SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที่6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
ประเภทของโปรแกรมย่อย เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัวโดย
แยกการทางานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระ
การเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อน
ของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม การทางานของโปรแกรมได้
ง่ายขึ้น มีข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์
1.การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
แบ่งได้ 2 ประเภท
 1.ฟังก์ชันมาตรฐานในภาษาซี
 ซึ่งจะอยู่ในไลบรารีภาษาซี
มาตรฐาน ไลบรารีภาษาซี
มาตรฐานประกอบด้วยฟังก์ชัน
ต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะใช้สาหรับ
การคานวณทางคณิตศาสตร์ การ
จัดการกับข้อความ การจัดการกับ
input/output และอื่นๆ ซึ่งจะ
ทาให้งานของโปรแกรมเมอร์ง่ายขึ้น
 2.ฟังก์ชันที่สร้างขึ้นใหม่โดย
โปรแกรมเมอร์
 โปรแกรมเมอร์สามารถเขียนฟังก์ชัน
เพื่อนิยามการทางานที่จะเรียกใช้ใน
ส่วนต่างๆของโปรแกรม โดย
ฟังก์ชันการทางานดังกล่าวจะถูก
เขียนไว้ในฟังก์ชันเพียงครั้งเดียว
เท่านั้น แต่สามารถเรียกใช้งานได้
หลายครั้ง
ฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบไปด้วย คือ
1.ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน
header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ
2.เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียกอีกอย่างว่าโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมา
ใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น
2.การใช้ฟังก์ชันมาตรฐานภาษาซี
1.1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
 acos(x) asin(x) atan(x)
 sin(x) cos(x) tan(x)
 sqrt(x) exp(x) pow(x,y)
 log(x) log10(x) ceil(x)
 floor(x) fabs(x)
1.2 ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร
 ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้
 isalnum(ch) isalpha(ch)
isdigit(ch)
 islower(ch) isupper(ch)
 tolower(ch) toupper(ch)
 isspace(ch) isxdigit(ch)
1.3 ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง
 ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มีดังนี้
 strlen(s) strcmp(s1,s2)
 strcpy(s) trcat(s1,s2)
1.4 ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ
 1) ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ text
mode
 2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor) เคลื่อนที่
ไปยังตาแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ
 3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่ โดยลบ
ข้อความถัดจากตาแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด
 4) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวนเต็มชนิด
long integer ที่สามารถนาไปใช้คานวณได้
3.กรณีศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
 การเขียนฟังก์ชัน x^y ขึ้นใช้เอง เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็มบวก และ x ไม่เท่ากับ 0
ชื่อของฟังก์ชัน: power - คานวณและคืนค่า x^y เป็นจานวนเต็ม ตามค่าของ x และ y ที่ผู้เรียกส่งมาให้
ข้อมูลเข้า:
x เป็นตัวแปรรับค่าฐาน และเป็นจานวนเต็มชนิด int และ x > 0
y เป็นตัวแปรรับค่ากาลัง และเป็นจานวนเต็มชนิด int และ y >= 0
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ power มี formal parameter 2 ตัวซึ่งเป็นจานวนเต็มชนิด int
หมายเหตุ ที่ต้องกาหนดคุณสมบัติของ x และ y เช่นนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการส่งค่า x = 0 และ
y = 0 เข้ามาในฟังก์ชัน เนื่องจากไม่มีการนิยาม 0^0 ไว้
ข้อกาหนดเช่นนี้ ผู้เรียกใช้งานเป็นผู้รับผิดชอบ ที่จะดูแลส่งค่าให้เป็นไปตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้
ข้อมูลออก:
คืนค่าเป็นจานวนเต็มชนิด int หรือมี return value เป็นจานวนเต็มชนิด int
ความสัมพันธ์ในการจับคู่ระหว่างสมาชิกของงเซตเป็นดังนี้
power: int x int ---> int
นามากาหนดส่วนหัวของฟังก์ชันได้ดังนี้
int power (int x, int y);
 การคานวณค่าของฟังก์ชัน (body)
การหาค่าของ x^y ตามคุณสมบัติข้างต้น ทาได้โดยการนา x มาคูณกัน y ครั้ง
ทาได้โดยการใช้โครงสร้างทาซ้า เพื่อหาค่าผลคูณสะสม อย่าลืมว่าเอกลักษณ์ของการคูณ = 1
ฟังก์ชันภาษา C ที่เสร็จเรียบร้อยแล้วเป็นดังนี้
int power ( int x, int y )
{
inti;
intp = 1; // ตัวแปรเก็บผลคูณ (product) สะสม
// ค่าเริ่มต้น = เอกลักษณ์ของการคูณ
for ( i = 0; i < y; ++i ) // x คูณกัน y ครั้ง, ครั้งที่ 0 - (y-1)
p *= x; // p = p * x;
return p; // คืนค่า x^y ให้แก่ผู้เรียก
}
คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจาก ไลบรารี่ของภาษาซีได้ทันที
โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น
ๆ ในส่วนของ header directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
4.กรณีศึกษาการใช่ฟังก์ชันมาตรฐาน
1.ไลบรารี่ (library)
stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
 1.1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล 1.2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล
conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
 1.1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter
 1.2ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter
 1.3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับข้อมูล
 1.4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ
 1.5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ
string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
 1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา
 2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีกข้อความหนึ่ง 2
 3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ 2.3.4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการ
เชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
 1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม
 2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential)
 3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy
 4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x
 5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x
 6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x
 7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n
 8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 2.4.9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็น
ฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x 2.4.10 ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หา
ค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x 2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์
(absolute value) x
ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
 1 ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น
ตัวอักษรหรือตัวเลข
 2 ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น
ตัวอักษรหรือไม่
 3 ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง
9 หรือไม่
 4 ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเล็ก
หรือไม่
 5 ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่
หรือไม่
 6 ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก
 7 ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
 1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจานวนเต็ม (integer)
 2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจานวนทศนิยม( flot)
 3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจานวนเต็ม (integer) ชนิด long integer
dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
 1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ
 2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ

More Related Content

What's hot

กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานKanchana Theugcharoon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007kruthanyaporn
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานWorapod Khomkham
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณีBeam Suna
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน Kanchana Theugcharoon
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานF'olk Worawoot
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 

What's hot (20)

3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันโปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
Https
HttpsHttps
Https
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 

Viewers also liked

Dr Hulusi Behçet - Turkish Dermatologist
Dr Hulusi Behçet - Turkish DermatologistDr Hulusi Behçet - Turkish Dermatologist
Dr Hulusi Behçet - Turkish DermatologistDr. Patrick J. Treacy
 
Foto a pagina intera
Foto a pagina interaFoto a pagina intera
Foto a pagina interagedavc
 
Wall Street Journal 07-12-2008
Wall Street Journal 07-12-2008Wall Street Journal 07-12-2008
Wall Street Journal 07-12-2008Benjamin Cheng
 
How To Repair Corrupt Word Document
How To Repair Corrupt Word DocumentHow To Repair Corrupt Word Document
How To Repair Corrupt Word DocumentYodot
 
Ditadura militar Chilena - Augusto Pinochet
Ditadura militar Chilena - Augusto PinochetDitadura militar Chilena - Augusto Pinochet
Ditadura militar Chilena - Augusto Pinochetthiago araujo
 
Marketing Your ESL Programs Successfully
Marketing Your ESL Programs SuccessfullyMarketing Your ESL Programs Successfully
Marketing Your ESL Programs SuccessfullyUniversity of Calgary
 
Phpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろう
Phpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろうPhpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろう
Phpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろうSyouta Tada
 
Lec3 4 mm applications and use
Lec3 4 mm applications and useLec3 4 mm applications and use
Lec3 4 mm applications and useDom Mike
 
Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State
Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State  Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State
Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State Hugues Rey
 

Viewers also liked (13)

Dr Hulusi Behçet - Turkish Dermatologist
Dr Hulusi Behçet - Turkish DermatologistDr Hulusi Behçet - Turkish Dermatologist
Dr Hulusi Behçet - Turkish Dermatologist
 
前期講座05
前期講座05前期講座05
前期講座05
 
Foto a pagina intera
Foto a pagina interaFoto a pagina intera
Foto a pagina intera
 
Wall Street Journal 07-12-2008
Wall Street Journal 07-12-2008Wall Street Journal 07-12-2008
Wall Street Journal 07-12-2008
 
How To Repair Corrupt Word Document
How To Repair Corrupt Word DocumentHow To Repair Corrupt Word Document
How To Repair Corrupt Word Document
 
Insights of experiential marketing
Insights of experiential marketing Insights of experiential marketing
Insights of experiential marketing
 
Ditadura militar Chilena - Augusto Pinochet
Ditadura militar Chilena - Augusto PinochetDitadura militar Chilena - Augusto Pinochet
Ditadura militar Chilena - Augusto Pinochet
 
Marketing Your ESL Programs Successfully
Marketing Your ESL Programs SuccessfullyMarketing Your ESL Programs Successfully
Marketing Your ESL Programs Successfully
 
Phpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろう
Phpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろうPhpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろう
Phpフレームワーク 「laravel」でブログを作ろう
 
электронные ценники
электронные ценникиэлектронные ценники
электронные ценники
 
Lec3 4 mm applications and use
Lec3 4 mm applications and useLec3 4 mm applications and use
Lec3 4 mm applications and use
 
Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State
Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State  Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State
Digital Transformation must be a 3 winners game: Citizen - Company - State
 
La busqueda de la modernidad
La busqueda de la modernidadLa busqueda de la modernidad
La busqueda de la modernidad
 

Similar to บทที่6 งานคอม

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)Thachanok Plubpibool
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานThachanok Plubpibool
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1Latcha MaMiew
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
งานคอมกลุ่ม 6
งานคอมกลุ่ม 6งานคอมกลุ่ม 6
งานคอมกลุ่ม 6Meky Meky
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1nitchakan
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 

Similar to บทที่6 งานคอม (20)

โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Presenter1234567
Presenter1234567Presenter1234567
Presenter1234567
 
งานคอมกลุ่ม 6
งานคอมกลุ่ม 6งานคอมกลุ่ม 6
งานคอมกลุ่ม 6
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 

More from Ice Ice

บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานIce Ice
 
บทที่ 2-บุหรี่
บทที่ 2-บุหรี่บทที่ 2-บุหรี่
บทที่ 2-บุหรี่Ice Ice
 
บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่Ice Ice
 
เรื่องบุหรี่
เรื่องบุหรี่เรื่องบุหรี่
เรื่องบุหรี่Ice Ice
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดIce Ice
 
การละเมิดลิขสิทธิ์
การละเมิดลิขสิทธิ์การละเมิดลิขสิทธิ์
การละเมิดลิขสิทธิ์Ice Ice
 

More from Ice Ice (6)

บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
บทที่ 2-บุหรี่
บทที่ 2-บุหรี่บทที่ 2-บุหรี่
บทที่ 2-บุหรี่
 
บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่บทที่ 1 บุหรี่
บทที่ 1 บุหรี่
 
เรื่องบุหรี่
เรื่องบุหรี่เรื่องบุหรี่
เรื่องบุหรี่
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
การละเมิดลิขสิทธิ์
การละเมิดลิขสิทธิ์การละเมิดลิขสิทธิ์
การละเมิดลิขสิทธิ์
 

บทที่6 งานคอม

  • 2. ประเภทของโปรแกรมย่อย เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัวโดย แยกการทางานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระ การเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อน ของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม การทางานของโปรแกรมได้ ง่ายขึ้น มีข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ 1.การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
  • 3. แบ่งได้ 2 ประเภท  1.ฟังก์ชันมาตรฐานในภาษาซี  ซึ่งจะอยู่ในไลบรารีภาษาซี มาตรฐาน ไลบรารีภาษาซี มาตรฐานประกอบด้วยฟังก์ชัน ต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะใช้สาหรับ การคานวณทางคณิตศาสตร์ การ จัดการกับข้อความ การจัดการกับ input/output และอื่นๆ ซึ่งจะ ทาให้งานของโปรแกรมเมอร์ง่ายขึ้น  2.ฟังก์ชันที่สร้างขึ้นใหม่โดย โปรแกรมเมอร์  โปรแกรมเมอร์สามารถเขียนฟังก์ชัน เพื่อนิยามการทางานที่จะเรียกใช้ใน ส่วนต่างๆของโปรแกรม โดย ฟังก์ชันการทางานดังกล่าวจะถูก เขียนไว้ในฟังก์ชันเพียงครั้งเดียว เท่านั้น แต่สามารถเรียกใช้งานได้ หลายครั้ง
  • 4. ฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบไปด้วย คือ 1.ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ 2.เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียกอีกอย่างว่าโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมา ใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น 2.การใช้ฟังก์ชันมาตรฐานภาษาซี
  • 5. 1.1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์  ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้  acos(x) asin(x) atan(x)  sin(x) cos(x) tan(x)  sqrt(x) exp(x) pow(x,y)  log(x) log10(x) ceil(x)  floor(x) fabs(x)
  • 6. 1.2 ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร  ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้  isalnum(ch) isalpha(ch) isdigit(ch)  islower(ch) isupper(ch)  tolower(ch) toupper(ch)  isspace(ch) isxdigit(ch)
  • 8. 1.4 ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ  1) ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ text mode  2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor) เคลื่อนที่ ไปยังตาแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ  3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่ โดยลบ ข้อความถัดจากตาแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด  4) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวนเต็มชนิด long integer ที่สามารถนาไปใช้คานวณได้
  • 10.  การเขียนฟังก์ชัน x^y ขึ้นใช้เอง เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็มบวก และ x ไม่เท่ากับ 0 ชื่อของฟังก์ชัน: power - คานวณและคืนค่า x^y เป็นจานวนเต็ม ตามค่าของ x และ y ที่ผู้เรียกส่งมาให้ ข้อมูลเข้า: x เป็นตัวแปรรับค่าฐาน และเป็นจานวนเต็มชนิด int และ x > 0 y เป็นตัวแปรรับค่ากาลัง และเป็นจานวนเต็มชนิด int และ y >= 0 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ power มี formal parameter 2 ตัวซึ่งเป็นจานวนเต็มชนิด int หมายเหตุ ที่ต้องกาหนดคุณสมบัติของ x และ y เช่นนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการส่งค่า x = 0 และ y = 0 เข้ามาในฟังก์ชัน เนื่องจากไม่มีการนิยาม 0^0 ไว้ ข้อกาหนดเช่นนี้ ผู้เรียกใช้งานเป็นผู้รับผิดชอบ ที่จะดูแลส่งค่าให้เป็นไปตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้ ข้อมูลออก: คืนค่าเป็นจานวนเต็มชนิด int หรือมี return value เป็นจานวนเต็มชนิด int ความสัมพันธ์ในการจับคู่ระหว่างสมาชิกของงเซตเป็นดังนี้ power: int x int ---> int นามากาหนดส่วนหัวของฟังก์ชันได้ดังนี้ int power (int x, int y);
  • 11.  การคานวณค่าของฟังก์ชัน (body) การหาค่าของ x^y ตามคุณสมบัติข้างต้น ทาได้โดยการนา x มาคูณกัน y ครั้ง ทาได้โดยการใช้โครงสร้างทาซ้า เพื่อหาค่าผลคูณสะสม อย่าลืมว่าเอกลักษณ์ของการคูณ = 1 ฟังก์ชันภาษา C ที่เสร็จเรียบร้อยแล้วเป็นดังนี้ int power ( int x, int y ) { inti; intp = 1; // ตัวแปรเก็บผลคูณ (product) สะสม // ค่าเริ่มต้น = เอกลักษณ์ของการคูณ for ( i = 0; i < y; ++i ) // x คูณกัน y ครั้ง, ครั้งที่ 0 - (y-1) p *= x; // p = p * x; return p; // คืนค่า x^y ให้แก่ผู้เรียก }
  • 12. คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจาก ไลบรารี่ของภาษาซีได้ทันที โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 4.กรณีศึกษาการใช่ฟังก์ชันมาตรฐาน
  • 13. 1.ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้  1.1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล 1.2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้  1.1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter  1.2ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter  1.3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับข้อมูล  1.4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ  1.5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้  1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา  2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีกข้อความหนึ่ง 2  3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ 2.3.4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการ เชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
  • 14. marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้  1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม  2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential)  3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy  4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x  5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x  6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x  7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n  8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 2.4.9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x 2.4.10 ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หา ค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x 2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x
  • 15. ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้  1 ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น ตัวอักษรหรือตัวเลข  2 ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น ตัวอักษรหรือไม่  3 ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่  4 ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเล็ก หรือไม่  5 ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่ หรือไม่  6 ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก  7 ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
  • 16. stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้  1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจานวนเต็ม (integer)  2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจานวนทศนิยม( flot)  3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจานวนเต็ม (integer) ชนิด long integer dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้  1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ  2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ