SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ประเทศ คิวบา
ชาวสเปนเดินทางมาถึงเกาะคิวบาครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2035  แต่ไม่ได้สนใจเกาะนี้มากนักในระยะแรกเพราะไม่มีทรัพยากรธรรมชาติและมีชาวอินเดียนอยู่น้อย จนกระทั่งเกิดการปฏิวัติใน เฮติ เมื่อราว พ.ศ. 2333  คิวบาจึงกลายเป็นแหล่งอุตสาหกรรมน้ำตาลของสเปนแทนที่เฮติ
คิวบาเป็นดินแดนสุดท้ายในทวีปอเมริกาที่เป็นอาณานิคมของสเปน  โฮเซ่ มาตี  จัดตั้ง พรรคปฏิวัติคิวบา เมื่อ  พ.ศ. 2435  เพื่อเรียกร้องเอกราชจนถูกฆ่าเมื่อ พ.ศ. 2438  การเรียกร้องเอกราชของคิวบาได้รับการสนับสนุนจาก สหรัฐอเมริกา  จนกระทั่งเรือของสหรัฐเกิดระเบิดในอ่าวของกรุงฮาวานาเมื่อ  15 กุมภาพันธ์   พ.ศ. 2440  ซึ่งกลายเป็นชนวนให้สหรัฐประกาศสงครามกับสเปน ผลของสงครามทำให้คิวบาได้รับเอกราชและอาณานิคมอื่นของสเปนกลายเป็นของสหรัฐ
หลังจากได้รับเอกราช คิวบาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหรัฐมาก ในบางช่วงเช่น  พ.ศ. 2460   - 2466  คิวบาถูกสหรัฐยึดครองและเข้ามาบริหารโดยตรง ทั้งนี้เพราะสหรัฐมีผลประโยชน์ในอุตสาหกรรมน้ำตาลของคิวบา อิทธิพลของสหรัฐสิ้นสุดลงเมื่อ  ฟิเดล คาสโตร  เข้ายึดอำนาจจากประธานาธิบดี ฟุลเฮนซิโอ บาติสตา และบริหารประเทศด้วยระบอบสังคมนิยมเมื่อ  พ.ศ. 2502  เมื่อถูกสหรัฐตัดความสัมพันธ์และปิดกั้นทางการค้า และสหรัฐสนับสนุนชาวคิวบาโพ้นทะเลให้ก่อกบฏล้มรัฐบาลของคัสโตรจนเกิดวิกฤตการณ์เบย์ออฟฟิกส์เมื่อ  15 เมษายน   พ.ศ. 2514  แต่ไม่สำเร็จ รัฐบาลของคัสโตรจึงหันไปสร้างความสัมพันธ์กับ โซเวียต และ จีน แทน ปัจจุบันคิวบาเป็น  1  ใน  5  ประเทศ คอมมิวนิสต์ ในโลก  ( อีก  4  ประเทศคือ  จีน   เวียดนาม   ลาว  และ เกาหลีเหนือ )  และเป็นประเทศเดียวในทวีปอเมริกาที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์
การเมือง ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ การแบ่งเขตการปกครอง 14  จังหวัด  ( provinces)  และ  1  เทศบาลพิเศษ * ( special municipality)   ได้ประกอบขึ้นเป็นประเทศคิวบา เขตปกครองนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จากเดิมมีเพียง  6  จังหวัด คือ ปีนาร์เดลรีโอ  ( Pinar del Río)  อาบานา  ( Habana)  มาตันซัส  ( Matanzas)   ลัสบียัส  ( Las Villas)  กามากูเอย์  ( Camagüey)  และโอเรียนเต  ( Oriente
1 อิสลาเดลาฮูเบนตุด * (Isla de la Juventud) 2 ปีนาร์เดลรีโอ   (Pinar del Río) 9 เซียโกเดอาบีลา   (Ciego de Ávila) 3 ลาอาบานา  ( ฮาวานา)   (La Habana) 10 กามากูเอย์   (Camagüey) 4 ซิวดัดเดลาอาบานา  ( ฮาวานาซิตี)   (Ciudad de la Habana) 11 ลัสตูนัส   (Las Tunas) 5 มาตันซัส   (Matanzas) 12 กรัมมา   (Granma) 6 เซียมฟวยโกส   (Cienfuegos) 13 ออลกิง   (Holguín) 7 บียากลารา   (Villa Clara Province) 14 ซันเตียโกเดกูบา   (Santiago de Cuba Province) 8 ซังก์ตีสปีรีตุส   (Sancti Spíritus Province) 15 กวันตานาโม   (Guantánamo)
ประชากร สาธารณรัฐคิวบา ( Republic of Cuba)  มีประชากรประมาณ  11,382,820   คน เมืองหลวง ฮาวานา   ( อังกฤษ : Havana)  หรือ  ลาอาบานา   ( สเปน :  La Habana )  เป็น เมืองหลวง  เมืองท่าที่สำคัญ และเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจของ ประเทศคิวบา  และยังเป็น  1  ใน  14  จังหวัดของคิวบา เมือง / จังหวัดนี้มีประชากรราว  2.4  ล้านคนและในเขตเมืองมากกว่า  3.7  ล้านคน ฮาวานาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในคิวบาและบริเวณทะเลแคริบเบียน [
ธงประจำชาติของ ประเทศ คิวบา
ภาษาสเปนมีต้นกำเนิดจาก ภาษาละติน ชาวบ้านที่พัฒนามาตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษที่ 3   ( เช่นเดียวกับภาษาอื่นในกลุ่มภาษาโรมานซ์ )  หลังจาก จักรวรรดิโรมัน ล่มสลายลง ดินแดนที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิต่างแยกไปอยู่ใต้การปกครองของชนกลุ่มต่าง ๆ กัน ภาษานี้จึงถูกตัดขาดออกจากภาษาถิ่นของภาษาละตินในดินแดนอื่น ๆ และมีวิวัฒนาการอย่างช้า ๆ จนเกิดเป็น ภาษาละตินใหม่ ต่างหากอีกภาษาหนึ่ง แต่เนื่องจากได้รับการเผยแพร่ทั้งใน ทวีปอเมริกาเหนือ และ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นเวลาที่ต่อเนื่องยาวนาน ภาษาสเปนจึงกลายเป็นภาษาละตินใหม่ที่ใช้กันแพร่หลายมากที่สุดในปัจจุบัน
ที่ตั้ง กลางทะเลแคริบเบียน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดใน  West Indies ตั้งอยู่ทาง ทิศใต้ของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา บริเวณทางตอนเหนืออยู่ใกล้กับอ่าวเม็กซิโก และทางด้านตะวันออกอยู่ใกล้กับไฮติ และสาธารณรัฐโดมินิกัน ทางตอนใต้ของประเทศมีภูเขาสำคัญคือ Sierra Maestra
ภูมิอากาศ  ร้อนชื้น   (tropical)  ฤดูแล้งระหว่างเดือน พ . ย . -  เม . ย . ฤดูฝนระหว่างเดือน พ . ค . -  ต . ค . พื้นที่   110,860  ตารางกิโลเมตร ศาสนา  ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เชื้อชาติ   Mulatto ( ผิวขาวผสมนิโกร )  ร้อยละ  51  ผิวขาวร้อยละ  37 ผิวดำร้อยละ  11  ชาวจีนร้อยละ  1 อัตราผู้รู้หนังสือ  ร้อยละ  99
อาชีพ  การกษตรกร  20%  อุตสาหกรรม  19.4%  ภาคบริการ   60.6% (2548) หน่วยเงินตรา  คิวบาเปโซ  ( 1  คิวบาเปโซ * =  1.11  ดอลลาร์สหรัฐ ) สหรัฐฯ )  หมายเหตุ  -  อัตราทางการ * ( ปี   2549) (24  คิวบาเปโซ * =  1  ดอลลาร์สหรัฐ )  หมายเหตุ  -  อัตราภายใน * ( ปี   2549) เวลาแตกต่างจากไทย   -5 GMT ( ช้ากว่าไทย  12  ชั่วโมง ) วันชาติ  1  มกราคม  /  Anniversary of the Revolution ( ค . ศ .  1959) สมาชิกองค์การระหว่างประเทศ  FEALAC, ECLAC, FAO, UN, UNESCO, NAM, G77, WTO, ILO, UNCTAD, IAEA, OAS ( ยังไม่ขาดจากการเป็นสมาชิก แต่ไม่ได้มีส่วนร่วมมาตั้งแต่ปีค . ศ .  1962)
ประมุขของประเทศและหัวหน้าฝ่ายบริหาร  ผลเอก  Raul Castro Ruz  รักษาการประธานาธิบดีแทนนาย  Fidel Castro Ruz  ซึ่งมีปัญหาสุขภาพ   ( ตั้งแต่  31  กรกฏาคม  2549) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ   Mr.Felipe Perez Roque สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  เป็นระบบสภาเดียว  ( National Assembly of People’s Power  หรือ  Assemblea Nacional del Poder Popular)  สภาแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจำนวน  601  คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และมีวาระ  5  ปี
พรรคการเมือง  พรรคเดียว คือ พรรคคอมมิวนิสต์   (Partido Comunista de Cuba : PCC)  ซึ่งเลขาธิการพรรคคนที่  1 (First Secretary)  ได้แก่  Fidel Castro Ruz
เศรษฐกิจการค้า อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ  ร้อยละ  4.7 ( ปี   2549) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ   (GDP)  USD 67.6  พันล้าน ( 2549) โครงสร้าง   GDP (2543)  ภาคบริการ ร้อยละ  57.9  ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ  27.2  ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ  7.6
รายได้ประชาชาติต่อหัว   3,584  ดอลลาร์สหรัฐ  ( 2549) อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ  6.1 (2549) อัตราการว่างงาน  (2549)  ร้อยละ  1.9 หนี้สินต่างประเทศ  14.5  พันล้านเหรียญสหรัฐ ทรัพยากรธรรมชาติ  เหล็ก ทองแดง นิเกิล แมงกานีส เกลือ ไม้ อุตสาหกรรม  น้ำตาล อาหารแปรรูป เหล็ก ปูน เคมีภัณฑ์ เกษตรกรรม  อ้อย ยาสูบ ผลไม้ประเภทส้ม  ( Citrus)  กาแฟ ผัก ถั่ว เนื้อ สินค้านำเข้า  อาหาร เชื้อเพลิง เคมีภัณฑ์ เครื่องจักร
สินค้าออก  น้ำตาล นิเกิล ยาสูบ อาหารทะเล เหล้ารัม ประเทศส่งคู่ค้าที่สำคัญ  เนเธอร์แลนด์ เวเนซูเอลา แคนาดา จีน สเปน สหรัฐฯ และประเทศต่างๆ ในภูมิภาคลาตินอเมริกา นโยบายเศรษฐกิจหลัก  สังคมนิยม แต่เริ่มผ่อนคลายความเข้มงวดในบางภาคธุรกิจ อาทิ การท่องเที่ยว โรงแรม เพื่อดึงดูดเงินตราต่างประเทศ คิวบาได้เปิดประเทศและปรับโครงสร้างทางการเมืองและเศรษฐกิจ มีนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐคิวบา การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต ไทยและคิวบาสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่   15  พฤษภาคม  2501  โดยในปัจจุบันรัฐบาลไทยแต่งตั้งให้เอกอัครราชทูต ณ กรุงเม็กซิโกเป็นเอกอัครราชทูตประจำคิวบา อีกตำแหน่งหนึ่ง และในปี  2546  ได้เปิดสถานกงสุลกิตติศักดิ์ไทยประจำสาธารณรัฐคิวบาขึ้นโดยมีนาย  Jorge Manuel Vera Gonzalez  ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์ ส่วนรัฐบาลคิวบาได้เปิดสถานเอกอัครราชทูตคิวบาประจำประเทศไทย โดยเริ่มเปิดทำการตั้งแต่วันที่  13  มกราคม  2547
การค้าไทย - คิวบา สินค้าที่ไทยส่งออก   1)  ตู้เย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ  2)  เครื่องซักผ้าและเครื่องซักแห้งและส่วนประกอบ  3)  ผลิตภัณฑ์ยาง  4)  เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ  5)  เครื่องคอมเพรสเซอร์ของเครื่องทำความเย็น  6)  อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป  7)  เครื่องโทรสาร โทรพิมพ์ โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 8)  หม้อแบตเตอรีและส่วนประกอบ  9)  ก็อก วาล์ว และส่วนประกอบ   10)  ผลไม้กระป๋องและแปรรูป สินค้าที่ไทยนำเข้า  1)  ผลิตภัณฑ์ยาสูบ  2)  ผักผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผักผลไม้  3)  เครื่องดื่มประเภทน้ำแร่ น้ำอัดลมและสุรา
ยาและการแพทย์ คุณควรเตรียมยาที่จำเป็น และทำประกันก่อนเดินทางมาประเทศคิวบา แต่ประเทศคิวบาก็มีมาตรฐานทางการแพทย์ ที่ดี และมีคลินิคสำหรับชาวต่างชาติในเมืองใหญ่ต่าง ๆ พร้อมแพทย์ที่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ ค่ารักษาก็ไม่ได้ สูงมากจนเกินไป และขอแนะนำให้คุณใช้บริการของโรงพยาบาลเอกชน มากกว่าโรงพยาบาลของรัฐบาล
วัฒนธรรมอาหาร อาหารการกินของชาวคิวบาเป็นการผสมผสานวัฒนธรรมอาหารของชาวสเปน และแคริบเบี้ยนโดยจะใช้เทคนิคประ กอบอาหารแบบชาวสเปน แต่ปรุงรสชาติอย่างแคริบเบี้ยน และผสมผสานเครื่องเทศเข้าด้วยกัน ซึ่งเป็นกฎที่คุณจะ ต้องทานอาหารเหลือ และอาหารจะไม่เสริฟต่อเนื่องเป็นคอร์ส แต่จะเสริฟพร้อมกันทีเดียวอาหารท้องถิ่นจะประกอบ ด้วยต้น  plantains,  ถั่วดำ ,  ข้าว ,  ผลไม้ต่าง ๆ  ,  เนื้อหมูทานคู่กับหัวหอม ,  ขนมปังแบบคิวบา อื่น ๆ อีกมากมาย
เทศกาลต่าง ๆ มีเทศกาลมากมายที่เมืองฮาวาน่า เช่น  Las Terrazas, Canimar River, Varadero, Vinales, Playas del Este  และ  Trinidad,  พิพิธภัณฑ์เหล้ารัม , Casa de la Amistad,  พิพิธภัณฑ์ ประจำเมือง , Cienfuegos
 
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ประเทศ คิวบา

  • 2. ชาวสเปนเดินทางมาถึงเกาะคิวบาครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2035 แต่ไม่ได้สนใจเกาะนี้มากนักในระยะแรกเพราะไม่มีทรัพยากรธรรมชาติและมีชาวอินเดียนอยู่น้อย จนกระทั่งเกิดการปฏิวัติใน เฮติ เมื่อราว พ.ศ. 2333 คิวบาจึงกลายเป็นแหล่งอุตสาหกรรมน้ำตาลของสเปนแทนที่เฮติ
  • 3. คิวบาเป็นดินแดนสุดท้ายในทวีปอเมริกาที่เป็นอาณานิคมของสเปน โฮเซ่ มาตี จัดตั้ง พรรคปฏิวัติคิวบา เมื่อ พ.ศ. 2435 เพื่อเรียกร้องเอกราชจนถูกฆ่าเมื่อ พ.ศ. 2438 การเรียกร้องเอกราชของคิวบาได้รับการสนับสนุนจาก สหรัฐอเมริกา จนกระทั่งเรือของสหรัฐเกิดระเบิดในอ่าวของกรุงฮาวานาเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 ซึ่งกลายเป็นชนวนให้สหรัฐประกาศสงครามกับสเปน ผลของสงครามทำให้คิวบาได้รับเอกราชและอาณานิคมอื่นของสเปนกลายเป็นของสหรัฐ
  • 4. หลังจากได้รับเอกราช คิวบาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหรัฐมาก ในบางช่วงเช่น พ.ศ. 2460 - 2466 คิวบาถูกสหรัฐยึดครองและเข้ามาบริหารโดยตรง ทั้งนี้เพราะสหรัฐมีผลประโยชน์ในอุตสาหกรรมน้ำตาลของคิวบา อิทธิพลของสหรัฐสิ้นสุดลงเมื่อ ฟิเดล คาสโตร เข้ายึดอำนาจจากประธานาธิบดี ฟุลเฮนซิโอ บาติสตา และบริหารประเทศด้วยระบอบสังคมนิยมเมื่อ พ.ศ. 2502 เมื่อถูกสหรัฐตัดความสัมพันธ์และปิดกั้นทางการค้า และสหรัฐสนับสนุนชาวคิวบาโพ้นทะเลให้ก่อกบฏล้มรัฐบาลของคัสโตรจนเกิดวิกฤตการณ์เบย์ออฟฟิกส์เมื่อ 15 เมษายน พ.ศ. 2514 แต่ไม่สำเร็จ รัฐบาลของคัสโตรจึงหันไปสร้างความสัมพันธ์กับ โซเวียต และ จีน แทน ปัจจุบันคิวบาเป็น 1 ใน 5 ประเทศ คอมมิวนิสต์ ในโลก ( อีก 4 ประเทศคือ จีน เวียดนาม ลาว และ เกาหลีเหนือ ) และเป็นประเทศเดียวในทวีปอเมริกาที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์
  • 5. การเมือง ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ การแบ่งเขตการปกครอง 14 จังหวัด ( provinces) และ 1 เทศบาลพิเศษ * ( special municipality) ได้ประกอบขึ้นเป็นประเทศคิวบา เขตปกครองนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่จากเดิมมีเพียง 6 จังหวัด คือ ปีนาร์เดลรีโอ ( Pinar del Río) อาบานา ( Habana) มาตันซัส ( Matanzas) ลัสบียัส ( Las Villas) กามากูเอย์ ( Camagüey) และโอเรียนเต ( Oriente
  • 6. 1 อิสลาเดลาฮูเบนตุด * (Isla de la Juventud) 2 ปีนาร์เดลรีโอ (Pinar del Río) 9 เซียโกเดอาบีลา (Ciego de Ávila) 3 ลาอาบานา ( ฮาวานา) (La Habana) 10 กามากูเอย์ (Camagüey) 4 ซิวดัดเดลาอาบานา ( ฮาวานาซิตี) (Ciudad de la Habana) 11 ลัสตูนัส (Las Tunas) 5 มาตันซัส (Matanzas) 12 กรัมมา (Granma) 6 เซียมฟวยโกส (Cienfuegos) 13 ออลกิง (Holguín) 7 บียากลารา (Villa Clara Province) 14 ซันเตียโกเดกูบา (Santiago de Cuba Province) 8 ซังก์ตีสปีรีตุส (Sancti Spíritus Province) 15 กวันตานาโม (Guantánamo)
  • 7. ประชากร สาธารณรัฐคิวบา ( Republic of Cuba) มีประชากรประมาณ 11,382,820 คน เมืองหลวง ฮาวานา ( อังกฤษ : Havana) หรือ ลาอาบานา ( สเปน : La Habana ) เป็น เมืองหลวง เมืองท่าที่สำคัญ และเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจของ ประเทศคิวบา และยังเป็น 1 ใน 14 จังหวัดของคิวบา เมือง / จังหวัดนี้มีประชากรราว 2.4 ล้านคนและในเขตเมืองมากกว่า 3.7 ล้านคน ฮาวานาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในคิวบาและบริเวณทะเลแคริบเบียน [
  • 9. ภาษาสเปนมีต้นกำเนิดจาก ภาษาละติน ชาวบ้านที่พัฒนามาตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษที่ 3 ( เช่นเดียวกับภาษาอื่นในกลุ่มภาษาโรมานซ์ ) หลังจาก จักรวรรดิโรมัน ล่มสลายลง ดินแดนที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิต่างแยกไปอยู่ใต้การปกครองของชนกลุ่มต่าง ๆ กัน ภาษานี้จึงถูกตัดขาดออกจากภาษาถิ่นของภาษาละตินในดินแดนอื่น ๆ และมีวิวัฒนาการอย่างช้า ๆ จนเกิดเป็น ภาษาละตินใหม่ ต่างหากอีกภาษาหนึ่ง แต่เนื่องจากได้รับการเผยแพร่ทั้งใน ทวีปอเมริกาเหนือ และ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นเวลาที่ต่อเนื่องยาวนาน ภาษาสเปนจึงกลายเป็นภาษาละตินใหม่ที่ใช้กันแพร่หลายมากที่สุดในปัจจุบัน
  • 10. ที่ตั้ง กลางทะเลแคริบเบียน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดใน West Indies ตั้งอยู่ทาง ทิศใต้ของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา บริเวณทางตอนเหนืออยู่ใกล้กับอ่าวเม็กซิโก และทางด้านตะวันออกอยู่ใกล้กับไฮติ และสาธารณรัฐโดมินิกัน ทางตอนใต้ของประเทศมีภูเขาสำคัญคือ Sierra Maestra
  • 11. ภูมิอากาศ ร้อนชื้น (tropical) ฤดูแล้งระหว่างเดือน พ . ย . - เม . ย . ฤดูฝนระหว่างเดือน พ . ค . - ต . ค . พื้นที่ 110,860 ตารางกิโลเมตร ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เชื้อชาติ Mulatto ( ผิวขาวผสมนิโกร ) ร้อยละ 51 ผิวขาวร้อยละ 37 ผิวดำร้อยละ 11 ชาวจีนร้อยละ 1 อัตราผู้รู้หนังสือ ร้อยละ 99
  • 12. อาชีพ การกษตรกร 20% อุตสาหกรรม 19.4% ภาคบริการ 60.6% (2548) หน่วยเงินตรา คิวบาเปโซ ( 1 คิวบาเปโซ * = 1.11 ดอลลาร์สหรัฐ ) สหรัฐฯ ) หมายเหตุ - อัตราทางการ * ( ปี 2549) (24 คิวบาเปโซ * = 1 ดอลลาร์สหรัฐ ) หมายเหตุ - อัตราภายใน * ( ปี 2549) เวลาแตกต่างจากไทย -5 GMT ( ช้ากว่าไทย 12 ชั่วโมง ) วันชาติ 1 มกราคม / Anniversary of the Revolution ( ค . ศ . 1959) สมาชิกองค์การระหว่างประเทศ FEALAC, ECLAC, FAO, UN, UNESCO, NAM, G77, WTO, ILO, UNCTAD, IAEA, OAS ( ยังไม่ขาดจากการเป็นสมาชิก แต่ไม่ได้มีส่วนร่วมมาตั้งแต่ปีค . ศ . 1962)
  • 13. ประมุขของประเทศและหัวหน้าฝ่ายบริหาร ผลเอก Raul Castro Ruz รักษาการประธานาธิบดีแทนนาย Fidel Castro Ruz ซึ่งมีปัญหาสุขภาพ ( ตั้งแต่ 31 กรกฏาคม 2549) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ Mr.Felipe Perez Roque สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นระบบสภาเดียว ( National Assembly of People’s Power หรือ Assemblea Nacional del Poder Popular) สภาแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 601 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และมีวาระ 5 ปี
  • 14. พรรคการเมือง พรรคเดียว คือ พรรคคอมมิวนิสต์ (Partido Comunista de Cuba : PCC) ซึ่งเลขาธิการพรรคคนที่ 1 (First Secretary) ได้แก่ Fidel Castro Ruz
  • 15. เศรษฐกิจการค้า อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 4.7 ( ปี 2549) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) USD 67.6 พันล้าน ( 2549) โครงสร้าง GDP (2543) ภาคบริการ ร้อยละ 57.9 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 27.2 ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 7.6
  • 16. รายได้ประชาชาติต่อหัว 3,584 ดอลลาร์สหรัฐ ( 2549) อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 6.1 (2549) อัตราการว่างงาน (2549) ร้อยละ 1.9 หนี้สินต่างประเทศ 14.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ ทรัพยากรธรรมชาติ เหล็ก ทองแดง นิเกิล แมงกานีส เกลือ ไม้ อุตสาหกรรม น้ำตาล อาหารแปรรูป เหล็ก ปูน เคมีภัณฑ์ เกษตรกรรม อ้อย ยาสูบ ผลไม้ประเภทส้ม ( Citrus) กาแฟ ผัก ถั่ว เนื้อ สินค้านำเข้า อาหาร เชื้อเพลิง เคมีภัณฑ์ เครื่องจักร
  • 17. สินค้าออก น้ำตาล นิเกิล ยาสูบ อาหารทะเล เหล้ารัม ประเทศส่งคู่ค้าที่สำคัญ เนเธอร์แลนด์ เวเนซูเอลา แคนาดา จีน สเปน สหรัฐฯ และประเทศต่างๆ ในภูมิภาคลาตินอเมริกา นโยบายเศรษฐกิจหลัก สังคมนิยม แต่เริ่มผ่อนคลายความเข้มงวดในบางภาคธุรกิจ อาทิ การท่องเที่ยว โรงแรม เพื่อดึงดูดเงินตราต่างประเทศ คิวบาได้เปิดประเทศและปรับโครงสร้างทางการเมืองและเศรษฐกิจ มีนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐคิวบา การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต ไทยและคิวบาสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2501 โดยในปัจจุบันรัฐบาลไทยแต่งตั้งให้เอกอัครราชทูต ณ กรุงเม็กซิโกเป็นเอกอัครราชทูตประจำคิวบา อีกตำแหน่งหนึ่ง และในปี 2546 ได้เปิดสถานกงสุลกิตติศักดิ์ไทยประจำสาธารณรัฐคิวบาขึ้นโดยมีนาย Jorge Manuel Vera Gonzalez ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์ ส่วนรัฐบาลคิวบาได้เปิดสถานเอกอัครราชทูตคิวบาประจำประเทศไทย โดยเริ่มเปิดทำการตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2547
  • 19. การค้าไทย - คิวบา สินค้าที่ไทยส่งออก 1) ตู้เย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ 2) เครื่องซักผ้าและเครื่องซักแห้งและส่วนประกอบ 3) ผลิตภัณฑ์ยาง 4) เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ 5) เครื่องคอมเพรสเซอร์ของเครื่องทำความเย็น 6) อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป 7) เครื่องโทรสาร โทรพิมพ์ โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 8) หม้อแบตเตอรีและส่วนประกอบ 9) ก็อก วาล์ว และส่วนประกอบ 10) ผลไม้กระป๋องและแปรรูป สินค้าที่ไทยนำเข้า 1) ผลิตภัณฑ์ยาสูบ 2) ผักผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผักผลไม้ 3) เครื่องดื่มประเภทน้ำแร่ น้ำอัดลมและสุรา
  • 20. ยาและการแพทย์ คุณควรเตรียมยาที่จำเป็น และทำประกันก่อนเดินทางมาประเทศคิวบา แต่ประเทศคิวบาก็มีมาตรฐานทางการแพทย์ ที่ดี และมีคลินิคสำหรับชาวต่างชาติในเมืองใหญ่ต่าง ๆ พร้อมแพทย์ที่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ ค่ารักษาก็ไม่ได้ สูงมากจนเกินไป และขอแนะนำให้คุณใช้บริการของโรงพยาบาลเอกชน มากกว่าโรงพยาบาลของรัฐบาล
  • 21. วัฒนธรรมอาหาร อาหารการกินของชาวคิวบาเป็นการผสมผสานวัฒนธรรมอาหารของชาวสเปน และแคริบเบี้ยนโดยจะใช้เทคนิคประ กอบอาหารแบบชาวสเปน แต่ปรุงรสชาติอย่างแคริบเบี้ยน และผสมผสานเครื่องเทศเข้าด้วยกัน ซึ่งเป็นกฎที่คุณจะ ต้องทานอาหารเหลือ และอาหารจะไม่เสริฟต่อเนื่องเป็นคอร์ส แต่จะเสริฟพร้อมกันทีเดียวอาหารท้องถิ่นจะประกอบ ด้วยต้น plantains, ถั่วดำ , ข้าว , ผลไม้ต่าง ๆ , เนื้อหมูทานคู่กับหัวหอม , ขนมปังแบบคิวบา อื่น ๆ อีกมากมาย
  • 22. เทศกาลต่าง ๆ มีเทศกาลมากมายที่เมืองฮาวาน่า เช่น Las Terrazas, Canimar River, Varadero, Vinales, Playas del Este และ Trinidad, พิพิธภัณฑ์เหล้ารัม , Casa de la Amistad, พิพิธภัณฑ์ ประจำเมือง , Cienfuegos
  • 23.  
  • 24.