ในบรรดาสิ่งมีชีวิต มีสัตว์เพียง 2-3 ชนิดเท่านั้น ที่นอนหลับโดยเอนหลังแนบกับพื้น และสัตว์ชนิดหนึ่งที่ สามารถทาเช่นนี้ได้ก็คือมนุษย์ 
41. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์น้าหนักลด ? 
ไม่ว่าเราจะมีน้าหนักมากน้อยเพียงใดก็ตาม น้าหนักของเราจะสามารถลดลงได้ 300 กรัม ทุกวันในขณะที่เรานอนหลับแต่อย่า เพิ่งดีใจไปนะครับ เพราะทันทีที่ตื่นขึ้นมา น้าหนักของเราก็จะเท่าเดิม
42. อาณาจักรแห่งความฝัน 
นักวิทยาศาสตร์พบว่า ถ้าวันหนึ่ง ๆ เรานอนหลับประมาณ 8 ชั่วโมง เราจะฝัน 3-5 ครั้งต่อคืน โดยช่วงความฝัน แต่ละครั้งใช้เวลานานประมาณ 10-30 นาที และถ้าเราถูกปลุกขึ้นมาในระหว่างที่กาลังฝันอยู่ เราอาจจะจาความ ฝันนั้นได้หรือไม่ได้ก็ได้ 
43. ความฝัน 
เชื่อหรือไม่ว่า ความฝันช่วยทาให้จิตใจของเราสดชื่นเบิกบานได้ ไม่ว่าเราจะจาความฝันนั้นได้หรือไม่ก็ตาม เพราะ ความฝันจะแสดงถึงสิ่งที่เราอยากทาเมื่อตื่น แต่เราไม่สามารถทาได้ด้วยเหตุผลนานาประการ 
44. เวลาของความฝัน 
ผู้เชี่ยวชาญแสดงทัศนะเกี่ยวกับเวลาในช่วงของความฝันไว้ว่า เวลาที่เราตื่นอยู่ประสาทความรู้สึกเกี่ยวกับเวลาของ เราจะเป็นแนวตั้ง ดังนั้น เราจึงรับรู้แต่ขณะปัจจุบันเท่านั้น แต่เมื่อเราหลับมันจะกลายเป็นเส้นแนวนอน 
ทาให้เราสามารถเดินทางไปในอดีตและอนาคตได้ 
45. สร้างความฝัน 
ถ้าอยากให้ความฝันสวยงามลองงดดื่มเครื่องดื่มทุกชนิดประมาณ 1-2 ชั่วโมงก่อนเข้านอนสิครับ เพราะ ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าจะทาให้ความฝันยิ่งใหญ่ และถ้าใครเห็นความฝันของตนเองเป็นสีต่าง ๆ ละก็แสดงว่าเป็นคนที่ไว ต่อการกระตุ้นต่าง ๆ รอบตัวมากทีเดียว 
46. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ จมูกของมด 
ใครรู้บ้างว่ามดใช้อะไรในการดมกลิ่น คาตอบก็คือใช้เท้านั่นเอง การใช้เท้าดมกลิ่นช่วยให้มันสามารถตามกลิ่นที่ เพื่อนของมันทิ้งไว้ตามทางได้ นอกจากนี้มันยังสามารถใช้ข้อต่อที่หนวดรับกลิ่นได้อีกด้วย 
47. นายช่างใหญ่ 
บีเวอร์เป็นสัตว์ที่ชอบสร้างเขื่อนและบ้านของมันมาก มันจะคาบกิ่งไม้และกินไม้เป็นอาหาร ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะถ้า ไม่ได้กัดไม้ทุกวัน ฟันของมันก็จะงอกและยาวขึ้นอย่างรวดเร็วทาให้มันกินอาหารไม่ได้และอดตายในที่สุด 
48. อูฐลื่น 
อูฐเป็นสัตว์ที่ขาแต่ละข้างประกอบด้วยนิ้วขนาดใหญ่ 2 นิ้ว ปกคลุมด้วยแผ่นรองเท้าที่หนาและเหนียวทั้งยังมีแผ่น หนังบาง ๆ เชื่อมนิ้วเท้าให้ติดกัน ทาให้เท้าอูฐแข็งแรงเหมาะสาหรับเดินในทะเลทราย แต่หากจับอูฐมาอยู่ในโคลนละ ก็ เท้าแบบนี้ก็ไร้ประโยชน์เพราะจะทาให้อูฐลื่นไถลได้ง่าย
49. หางเก็บอาหาร 
มีสัตว์อยู่หลายชนิดที่มีหางและหางของมันก็ใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันไป อย่างเช่น แกะพันธุ์หนึ่งที่ใช้หางของ มันทาหน้าที่เก็บหญ้าซึ่งเป็นอาหารของมันไว้ เมื่อหญ้าขาดแคลน หญ้าที่ถูกสะสมไว้ที่หางก็จะเปลี่ยนเป็นไขมัน เพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย 
50. หูหนวกเต้นระบา 
หากใครเคยชมภาพยนตร์อินเดียคงจะเคยเห็นงูที่เต้นระบาเมื่อได้ยินเสียงปี่ จริง ๆ แล้วมันไม่ได้เต้นระบาเพราะ เสียงปี่หรอกครับ งูเป็นสัตว์ที่หูหนวกจึงไม่ได้ยินเสียงปี่ แต่ที่มันเต้นส่ายไปส่ายมาก็เพราะจังหวะการเคลื่อนไหว ของหมองูต่างหาก ถ้าลองใช้ไม้แทนปี่ งูก็ยังคงเต้นระบาได้เหมือนกัน 
51. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ สุนัขน้าร้อน 
สุนัขเป็นสัตว์ที่คนนิยมเลี้ยงกันโดยทั่วไป เพราะนอกจากจะใช้เฝ้าบ้านแล้ว สุนัขยังทาหน้าที่ได้หลายอย่าง นาน มาแล้วชาวอินเดียนแอซเทคนาสุนัขพันธุ์เม็กซิโกซึ่งตัวเล็กนิดเดียวและมีขนสั้นบางมาใช้แทนกระเป๋าน้าร้อน เพื่อ สร้างความอบอุ่นแก่เท้าเจ้าของเมื่ออากาศหนาว 
52. ช้างนักกิน 
ช้างแอฟริกามีขนาดใหญ่มาก หนักถึง 7 ตัน ที่ตัวใหญ่ขนาดนี้เพราะมันใช้เวลาในการกินประมาณ 18-20 ชั่วโมงต่อหนึ่งวัน โดยกินพืชผักประมาณวันละ 350 กิโลกรัมและกินน้า 90 ลิตร 
53. กินทางตา 
โดยปกติสัตว์จะกินอาหารทางปาก แต่สาหรับคางคกและกบแล้ว พวกมันจะกินอาหารทางตา เมื่อกินอาหารมัน จะปิดตาแน่น ดันลูกตาที่แข็งให้ชนเพดานปากทาให้เพดานปากถูกกดลงมาแนบกับลิ้นแล้วดันอาหารลงสู่กระเพาะ อาหาร นอกจากนี้มันยังดื่มน้าโดยการดูดซึมน้าผ่านทางผิวหนังด้วย 
54. ปลิงป้องกันตัว 
ปลิงทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกมีวิธีป้องกันตัวเองที่แปลกคือ เมื่อถูกทาร้ายมันจะหดตัวทันทีและจะดันอวัยวะ ภายในของมันออกมา แต่มันก็ยังไม่ตาย อวัยวะเหล่านั้นจะเป็นอาหารของผู้ที่ทาร้ายมัน แล้วมันจะค่อย ๆ หลบหนีไป จากนั้น 2 ?3 สัปดาห์อวัยวะภายในของมันก็จะงอกใหม่ 
55. ตาเคลื่อนที่ 
ปลาลิ้นหมาไม่ได้มีตาเดียวอย่างที่พวกเราเห็นกัน ตอนแรกที่มันเกิดมามันจะมี 2 ตา แต่เมื่ออายุมากขึ้น ตาของ มันจะย้ายตาแหน่งมารวมกัน โดยเคลื่อนที่ไปรวมกับตาอีกข้างหนึ่งซึ่งอยู่บนหัว
56. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ระเบิดควัน 
ปลาหมึกยักษ์มีวิธีการป้องกันตัวคล้ายการสร้างระเบิดควันของทหาร เมื่อเผชิญหน้ากับศัตรู มันจะพ่นหมึกดาในถุงด้านหลังลาตัว ออกมาทาให้น้าบริเวณรอบ ๆ ขุ่นดา แล้วมันจะรีบหนีไป นักวิทยาศาสตร์พบว่ามันสามารถเปลี่ยนสีหมึกของมันให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ด้วย เช่น สีแดง สีเหลือง สีเทา เป็นต้น 
57. กบหดตัว 
กบพาราดอกซิคัล (Paradoxical) ในอเมริกาใต้มีความพิเศษคือยิ่งมันเจริญเติบโตขึ้นตัวก็ยิ่งเล็กลง เมื่อเป็นลูกอ๊อดมันมีลาตัว ยาวถึง 10 นิ้ว แต่เมื่อโตเป็นกบลาตัวจะหดลงจนเหลือขนาดไม่เกิน 3 นิ้วเท่านั้น 
58. หนอนกระสือ 
หนอนกระสือตัวเมียจะมีอวัยวะที่เรืองแสงอยู่บริเวณใต้ท้องซึ่งใช้ส่งสัญญาณไปยังปีกของตัวผู้ที่บินอยู่ด้านบน หนอนกระสือตัวเมีย สามารถควบคุมการเปล่งแสงได้ โดยจะใช้แสงต่อเมื่อต้องการดึงดูดตัวผู้เท่านั้น 
59. แสงนาทาง 
รู้ไหมทาไมผีเสื้อกลางคืนจึงชอบบินเข้าหาแสงไฟในตอนกลางคืน เพราะปกติผีเสื้อกลางคืนจะใช้แสงจันทร์นาทาง แต่แสงอื่นทาให้มัน สับสนและประสาททางด้านทิศทางเสียไป ดังนั้น มันจึงพยายามปรับแสงจันทร์ปลอมให้ทามุมเดียวกันกับแสงจันทร์จริง ๆ โดยการบิน เป็นวงกลมเข้ามาใกล้แสงนั้นมากขึ้น 
60. เครื่องขยายเสียง 
จิ้งหรีดตัวผู้จะใช้เสียงเพลงซึ่งเกิดจากขาหน้าเสียดสีกันการดึงดูดตัวเมีย แต่จะไม่ดังนัก มันจึงสร้างเครื่องขยายเสียงชนิดพิเศษ โดย การขุดรังใต้ดินให้มีอุโมงค์ทางเข้าสองทาง แล้วก็ยืนส่งเสียงไพเราะอยู่ทางอุโมงค์ด้านหนึ่ง แต่ที่แปลกอีกอย่างหนึ่งก็คือ หูที่ไวต่อ เสียงของมันไม่ได้อยู่ที่หัวแต่ที่อยู่ที่ขา 
61. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์?สัตว์มีเหงื่อหรือไม่ 
สุนัขก็มีเหงื่อครับ แต่เหงื่อของมันจะออกบริเวณฝ่าเท้า นอกจากนี้สัตว์อื่น ๆ เช่น วัว จะมีเหงื่อออกทางจมูก ส่วนเหงื่อของ ฮิปโปโปเตมัสจะออกมาจากทุกส่วนของร่างกายและจะเป็นเหงื่อสีแดง ลองสังเกตนะครับว่าสัตว์อื่น ๆ มีเหงื่อออกที่ส่วนใดของร่างกาย 
62. หนึ่งไม่มีสอง 
คนเรามีลายนิ้วมือไม่เหมือนกัน ม้าลายแต่ละตัวก็มีแถบลายเฉพาะที่ซึ่งจะไม่ซ้ากับม้าลายตัวอื่น ๆ เช่นกัน 
63. หนูนักร้อง 
หนูเป็นสัตว์ที่สามารถร้องเพลงได้ แต่เสียงร้องของมันจะเป็นเสียงซูเปอร์โซนิค (Supersonic) ซึ่งมีลักษณะเป็นเสียงสูง 
และรัว ทาให้เราไม่ได้ยินเสียงเพลงของมัน แต่ถ้ามันลดระดับเสียงให้ต่าลงจนถึงระดับปกติที่เราสามารถได้ยิน 
เราก็จะได้ยินเสียงเพลงจากหนูได้
64. สัตว์ปากกว้าง 
สัตว์ที่สามารถอ้าปากได้กว้างที่สุดคืองูเหลือมเรติคูเลเตด (Reticulated python) มันสามารถยืดตัวได้ถึง 10 เมตร และอ้าปากกว้างจนกลืนกินสัตว์ที่มีน้าหนัก 55 กิโลกรัม จึงไม่แปลกที่จะมีคนพบสัตว์ใหญ่ ๆ อย่างเสือดาวใน ท้องของมัน 
65. ไม่เอาไมโครโฟน 
ไซเมียง (Simiang) เป็นสัตว์บกที่มีถุงลมขนาดใหญ่ จึงตะโกนได้เสียงดังกว่าสัตว์อื่น ๆ มันสามารถตะโกนให้ สัตว์ที่อยู่ห่างออกไปถึง 8 กิโลเมตรได้ยินได้ ส่วนสัตว์น้าที่สามารถตะโกนได้เสียงดังที่สุดคือ ปลาวาฬรอร์ควอล (Rorqualwhale) มันสามารถร้องเพลงด้วยความถี่ 20 เฮิรตซ์ ให้ได้ยินไปไกลถึง 150 กิโลเมตรเลยทีเดียว 
66. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ นักแม่นธนู 
ปลาเสือมีวิธีจับเหยื่อที่คล้ายกับการยิงธนู โดยมันจะพ่นน้าไปยังแมลงที่เกาะอยู่บนต้นพืชเหนือน้า ทาให้แมลงตกลง ในน้า จากนั้นก็จะตรงเข้าไปฮุบแมลงนั้นไว้ทันที ปลาเสือสามารถพ่นน้าใส่เหยื่อของมันในระยะ 3 เมตรได้อย่าง แม่นยา 
67. อาวุธของทากทะเล 
ทากทะเลไม่มีเปลือกห่อหุ้มร่างกาย ดังนั้น มันจึงป้องกันตัวโดยการกินเซลล์เข็มพิษของแมงกะพรุนเข้าไปเพื่อใช้เป็น อาวุธ เข็มพิษนี้จะไม่ถูกย่อยไปพร้อมกับอาหาร แต่จะถูกส่งไปเก็บไว้ที่ใต้ผิวหนังบริเวณด้านหลัง เมื่อต้องเผชิญหน้า กับศัตรูมันก็จะป้องกันตัวด้วยการปล่อยเข็มพิษออกมา 
68. ปลาฉลามว่ายน้า 
ถ้าเรามีโอกาสได้เฝ้าดูปลาฉลามอย่างใกล้ชิดก็จะพบว่าปลาฉลามต้องว่ายน้าตลอดเวลา หากหยุดว่ายน้ามันจะตาย เพราะปลาชนิดอื่น ๆ จะมีถุงลมทาให้หายใจได้แม้ไม่เคลื่อนที่ แต่ปลาฉลามไม่มีถุงลม ดังนั้น ถ้ามันหยุดว่ายน้าก็จะ ทาให้ไม่มีออกซิเจนไหลผ่านเหงือกจึงไม่มีออกซิเจนใช้ในการหายใจ 
69. สุดยอดตัวอ่อน 
ตัวออนของสัตว์ที่กินเก่งที่สุดในโลกคือตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืนในอเมริกาเหนือ เนื่องจากมันสามารถกินอาหารที่มี น้าหนักมากถึง 86,000 เท่าของน้าหนักตัวภายในเวลา 48 ชั่วโมงแรกที่มันเกิดมา 
70. หมอกเพื่อชีวิต 
ด้วงแอฟริกาใต้ที่อาศัยอยู่ในทะเลทรายนามิบมีชีวิตอยู่ได้ด้วยการกินหมอก ปกติมันจะอาศัยอยู่ใต้เนินทรายซึ่ง อุณหภูมิค่อนข้างคงที่ แต่เมื่อมันกระหายน้า มันก็จะบินออกมาเกาะยอดเนินแล้วปล่อยให้ลดพัดพาหมอกมาจับบน ตัวของมัน เมื่อหมอกเกิดการควบแน่นจนกลายเป็นหยดน้ามันก็จะกินน้านั้นแก้กระหาย
71. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ เพลงรัก 
ปูทรอปิคัล ฟีดเดลอร์ (Tropical Fiddler) เป็นปูที่มีสีสันสวยงาม ก้ามข้างซ้ายของปูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่สะดุดตา ซึ่งมันจะใช้ ดึงดูดตัวเมียในช่วงฤดูผสมพันธุ์ โดยจะขยับก้ามไปข้างหลังและข้างหน้าสลับกันคล้ายการสีไวโอลิน แม้จะไม่มีเสียงออกมา แต่ก็ สร้างความประทับใจและดึงดูดตัวเมียให้เข้าไปหามันอย่างรวดเร็วได้ 
72. เวลาของพืช 
คน สัตว์ และพืชเป็นสิ่งมีชีวิตเหมือนกัน แต่สิ่งที่คนและสัตว์ต่างจากพืชก็คือ การเจริญเติบโต คนและสัตว์จะมีช่วงที่เจริญเติบโตและ หยุดโตเมื่อถึงอีกช่วงอายุหนึ่ง แต่สาหรับพืชแล้ว มันจะยังคงเจริญเติบโตไปเรื่อย ๆ และจะหยุดก็ต่อเมื่อมันตายเท่านั้น 
73. ราโตเร็ว 
ราบราซิเลียน (Brazillianfungus) เป็นพืชที่โตเร็วที่สุดมันจะงอกจากพื้นดินด้วยอัตราเร็ว 5 มิลลิเมตรต่อนาที และ เจริญเติบโตเต็มที่ภายใน 20 นาที น้าจะช่วยให้มันเจริญเติบโตได้ดีเป็นพิเศษ และเรายังสามารถได้เยินเสียงปริแตกเนื่องจากอาการ บวมน้าและเห็นน้าไหลออกมาได้ด้วย 
74. ต้นไม้พูดได้ 
นักวิทยาศาสตร์พบว่าต้นไม้สามารถสื่อสารกันได้หากอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน พืชมีความรู้สึกชอบและไม่ชอบเช่นเดียวกับคน ดังนั้น หากมีต้นไม้ที่มันไม่ชอบขึ้นบริเวณนั้น มันก็จะปล่อยสารฟีโรโมน (Pheromones) เพื่อสื่อสารให้ต้นอื่นรับรู้ สารนี้จะไปกระตุ้นให้พืช ที่มันชอบเจริญเติบโตและจะทาลายพืชที่มันไม่ชอบ 
75. พืชป้องกันตัว 
มีพืชอยู่หลายชนิดที่จะป้องกันตัวเองเมื่อถูกแมลงรบกวน โดยภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากถูกรบกวน พืชจะปล่อยสารที่มีชื่อว่าเทอร์เพน และแทนนิน (Terpene, Tannin) ที่บริเวณใบโปรตีนในใบจะเปลี่ยนเป็นโปรตีนที่ย่อยยากขึ้น แมลงที่บุกรุกก็จะขาดโปรตีน พืชก็ จะรอดพ้นจากการถูกแมลงรบกวน 
76. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ชีวิตในความตาย 
ต้นปาล์มทาลิพอต (Talipot) เป็นไม้ดอกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีช่วงชีวิตประมาณ 70 ปี แต่ตลอดชีวิตของมันจะออกดอกเพียง ครั้งเดียว ดอกสูงถึง 6 เมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร กว่าเมล็ดทั้งหมดจะสุกเป็นผลใช้เวลาประมาณ 1 ปี ต่อจากนั้นเมื่อมีการ ผสมพันธุ์อีกครั้งมันก็จะตาย 
77. เรื่องบังเอิญ 
เมื่อประมาณพันกว่าปีมาแล้ว คนดูแลฝูงแกะชาวอบิสซีเนียค้นพบกาแฟโดยบังเอิญ เพราะวันหนึ่งเขาได้กลิ่นหอมของพุ่มไม้ป่าที่ถูก เผาจึงลองชิมดูและเกิดติดใจในรสชาติ เขาจึงนาไปต้มในน้าเดือด ตั้งแต่นั้นมากาแฟจึงกลายเป็นสิ่งที่นิยมบริโภค
78. ต้นสารพัดประโยชน์ 
ปาล์มเป็นต้นไม้สารพัดประโยชน์คล้ายต้นกล้วยเพราะทุกส่วนนาไปใช้ประโยชน์ได้ตั้งแต่นาใบมามุง หลังคา ก้านนามาทาเป็นเชือก ผล ลาต้น และใบอ่อนนามาทาเป็นอาหาร เปลือกใช้ทาผ้าและกระดาษ เมล็ดนามาทากระดุม นอกจากนี้ยางของปาล์มยังสามารถใช้ทาไวน์ได้อีกด้วย 
79. ไฟช่วยชีวิต 
สนเป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่ต้องใช้ไฟป่าในการแพร่ขยายพันธุ์ ความร้อนของไฟจะทาให้ผลของสนปริแตก เมล็ดก็จะกระเด็นไปตกบริเวณอื่นแล้วเกิดเป็นสนต้นใหม่ แต่ถึงอย่างไรป่าสนที่ถูกไฟไหม้ก็จะต้องถูก ทาลายไปเพื่อแลกกับป่าสนที่จะเกิดขึ้นใหม่ 
80. บานวันละดอก 
ต้นหญ้าบลูอาย มีก้านดอกไม่แข็งแรงพอที่จะรองรับน้าหนักของดอกที่บานมากกว่า 1 ดอก ดังนั้น ธรรมชาติจึงสร้างให้ดอกของมันบานในตอนเช้าแล้วเหี่ยวแห้งตายในตอนกลางคืน เพื่อจะได้มีดอกไม้ ดอกใหม่ผลิบานในวันรุ่งขึ้น 
81. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ เพราะแสงอาทิตย์ 
ต้นอินเดียนเทเลกราฟ (Indian Telegraph) สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง เมื่ออยู่ท่ามกลาง แสงแดดจ้า ใบของมันจะเคลื่อนที่ขึ้นลงและจากข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง แล้วจะหยุดเคลื่อนไหว หลังจากนั้นอีก 2-3 นาทีมันก็จะเคลื่อนไหวแบบนี้อีกครั้ง 
82. สมองพืช 
เชื่อหรือไม่ว่าพืชสามารถผลิตสารชนิดเดียวกับที่สมองของคนและสัตว์ผลิตได้ ต้นฝิ่นสามารถผลิตสารที่ คล้ายกับเอนโดฟีน (Endorphin) ซึ่งถูกปล่อยออกมาจากสมองของคน นอกจากนี้ต้นโจโจบายัง สามารถให้น้ามันซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายสารที่ได้จากปลาวาฬเสปิร์มอีกด้วย 
83. ต้นไผ่พิศวง 
ในหนึ่งวัน ต้นไผ่ฮัมเบิลสามารถเจริญเติบโตได้สูงกว่า 40 เซนติเมตร คนจีนโบราณจะใช้ต้นไผ่นี้เป็น เครื่องทรมาน โดยผู้เคราะห์ร้ายจะถูกนามามัดติดไว้ที่ต้นไผ่โดยมีหน่ออ่อนของมันแทงอยู่ที่หลัง ภายใน 2-3 ชั่วโมง หน่อไผ่ก็จะแทงทะลุหลังของผู้เคราะห์ร้าย

More Related Content

Viewers also liked

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1sehaine1
 
Використання засобів пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесі
Використання засобів  пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесіВикористання засобів  пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесі
Використання засобів пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесіВалерій Кравець
 
Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...
Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...
Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...Валерій Кравець
 
Підготовка та проведення предметного тижня
Підготовка та проведення предметного тижняПідготовка та проведення предметного тижня
Підготовка та проведення предметного тижняВалерій Кравець
 
SAYL Site Director Training
SAYL Site Director TrainingSAYL Site Director Training
SAYL Site Director Trainingmaryeflannigan
 
12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเอง
12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเอง12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเอง
12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเองSR'Title Tigh
 
Akif instraction
Akif instractionAkif instraction
Akif instractionAkif Durna
 
Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...
Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...
Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...Валерій Кравець
 

Viewers also liked (14)

Gazebo Matika
Gazebo MatikaGazebo Matika
Gazebo Matika
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
проект 4. симетрія часу
проект 4. симетрія часупроект 4. симетрія часу
проект 4. симетрія часу
 
Why Use Library Resources
Why Use Library ResourcesWhy Use Library Resources
Why Use Library Resources
 
проект 2.симетрія кристалів
проект 2.симетрія кристалівпроект 2.симетрія кристалів
проект 2.симетрія кристалів
 
Використання засобів пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесі
Використання засобів  пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесіВикористання засобів  пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесі
Використання засобів пошуково-дослідницької діяльності у навчальному процесі
 
Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...
Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...
Розвиток системи методичної роботи з педагогічними кадрами в умовах оновлення...
 
Підготовка та проведення предметного тижня
Підготовка та проведення предметного тижняПідготовка та проведення предметного тижня
Підготовка та проведення предметного тижня
 
SAYL Site Director Training
SAYL Site Director TrainingSAYL Site Director Training
SAYL Site Director Training
 
12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเอง
12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเอง12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเอง
12 วีธีเพิ่มความมั่นใจในตนเอง
 
до заняття 3.
до заняття 3.до заняття 3.
до заняття 3.
 
урок
урокурок
урок
 
Akif instraction
Akif instractionAkif instraction
Akif instraction
 
Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...
Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...
Підвищення рівня науково-методичної підготовки та фахової майстерності вчител...
 

Similar to 83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์

สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์
จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์
จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์Cleopas Gotoemmaus
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
ครูตุ้ย ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50
ครูตุ้ย   ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50ครูตุ้ย   ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50
ครูตุ้ย ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50joybh42
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อJ:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อviriyalekprasert
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315CUPress
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองPakornkrits
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6
สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6
สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6ponthip2507
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 

Similar to 83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์ (20)

สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์
จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์
จากสิ่งที่เห็นมา ฉบับที่ยี่สิบเจ็ด สมองมนุษย์ อวัยวะมหัศจรรย์
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
แอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้วแอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้ว
 
แอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้วแอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้ว
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Present
PresentPresent
Present
 
P (1)
P (1)P (1)
P (1)
 
ครูตุ้ย ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50
ครูตุ้ย   ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50ครูตุ้ย   ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50
ครูตุ้ย ฟิสิกส์ .. โจทย์ โควต้า มช. 50
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อJ:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6
สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6
สไลด์ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 

83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์

  • 1. ด.ญ.ปพิชญา กิจสวน ม.2/8 รหัสประจาตัวนักเรียน 07698 83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์ 83เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ที่พวกเรายังไม่รู้ ? คุณรู้รึเปล่า ? ถ้ายังไม่รู้ก็มาดูกันเลย จะมีอะไรบ้างนะ ? อยากรู้จัง
  • 2. 1. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ มนุษย์พลังงาน เชื่อหรือไม่ว่าร่างกายของคนผลิตกระแสไฟฟ้าได้ คนแต่ละคนจะมีพลังงานเทียบเท่ากับ การเปิดหลอดไฟฟ้าขนาด 120 วัตต์ เพราะคนที่กินอาหารเข้าไปปริมาณ 2,500 แคลอรี ในแต่ละวันจะให้พลังงานความร้อน 104 แคลอรีต่อชั่วโมง ซึ่งเทียบเท่ากระแสไฟฟ้าที่มีพลังงาน 120 วัตต์ 2. กะพริบตา ตลอดชีวิตของคนเรานั้นเราต้องกะพริบตาถึง 250 ล้านครั้งทีเดียว เพราะเราจะต้องกะพริบตาทุก ๆ 6 วินาที ทาให้กล้ามเนื้อตาเคลื่อนไหวประมาณ 10,000ครั้งต่อวัน ถ้าเปรียบกับการทางานของกล้ามเนื้อขาแล้ว จะ เท่ากับวิ่งระยะทาง 80 กิโลเมตรต่อวัน 3. สมองบริโภค เชื่อหรือไม่ว่าตอนแรกเกิดสมองของเราหนักประมาณ 3% ของน้าหนักตัวเท่านั้น แต่เมื่ออายุได้ประมาณ 15 ปี สมองจะหนักถึง 1.4 กิโลกรัมและจะมีขนาดคงที่ สมองเติบโตได้เพราะใช้พลังงานจากอากาศที่เราหายใจเข้าไป 20% และใช้เลือดหล่อเลี้ยงถึง 15% ของเลือด ทั้งหมดในร่างกาย 4. กระบวนการคิด นักวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วว่า อิริยาบถต่าง ๆ มีผลต่อการคิดและการตัดสินใจของมนุษย์ การนอนคิดจะทาให้ความคิดกว้างไกล การยืนทาให้ ความคิดแคบลงสามารถตัดสินใจได้เร็วขึ้น ส่วนการนั่งเป็นอิริยาบถที่เหมาะกับการตัดสินใจที่ไม่รีบร้อนเท่าใดนัก ผมงอก โดยปกติ ใน 1 สัปดาห์ผมจะงอกออกมา 2 มิลลิเมตรใน 1 วัน จะมีช่วงที่ผมงอกได้ดี 2 ช่วง คือ ระหว่างเวลา 10.00 ? 11.00 น. และ 16.00 ? 18.00 น. แต่ไม่ต้องเอากระจกไปส่องดูการงอกของเส้นผมหรอกนะ เพราะมันแทบจะมองไม่เห็นเลย 5. เส้นขนแข็งแรง โดยเฉลี่ยแล้ว คนเราจะมีเส้นขนประมาณ 5 ล้านเส้นทั่วร่างกาย ยกเว้นบริเวณริมฝีปาก ฝ่ามือและฝ่าเท้า เส้นขนที่แข็งแรงที่สุดคือหนวด เชื่อ หรือไม่ว่าหนวดแข็งแรงพอ ๆ กับลวดทองแดงที่มีขนาดเท่ากันเลยทีเดียว
  • 3. 6. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ตาแหลมคม ตาของเหยี่ยวสามารถมองเห็นแมลงวันที่อยู่ในระยะครึ่งไมล์ได้ ส่วนเสือดาวก็สามารถมองเห็นคนกะพริบตาที่ระยะห่าง 100 หลาได้ ตา ของคนก็มีความพิเศษเช่นเดียวกัน เพราะสามารถแยกแยะความแตกต่างของสีได้มากถึง 17,000 สี 7. ตาที่สาม เชื่อหรือไม่ว่ามนุษย์มีสามตา ตาที่สามนี้ก็คือต่อมไพเนียลซึ่งอยู่ด้านหลังของกะโหลกศีรษะ ภายในต่อมมีสารเคมีที่มีชื่อว่าเซโรโตนินอยู่ เป็นจานวนมาก เชื่อกันว่า สารชนิดนี้ช่วยส่งผลให้มนุษย์มีการคิดอย่างสมเหตุสมผล นักวิทยาศาสตร์จึงเปรียบต่อมนี้ว่าเป็นตาที่สาม ของมนุษย์ 8. ฮัดเช้ย! เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้ามาทาให้จมูกของเราเกิดการระคายเคือง เราจะจามออกมาโดยอัตโนมัติ ทุกครั้งที่เราจามจะมีน้าลายฟุ้งกระจาย ออกมาถึง 100,000 หยด ด้วยอัตราเร็ว 152 ฟุตต่อวินาที 9. ริมฝีปาก เคยสงสัยกันหรือไม่ครับว่าทาไมริมฝีปากของเราจึงมีสีแดงมากกว่าส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะผิวหนังบริเวณริมฝีปาก บางกว่าส่วนอื่น ๆ นั่นเอง จึงทาให้สามารถมองเห็นสีของเลือดใต้ผิวหนังได้ 10. ยิ้มแย้ม ร่างกายของเราประกอบด้วยกล้ามเนื้อประมาณ 650 มัด หากเราหน้าบึ้งจะต้องใช้กล้ามเนื้อประมาณ 400 มัด ในขณะที่การยิ้มใช้ กล้ามเนื้อ 15 มัด เท่านั้น และพลังงานที่ใช้ก็น้อยกว่าการขมวดคิ้ว 1 ครั้งเสียอีก เชื่อกันว่าการขมวดคิ้ว 200,000 ครั้ง ทาให้เกิดรอย ตีนกา 1 รอย 11. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ฟันปลา เชื่อกันว่าเมื่อประมาณ 1 ล้านปีที่แล้ว ฟันของมนุษย์มีลักษณะคล้ายกับฟันปลาเพราะมีการค้นพบฟันลักษณะเดียวกันกับของมนุษย์อยู่ ในกรามของปลาฉลามยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังนั้น ฟันของมนุษย์และปลาฉลามจึงมีโครงสร้างพื้นฐานเหมือนกัน แต่ฟันของมนุษย์ได้ พัฒนาจนมีรูปร่างเหมือนในปัจจุบัน ปลาเปคู (Pacu) ปลาฟันคน >?http://teen.mthai.com/variety/59011.html
  • 4. 12.การทรงตัว เชื่อหรือไม่ว่าหูมีผลต่อการทรงตัว อวัยวะที่ช่วยให้เราสามารถทรงตัวอยู่ได้คือ เซมิเซอร์คิวลาร์ คาแนล (semicir-cularcanel) ในหูซึ่งภายในมีของเหลวที่ไวต่อการกระตุ้นของเหลวนี้จะทาหน้าที่ในการรับรู้สมดุล หากเราหมุนไปรอบ ๆ ตัวเร็ว ๆ หลาย ๆ ครั้ง จะทาให้อวัยวะนี้เกิดความสับสน เราจึงรู้สึกเวียนศีรษะ 13. เสียงกรน เสียงกรนเป็นเสียงที่สร้างความราคาญแก่ผู้ได้ยินเพราะดังพอ ๆ กับเสียงของสว่านไฟฟ้าซึ่งดังถึง 70 เดซิเบล 14. พลังปอด เชื่อหรือไม่ว่าปกติเราจะหายใจเอาอากาศเข้าไปประมาณ 6 ลิตรต่อนาที แต่ระหว่างออกกาลังกายและหลังออกกาลังกายใหม่ ๆ เราอาจหายใจเอาอากาศเข้าไปได้มากถึง 100 ลิตรต่อนาที 15. น้าหนักวิญญาณ เชื่อหรือไม่ครับว่าวิญญาณของพวกเราก็มีน้าหนักด้วยเหมือนกัน นักวิทยาศาสตร์ทดลองชั่งน้าหนักของวิญญาณโดยชั่ง น้าหนักของคนในขณะที่มีชีวิตอยู่เปรียบเทียบกับน้าหนักหลังจากเสียชีวิตทันที พบว่าน้าหนักหายไป 21 กรัม จึงสรุปว่าดวง วิญญาณของพวกเรามีน้าหนัก 21 กรัมด้วย 16. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ สารฆ่าความเจ็บปวด น้องๆเคยสังเกตไหมว่าทาไมบางครั้งนักกีฬาที่ได้รับบาดเจ็บในระหว่างการแข่งขันยังสามารถลงแข่งขันได้จนจบหรือทหารที่ ได้รับบาดเจ็บในสนามรบยังคงทนต่อสู้ข้าศึกอยู่ได้ พวกเขาไม่เจ็บกันหรือ นักวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วครับว่าเมื่อมนุษย์เผชิญ สถานการณ์ที่ตึงเครียด สมองจะปล่อยสารออกมายับยั้งความรู้สึกเจ็บปวดเอาไว้ ทาให้มนุษย์ต่อสู้กับความเจ็บปวดได้ 17. ไม่มีน้าตา รู้หรือปล่าวว่าตอนที่เราอายุ 4-5 เดือน เราร้องไห้ไม่มีน้าตากันหรอกครับ แม้จะร้องเสียงดังแค่ไหนก็ตาม ที่เป็นเช่นนี้เพราะ ต่อมน้าตาของคนเราจะพัฒนาขึ้นหลังจากเกิดมาแล้ว 4-5 เดือน ตอนนี้พวกเราคงจะร้องไห้มีน้าตากันทุกคนแล้วนะครับ 18. หิวเพราะกลิ่น พอกลิ่นหอมของอาหารลอยมา พวกเราคงเคยรู้สึกหิวตามกลิ่นนั้นไปด้วยใช่ไหมล่ะ ก็กลิ่นอาหารเข้าไปกระตุ้นระบบการย่อย อาหารของเราน่ะสิครับ ทาให้น้าย่อยในปากและท้องทางาน เราจึงรู้สึกหิวทั้งๆที่บางครั้งเราไม่ต้องการกินอีกแล้ว 19. กระเพาะแข็งแกร่ง ในกระเพาะอาหารของเรามีน้าย่อยที่มีฤทธิ์เป็นกรดสูงมาก จนสามารถละลายสังกะสีได้ แต่กรดเหล่านี้ไม่สามารถละลายผนัง กระเพาะของเราได้ เนื่องจากทุกนาทีเซลล์ผนังกระเพาะเก่า 5000 เซลล์ จะถูกเซลล์ใหม่แทนที่และเปลี่ยนเป็นเซลล์ใหม่ทั้งหมด ทุกๆ 3 วัน
  • 5. 20. ท้องร้องจ๊อกๆ พวกเราเคยได้ยินเสียงท้องร้องเมื่อรู้สึกหิวบ้างไหมครับ สาเหตุที่ท้องร้องก็เพราะสมองซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุมความรู้สึกหิวของเรา จะคอย จัดลาดับการทางานของกระเพาะอาหารและลาไส้ ถ้าในเลือดมีสารอาหารพอเพียง สมองก็จะสั่งให้ระบบย่อยอาหารทางานช้าลง แต่เมื่อใด ที่มีสารอาหารในเลือดน้อยระบบย่อยอาหารจะทางานเร็วขึ้นเราจึงได้ยินเสียงท้องร้อง 21. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ตกใจจนหน้าซีด เมื่อเราตกใจหน้าจะซีด เนื่องจากเลือดบริเวณแก้มจะไหลย้อนกลับอย่างรวดเร็วเพื่อทาหน้าที่ฉุกเฉิน คือให้สารอาหารและออกซิเจนแก่ กล้ามเนื้อส่วนอื่น เนื่องจากร่างกายไม่ได้เตรียมพร้อมอยู่ตลอดเวลาว่าจะต้องเผชิญความตกใจ เมื่อเลือดจากแก้มไหลออกไป หน้าเราจึงซีด 22. เขินอาย เมื่อเรารู้สึกเชินอายหน้าเราก็จะแดง โดยเฉพาะบริเวณแก้มและลาคอ เพราะขณะที่เราเขินอาย เซลล์ประสาทจะถูกกระตุ้นให้ปล่อยสารเคมีที่ พลังงานสูงชื่อว่า เปปไตด์ (peptide) ออกมา ทาให้เส้นเลือดที่แก้มและลาคอขยายตัว หน้าของเราจึงแดงมากกว่าปกติ 23. มาจากดวงดาว ร่างกายของเราประกอบด้วยอะตอมจานวนมาก อะตอมเหล่านี้มาจากไหน นักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าอะตอมเกิดมาจากดวงดาวที่ดับ แล้วเมื่อ 5000 ล้านปี ก่อนที่จะมีพระอาทิตย์เกิดขึ้น และดวงดวงนี้เคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ก่อนเมื่อโลกเกิดขึ้น เซลล์ของสิ่งมีชีวิตนี้ก็ได้ พัฒนาเรื่อยมาจนกลายเป็นคน 24. สารพัดสาร เชื่อหรือไม่ว่าในร่างกายของเรามีสารอยู่มากมาย เช่น มีฟอสฟอรัสในปริมาณที่มากพอจะทาหัวไม้ขีดไฟ 2,000 ก้าน มีไขมันพอที่จะทา สบู่ได้ 7 ก้อน มีเหล็กมากพอที่จะทาตะปูได้ 1 ตัว มีปูนขาวที่สามารถละลายน้าแล้วนาไปทาห้องเล็ก ๆ ได้ 1 ห้อง มีซัลเฟอร์ 1 ช้อนชา และโลหะอีกประมาณ 30 กรั 25. นอนแล้วสูง การนอนช่วยให้เราสูงขึ้นได้ เพราะเมื่อเรายืนหรือนั่ง แผ่นกระดูกอ่อนที่กระดูกสันหลังจะถูกแรงดึงดูดของโลกกดลง การนอนช่วยให้แรงกด นี้หายไป แผ่นกระดูกอ่อนที่ถูกกดก็จะพองตัว ทาให้เราสูงขึ้นได้อีก 8 มิลลิเมตร แต่เมื่อตื่นมาเราก็จะสูงเท่าเดิม 26. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ พลังกาย ร่างกายของคนเราแข็งแกร่งมากกว่าที่เราคิดเสียอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการยกน้าหนัก เช่น ถ้าเรานอนหลับโดยห่มผ้าหนัก 2.5 กิโลกรัม หายใจโดยเฉลี่ย 16 ครั้งต่อนาที และนอนนานประมาณ 8 ชั่วโมง ทรวงอกของเราสามารถยกน้าหนักได้ถึง 20 ตัน 27. ฉันทาไม่ได้ สิ่งที่ร่างกายของคนเราไม่สามารถทาได้ คือหายใจและกลืนอาหารไปพร้อม ๆ กัน เพราะกระบวนการกลืนจะไปรบกวนกระบวนการหายใจ ด้วยการปิดกั้นอากาศไม่ให้ผ่านเข้าไปขณะที่อาหารเคลื่อนจากปากไปยังคอหอยและผ่านไปที่กระเพาะอาหาร
  • 6. 28. หัวใจที่รัก ในช่วงชีวิตของมนุษย์นั้น หัวใจจะสูบฉีดโลหิตประมาณ 500 ล้านลิตรและเต้น 2,000 ล้านครั้ง ดังนั้น ใน 1 วัน หัวใจจะสูบฉีดโลหิตมากกว่า 13,500 ลิตร และเต้น 100,000 ครั้ง แต่ละวันหัวใจจึงต้องทางานหนัก เพื่อให้ได้พลังงานมากพอ เชื่อหรือไม่ว่าพลังงานที่ได้นี้สามารถยกรถยนต์ได้สูงถึง 15เมตรเลยทีเดียว 29. เรื่องของผิวหนัง เชื่อหรือไม่ว่าพื้นที่เพียง 1 ตารางนิ้วบนผิวหนังของเรานั้นประกอบไปด้วยเซลล์ถึง 19 ล้านเซลล์ ขน 60 เส้น ต่อมน้ามัน 90 ต่อม ต่อมเหงื่อ 625 ต่อม เส้นเลือดยาว 19 ฟุต และเซลล์รับความรู้สึก 19,000 เซลล์ 30. เซลล์เม็ดเลือด มีผู้เชี่ยวชาญสันนิษฐานว่าถ้านาเซลล์เม็ดเลือดของเรามาต่อเป็นสายยาวจะสามารถพันรอบเส้นศูนย์สูตรได้ ถึง 4 รอบเลยทีเดียว 31. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ น้าในร่างกาย น้อง ๆ คิดว่า ร่างกายของเรามีสถานะใดตามหลักวิทยาศาสตร์ หลายคนอาจจะคิดว่า มีสถานะเป็นของแข็ง แต่น้อง ๆ รู้หรือไม่ว่าร่างกายของเราประกอบด้วยน้าถึง 2 ใน 3 ด้วยเหตุนี้ตลอดชีวิตของคน 1 คนจึงต้อง ดื่มน้าเป็นจานวนมากถึง 70,000 ลิตร 32. ความสาคัญของเกลือแร่ เกลือแร่เป็นสารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกาย เพราะช่วยทาให้กระดูกแข็งแรง หากนาเกลือแร่ออกจากกระดูกโดย นากระดูกไปแช่ในน้ากรด เกลือแร่จะละลายออกมาจนสามารถนากระดูกนั้นมาผูกให้เป็นปมได้ 33. หนาวสั่น อาการหนาวสั่นเป็นอาการที่ร่างกายแสดงออกมาเพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม หลังจากที่ได้รับความเย็นมากเกินไป เพราะความเย็นจะทาให้กระบวนการต่าง ๆ ในร่างกายทางานช้าลง และ เป็นอันตรายได้หากอุณหภูมิลดต่าลงมาก ๆ ดังนั้น กล้ามเนื้อจึงผลิตความร้อนด้วยการทาให้กล้ามเนื้อหดตัว ไปมาอย่างรวดเร็ว 34. สูงและต่า ตอนกลางวัน อุณหภูมิในร่างกายของเราอาจสูงขึ้นได้มาก ๆ หากเรารับประทานอาหารมื้อใหญ่ อยู่ในที่อากาศ ร้อน หรือออกกาลังกายอย่างหนัก แต่ตอนกลางคืน อุณหภูมิในร่างกายของเราจะค่อย ๆ ลดลงจนต่าที่สุด เมื่อเรานอนหลับเพื่อเป็นการรักษาสมดุล
  • 7. 35. ลูกผู้ชาย การที่ผู้ชายเชื่อว่าลูกผู้ชายต้องไม่หลั่งน้าตานั้น ส่งผลกระทบให้ผู้ชายเป็นโรคเครียดได้ง่ายกว่าผู้หญิง เพราะมีโอกาส ปลดปล่อยอารมณ์ที่ถูกกดดันได้น้อย รู้อย่างนี้แล้ว ใครที่กาลังเครียดก็ลองหาโอกาสปลดปล่อยอารมณ์บ้างก็ดีนะครับ แต่ไม่ใช่ เอาแต่นั่งร้องไห้อยู่ล่ะ การออกกาลังกายก็สามารถช่วยคลายเครียดได้เช่นกัน 36. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ตัวยารักษาโรค การฉีดยาเป็นวิธีการรักษาโรคอีกวิธีหนึ่งที่แพร่หลาย ทราบหรือไม่ว่าแพทย์ได้ตัวยามาจากไหน ในยาฉีดนั้นมีส่วนประกอบของ แบคทีเรียที่ทาให้มีฤทธิ์อ่อนลง ซึ่งได้มาจากเชื้อโรคของผู้ป่วยรายอื่นที่ป่วยเป็นโรคเดียวกับเรา นอกจากนาไปทาเป็นยาฉีดแล้ว เชื้อโรคเหล้านั้นยังสามารถนาไปทาเป็นวัคซีนป้องกันโรคได้อีกด้วย โดยวัคซีนจะเข้าไปสร้างภูมิคุ้มกันโรคชนิดนั้น ๆ ในร่างกาย 37. หาวนอน อาการง่วงเหงาหาวนอนเกิดจากการที่เรารู้สึกเหนื่อยหรืออ่อนเพลีย ระบบทางเดินหายใจของเราจึงทางานช้าลงเป็นผลให้ กล้ามเนื้อคอหอยปิดโดยอัตโนมัติ ทาให้ร่างกายต้องการอากาศเพิ่มขึ้น เราจึงต้องหาวเพื่อเอาอากาศเข้าไปใช้ในกระบวนการ หายใจ 38. ใบหน้า วันหนึ่ง ๆ เราอาจมีอารมณ์และความรู้สึกเหล่านั้นถูกถ่ายทอดออกมาบ่อยครั้งทางใบหน้า เชื่อหรือไม่ว่ากล้ามเนื้อทั้งที่เป็น วงกลมและเป็นเส้นบนใบหน้าสามารถแสดงอารมณ์ที่หลากหลายได้มากกว่า 1,000 รูปแบบ 39. นอนหลับ ขณะนอนหลับเราสามารถเรียนรู้ได้หรือไม่ ในสมัยก่อนนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่ามนุษย์ไม่สามารถเรียนรู้ในขณะนอนหลับได้ แต่จาก การทดลองอย่างละเอียดของนักวิทยาศาสตร์รุ่นหลังพบว่า มนุษย์จะไม่สามารถเรียนรู้ได้ในขณะที่นอนหลับสนิท แต่จะสามารถ เรียนรู้ได้ในขณะที่อยู่ในช่วงสะลึมสะลือ 40. ล้มตัวลงนอน เชื่อหรือไม่ว่า ในบรรดาสิ่งมีชีวิต มีสัตว์เพียง 2-3 ชนิดเท่านั้น ที่นอนหลับโดยเอนหลังแนบกับพื้น และสัตว์ชนิดหนึ่งที่ สามารถทาเช่นนี้ได้ก็คือมนุษย์ 41. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์น้าหนักลด ? ไม่ว่าเราจะมีน้าหนักมากน้อยเพียงใดก็ตาม น้าหนักของเราจะสามารถลดลงได้ 300 กรัม ทุกวันในขณะที่เรานอนหลับแต่อย่า เพิ่งดีใจไปนะครับ เพราะทันทีที่ตื่นขึ้นมา น้าหนักของเราก็จะเท่าเดิม
  • 8. 42. อาณาจักรแห่งความฝัน นักวิทยาศาสตร์พบว่า ถ้าวันหนึ่ง ๆ เรานอนหลับประมาณ 8 ชั่วโมง เราจะฝัน 3-5 ครั้งต่อคืน โดยช่วงความฝัน แต่ละครั้งใช้เวลานานประมาณ 10-30 นาที และถ้าเราถูกปลุกขึ้นมาในระหว่างที่กาลังฝันอยู่ เราอาจจะจาความ ฝันนั้นได้หรือไม่ได้ก็ได้ 43. ความฝัน เชื่อหรือไม่ว่า ความฝันช่วยทาให้จิตใจของเราสดชื่นเบิกบานได้ ไม่ว่าเราจะจาความฝันนั้นได้หรือไม่ก็ตาม เพราะ ความฝันจะแสดงถึงสิ่งที่เราอยากทาเมื่อตื่น แต่เราไม่สามารถทาได้ด้วยเหตุผลนานาประการ 44. เวลาของความฝัน ผู้เชี่ยวชาญแสดงทัศนะเกี่ยวกับเวลาในช่วงของความฝันไว้ว่า เวลาที่เราตื่นอยู่ประสาทความรู้สึกเกี่ยวกับเวลาของ เราจะเป็นแนวตั้ง ดังนั้น เราจึงรับรู้แต่ขณะปัจจุบันเท่านั้น แต่เมื่อเราหลับมันจะกลายเป็นเส้นแนวนอน ทาให้เราสามารถเดินทางไปในอดีตและอนาคตได้ 45. สร้างความฝัน ถ้าอยากให้ความฝันสวยงามลองงดดื่มเครื่องดื่มทุกชนิดประมาณ 1-2 ชั่วโมงก่อนเข้านอนสิครับ เพราะ ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าจะทาให้ความฝันยิ่งใหญ่ และถ้าใครเห็นความฝันของตนเองเป็นสีต่าง ๆ ละก็แสดงว่าเป็นคนที่ไว ต่อการกระตุ้นต่าง ๆ รอบตัวมากทีเดียว 46. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ จมูกของมด ใครรู้บ้างว่ามดใช้อะไรในการดมกลิ่น คาตอบก็คือใช้เท้านั่นเอง การใช้เท้าดมกลิ่นช่วยให้มันสามารถตามกลิ่นที่ เพื่อนของมันทิ้งไว้ตามทางได้ นอกจากนี้มันยังสามารถใช้ข้อต่อที่หนวดรับกลิ่นได้อีกด้วย 47. นายช่างใหญ่ บีเวอร์เป็นสัตว์ที่ชอบสร้างเขื่อนและบ้านของมันมาก มันจะคาบกิ่งไม้และกินไม้เป็นอาหาร ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะถ้า ไม่ได้กัดไม้ทุกวัน ฟันของมันก็จะงอกและยาวขึ้นอย่างรวดเร็วทาให้มันกินอาหารไม่ได้และอดตายในที่สุด 48. อูฐลื่น อูฐเป็นสัตว์ที่ขาแต่ละข้างประกอบด้วยนิ้วขนาดใหญ่ 2 นิ้ว ปกคลุมด้วยแผ่นรองเท้าที่หนาและเหนียวทั้งยังมีแผ่น หนังบาง ๆ เชื่อมนิ้วเท้าให้ติดกัน ทาให้เท้าอูฐแข็งแรงเหมาะสาหรับเดินในทะเลทราย แต่หากจับอูฐมาอยู่ในโคลนละ ก็ เท้าแบบนี้ก็ไร้ประโยชน์เพราะจะทาให้อูฐลื่นไถลได้ง่าย
  • 9. 49. หางเก็บอาหาร มีสัตว์อยู่หลายชนิดที่มีหางและหางของมันก็ใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันไป อย่างเช่น แกะพันธุ์หนึ่งที่ใช้หางของ มันทาหน้าที่เก็บหญ้าซึ่งเป็นอาหารของมันไว้ เมื่อหญ้าขาดแคลน หญ้าที่ถูกสะสมไว้ที่หางก็จะเปลี่ยนเป็นไขมัน เพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย 50. หูหนวกเต้นระบา หากใครเคยชมภาพยนตร์อินเดียคงจะเคยเห็นงูที่เต้นระบาเมื่อได้ยินเสียงปี่ จริง ๆ แล้วมันไม่ได้เต้นระบาเพราะ เสียงปี่หรอกครับ งูเป็นสัตว์ที่หูหนวกจึงไม่ได้ยินเสียงปี่ แต่ที่มันเต้นส่ายไปส่ายมาก็เพราะจังหวะการเคลื่อนไหว ของหมองูต่างหาก ถ้าลองใช้ไม้แทนปี่ งูก็ยังคงเต้นระบาได้เหมือนกัน 51. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ สุนัขน้าร้อน สุนัขเป็นสัตว์ที่คนนิยมเลี้ยงกันโดยทั่วไป เพราะนอกจากจะใช้เฝ้าบ้านแล้ว สุนัขยังทาหน้าที่ได้หลายอย่าง นาน มาแล้วชาวอินเดียนแอซเทคนาสุนัขพันธุ์เม็กซิโกซึ่งตัวเล็กนิดเดียวและมีขนสั้นบางมาใช้แทนกระเป๋าน้าร้อน เพื่อ สร้างความอบอุ่นแก่เท้าเจ้าของเมื่ออากาศหนาว 52. ช้างนักกิน ช้างแอฟริกามีขนาดใหญ่มาก หนักถึง 7 ตัน ที่ตัวใหญ่ขนาดนี้เพราะมันใช้เวลาในการกินประมาณ 18-20 ชั่วโมงต่อหนึ่งวัน โดยกินพืชผักประมาณวันละ 350 กิโลกรัมและกินน้า 90 ลิตร 53. กินทางตา โดยปกติสัตว์จะกินอาหารทางปาก แต่สาหรับคางคกและกบแล้ว พวกมันจะกินอาหารทางตา เมื่อกินอาหารมัน จะปิดตาแน่น ดันลูกตาที่แข็งให้ชนเพดานปากทาให้เพดานปากถูกกดลงมาแนบกับลิ้นแล้วดันอาหารลงสู่กระเพาะ อาหาร นอกจากนี้มันยังดื่มน้าโดยการดูดซึมน้าผ่านทางผิวหนังด้วย 54. ปลิงป้องกันตัว ปลิงทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกมีวิธีป้องกันตัวเองที่แปลกคือ เมื่อถูกทาร้ายมันจะหดตัวทันทีและจะดันอวัยวะ ภายในของมันออกมา แต่มันก็ยังไม่ตาย อวัยวะเหล่านั้นจะเป็นอาหารของผู้ที่ทาร้ายมัน แล้วมันจะค่อย ๆ หลบหนีไป จากนั้น 2 ?3 สัปดาห์อวัยวะภายในของมันก็จะงอกใหม่ 55. ตาเคลื่อนที่ ปลาลิ้นหมาไม่ได้มีตาเดียวอย่างที่พวกเราเห็นกัน ตอนแรกที่มันเกิดมามันจะมี 2 ตา แต่เมื่ออายุมากขึ้น ตาของ มันจะย้ายตาแหน่งมารวมกัน โดยเคลื่อนที่ไปรวมกับตาอีกข้างหนึ่งซึ่งอยู่บนหัว
  • 10. 56. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ระเบิดควัน ปลาหมึกยักษ์มีวิธีการป้องกันตัวคล้ายการสร้างระเบิดควันของทหาร เมื่อเผชิญหน้ากับศัตรู มันจะพ่นหมึกดาในถุงด้านหลังลาตัว ออกมาทาให้น้าบริเวณรอบ ๆ ขุ่นดา แล้วมันจะรีบหนีไป นักวิทยาศาสตร์พบว่ามันสามารถเปลี่ยนสีหมึกของมันให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ด้วย เช่น สีแดง สีเหลือง สีเทา เป็นต้น 57. กบหดตัว กบพาราดอกซิคัล (Paradoxical) ในอเมริกาใต้มีความพิเศษคือยิ่งมันเจริญเติบโตขึ้นตัวก็ยิ่งเล็กลง เมื่อเป็นลูกอ๊อดมันมีลาตัว ยาวถึง 10 นิ้ว แต่เมื่อโตเป็นกบลาตัวจะหดลงจนเหลือขนาดไม่เกิน 3 นิ้วเท่านั้น 58. หนอนกระสือ หนอนกระสือตัวเมียจะมีอวัยวะที่เรืองแสงอยู่บริเวณใต้ท้องซึ่งใช้ส่งสัญญาณไปยังปีกของตัวผู้ที่บินอยู่ด้านบน หนอนกระสือตัวเมีย สามารถควบคุมการเปล่งแสงได้ โดยจะใช้แสงต่อเมื่อต้องการดึงดูดตัวผู้เท่านั้น 59. แสงนาทาง รู้ไหมทาไมผีเสื้อกลางคืนจึงชอบบินเข้าหาแสงไฟในตอนกลางคืน เพราะปกติผีเสื้อกลางคืนจะใช้แสงจันทร์นาทาง แต่แสงอื่นทาให้มัน สับสนและประสาททางด้านทิศทางเสียไป ดังนั้น มันจึงพยายามปรับแสงจันทร์ปลอมให้ทามุมเดียวกันกับแสงจันทร์จริง ๆ โดยการบิน เป็นวงกลมเข้ามาใกล้แสงนั้นมากขึ้น 60. เครื่องขยายเสียง จิ้งหรีดตัวผู้จะใช้เสียงเพลงซึ่งเกิดจากขาหน้าเสียดสีกันการดึงดูดตัวเมีย แต่จะไม่ดังนัก มันจึงสร้างเครื่องขยายเสียงชนิดพิเศษ โดย การขุดรังใต้ดินให้มีอุโมงค์ทางเข้าสองทาง แล้วก็ยืนส่งเสียงไพเราะอยู่ทางอุโมงค์ด้านหนึ่ง แต่ที่แปลกอีกอย่างหนึ่งก็คือ หูที่ไวต่อ เสียงของมันไม่ได้อยู่ที่หัวแต่ที่อยู่ที่ขา 61. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์?สัตว์มีเหงื่อหรือไม่ สุนัขก็มีเหงื่อครับ แต่เหงื่อของมันจะออกบริเวณฝ่าเท้า นอกจากนี้สัตว์อื่น ๆ เช่น วัว จะมีเหงื่อออกทางจมูก ส่วนเหงื่อของ ฮิปโปโปเตมัสจะออกมาจากทุกส่วนของร่างกายและจะเป็นเหงื่อสีแดง ลองสังเกตนะครับว่าสัตว์อื่น ๆ มีเหงื่อออกที่ส่วนใดของร่างกาย 62. หนึ่งไม่มีสอง คนเรามีลายนิ้วมือไม่เหมือนกัน ม้าลายแต่ละตัวก็มีแถบลายเฉพาะที่ซึ่งจะไม่ซ้ากับม้าลายตัวอื่น ๆ เช่นกัน 63. หนูนักร้อง หนูเป็นสัตว์ที่สามารถร้องเพลงได้ แต่เสียงร้องของมันจะเป็นเสียงซูเปอร์โซนิค (Supersonic) ซึ่งมีลักษณะเป็นเสียงสูง และรัว ทาให้เราไม่ได้ยินเสียงเพลงของมัน แต่ถ้ามันลดระดับเสียงให้ต่าลงจนถึงระดับปกติที่เราสามารถได้ยิน เราก็จะได้ยินเสียงเพลงจากหนูได้
  • 11. 64. สัตว์ปากกว้าง สัตว์ที่สามารถอ้าปากได้กว้างที่สุดคืองูเหลือมเรติคูเลเตด (Reticulated python) มันสามารถยืดตัวได้ถึง 10 เมตร และอ้าปากกว้างจนกลืนกินสัตว์ที่มีน้าหนัก 55 กิโลกรัม จึงไม่แปลกที่จะมีคนพบสัตว์ใหญ่ ๆ อย่างเสือดาวใน ท้องของมัน 65. ไม่เอาไมโครโฟน ไซเมียง (Simiang) เป็นสัตว์บกที่มีถุงลมขนาดใหญ่ จึงตะโกนได้เสียงดังกว่าสัตว์อื่น ๆ มันสามารถตะโกนให้ สัตว์ที่อยู่ห่างออกไปถึง 8 กิโลเมตรได้ยินได้ ส่วนสัตว์น้าที่สามารถตะโกนได้เสียงดังที่สุดคือ ปลาวาฬรอร์ควอล (Rorqualwhale) มันสามารถร้องเพลงด้วยความถี่ 20 เฮิรตซ์ ให้ได้ยินไปไกลถึง 150 กิโลเมตรเลยทีเดียว 66. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ นักแม่นธนู ปลาเสือมีวิธีจับเหยื่อที่คล้ายกับการยิงธนู โดยมันจะพ่นน้าไปยังแมลงที่เกาะอยู่บนต้นพืชเหนือน้า ทาให้แมลงตกลง ในน้า จากนั้นก็จะตรงเข้าไปฮุบแมลงนั้นไว้ทันที ปลาเสือสามารถพ่นน้าใส่เหยื่อของมันในระยะ 3 เมตรได้อย่าง แม่นยา 67. อาวุธของทากทะเล ทากทะเลไม่มีเปลือกห่อหุ้มร่างกาย ดังนั้น มันจึงป้องกันตัวโดยการกินเซลล์เข็มพิษของแมงกะพรุนเข้าไปเพื่อใช้เป็น อาวุธ เข็มพิษนี้จะไม่ถูกย่อยไปพร้อมกับอาหาร แต่จะถูกส่งไปเก็บไว้ที่ใต้ผิวหนังบริเวณด้านหลัง เมื่อต้องเผชิญหน้า กับศัตรูมันก็จะป้องกันตัวด้วยการปล่อยเข็มพิษออกมา 68. ปลาฉลามว่ายน้า ถ้าเรามีโอกาสได้เฝ้าดูปลาฉลามอย่างใกล้ชิดก็จะพบว่าปลาฉลามต้องว่ายน้าตลอดเวลา หากหยุดว่ายน้ามันจะตาย เพราะปลาชนิดอื่น ๆ จะมีถุงลมทาให้หายใจได้แม้ไม่เคลื่อนที่ แต่ปลาฉลามไม่มีถุงลม ดังนั้น ถ้ามันหยุดว่ายน้าก็จะ ทาให้ไม่มีออกซิเจนไหลผ่านเหงือกจึงไม่มีออกซิเจนใช้ในการหายใจ 69. สุดยอดตัวอ่อน ตัวออนของสัตว์ที่กินเก่งที่สุดในโลกคือตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืนในอเมริกาเหนือ เนื่องจากมันสามารถกินอาหารที่มี น้าหนักมากถึง 86,000 เท่าของน้าหนักตัวภายในเวลา 48 ชั่วโมงแรกที่มันเกิดมา 70. หมอกเพื่อชีวิต ด้วงแอฟริกาใต้ที่อาศัยอยู่ในทะเลทรายนามิบมีชีวิตอยู่ได้ด้วยการกินหมอก ปกติมันจะอาศัยอยู่ใต้เนินทรายซึ่ง อุณหภูมิค่อนข้างคงที่ แต่เมื่อมันกระหายน้า มันก็จะบินออกมาเกาะยอดเนินแล้วปล่อยให้ลดพัดพาหมอกมาจับบน ตัวของมัน เมื่อหมอกเกิดการควบแน่นจนกลายเป็นหยดน้ามันก็จะกินน้านั้นแก้กระหาย
  • 12. 71. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ เพลงรัก ปูทรอปิคัล ฟีดเดลอร์ (Tropical Fiddler) เป็นปูที่มีสีสันสวยงาม ก้ามข้างซ้ายของปูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่สะดุดตา ซึ่งมันจะใช้ ดึงดูดตัวเมียในช่วงฤดูผสมพันธุ์ โดยจะขยับก้ามไปข้างหลังและข้างหน้าสลับกันคล้ายการสีไวโอลิน แม้จะไม่มีเสียงออกมา แต่ก็ สร้างความประทับใจและดึงดูดตัวเมียให้เข้าไปหามันอย่างรวดเร็วได้ 72. เวลาของพืช คน สัตว์ และพืชเป็นสิ่งมีชีวิตเหมือนกัน แต่สิ่งที่คนและสัตว์ต่างจากพืชก็คือ การเจริญเติบโต คนและสัตว์จะมีช่วงที่เจริญเติบโตและ หยุดโตเมื่อถึงอีกช่วงอายุหนึ่ง แต่สาหรับพืชแล้ว มันจะยังคงเจริญเติบโตไปเรื่อย ๆ และจะหยุดก็ต่อเมื่อมันตายเท่านั้น 73. ราโตเร็ว ราบราซิเลียน (Brazillianfungus) เป็นพืชที่โตเร็วที่สุดมันจะงอกจากพื้นดินด้วยอัตราเร็ว 5 มิลลิเมตรต่อนาที และ เจริญเติบโตเต็มที่ภายใน 20 นาที น้าจะช่วยให้มันเจริญเติบโตได้ดีเป็นพิเศษ และเรายังสามารถได้เยินเสียงปริแตกเนื่องจากอาการ บวมน้าและเห็นน้าไหลออกมาได้ด้วย 74. ต้นไม้พูดได้ นักวิทยาศาสตร์พบว่าต้นไม้สามารถสื่อสารกันได้หากอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน พืชมีความรู้สึกชอบและไม่ชอบเช่นเดียวกับคน ดังนั้น หากมีต้นไม้ที่มันไม่ชอบขึ้นบริเวณนั้น มันก็จะปล่อยสารฟีโรโมน (Pheromones) เพื่อสื่อสารให้ต้นอื่นรับรู้ สารนี้จะไปกระตุ้นให้พืช ที่มันชอบเจริญเติบโตและจะทาลายพืชที่มันไม่ชอบ 75. พืชป้องกันตัว มีพืชอยู่หลายชนิดที่จะป้องกันตัวเองเมื่อถูกแมลงรบกวน โดยภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากถูกรบกวน พืชจะปล่อยสารที่มีชื่อว่าเทอร์เพน และแทนนิน (Terpene, Tannin) ที่บริเวณใบโปรตีนในใบจะเปลี่ยนเป็นโปรตีนที่ย่อยยากขึ้น แมลงที่บุกรุกก็จะขาดโปรตีน พืชก็ จะรอดพ้นจากการถูกแมลงรบกวน 76. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ ชีวิตในความตาย ต้นปาล์มทาลิพอต (Talipot) เป็นไม้ดอกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีช่วงชีวิตประมาณ 70 ปี แต่ตลอดชีวิตของมันจะออกดอกเพียง ครั้งเดียว ดอกสูงถึง 6 เมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร กว่าเมล็ดทั้งหมดจะสุกเป็นผลใช้เวลาประมาณ 1 ปี ต่อจากนั้นเมื่อมีการ ผสมพันธุ์อีกครั้งมันก็จะตาย 77. เรื่องบังเอิญ เมื่อประมาณพันกว่าปีมาแล้ว คนดูแลฝูงแกะชาวอบิสซีเนียค้นพบกาแฟโดยบังเอิญ เพราะวันหนึ่งเขาได้กลิ่นหอมของพุ่มไม้ป่าที่ถูก เผาจึงลองชิมดูและเกิดติดใจในรสชาติ เขาจึงนาไปต้มในน้าเดือด ตั้งแต่นั้นมากาแฟจึงกลายเป็นสิ่งที่นิยมบริโภค
  • 13. 78. ต้นสารพัดประโยชน์ ปาล์มเป็นต้นไม้สารพัดประโยชน์คล้ายต้นกล้วยเพราะทุกส่วนนาไปใช้ประโยชน์ได้ตั้งแต่นาใบมามุง หลังคา ก้านนามาทาเป็นเชือก ผล ลาต้น และใบอ่อนนามาทาเป็นอาหาร เปลือกใช้ทาผ้าและกระดาษ เมล็ดนามาทากระดุม นอกจากนี้ยางของปาล์มยังสามารถใช้ทาไวน์ได้อีกด้วย 79. ไฟช่วยชีวิต สนเป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่ต้องใช้ไฟป่าในการแพร่ขยายพันธุ์ ความร้อนของไฟจะทาให้ผลของสนปริแตก เมล็ดก็จะกระเด็นไปตกบริเวณอื่นแล้วเกิดเป็นสนต้นใหม่ แต่ถึงอย่างไรป่าสนที่ถูกไฟไหม้ก็จะต้องถูก ทาลายไปเพื่อแลกกับป่าสนที่จะเกิดขึ้นใหม่ 80. บานวันละดอก ต้นหญ้าบลูอาย มีก้านดอกไม่แข็งแรงพอที่จะรองรับน้าหนักของดอกที่บานมากกว่า 1 ดอก ดังนั้น ธรรมชาติจึงสร้างให้ดอกของมันบานในตอนเช้าแล้วเหี่ยวแห้งตายในตอนกลางคืน เพื่อจะได้มีดอกไม้ ดอกใหม่ผลิบานในวันรุ่งขึ้น 81. เรื่องน่ารู้ทางวิทยาศาสตร์ เพราะแสงอาทิตย์ ต้นอินเดียนเทเลกราฟ (Indian Telegraph) สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง เมื่ออยู่ท่ามกลาง แสงแดดจ้า ใบของมันจะเคลื่อนที่ขึ้นลงและจากข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง แล้วจะหยุดเคลื่อนไหว หลังจากนั้นอีก 2-3 นาทีมันก็จะเคลื่อนไหวแบบนี้อีกครั้ง 82. สมองพืช เชื่อหรือไม่ว่าพืชสามารถผลิตสารชนิดเดียวกับที่สมองของคนและสัตว์ผลิตได้ ต้นฝิ่นสามารถผลิตสารที่ คล้ายกับเอนโดฟีน (Endorphin) ซึ่งถูกปล่อยออกมาจากสมองของคน นอกจากนี้ต้นโจโจบายัง สามารถให้น้ามันซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายสารที่ได้จากปลาวาฬเสปิร์มอีกด้วย 83. ต้นไผ่พิศวง ในหนึ่งวัน ต้นไผ่ฮัมเบิลสามารถเจริญเติบโตได้สูงกว่า 40 เซนติเมตร คนจีนโบราณจะใช้ต้นไผ่นี้เป็น เครื่องทรมาน โดยผู้เคราะห์ร้ายจะถูกนามามัดติดไว้ที่ต้นไผ่โดยมีหน่ออ่อนของมันแทงอยู่ที่หลัง ภายใน 2-3 ชั่วโมง หน่อไผ่ก็จะแทงทะลุหลังของผู้เคราะห์ร้าย