SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
จังหวัด
หนองคาย
คาขวัญ
ประจาจังหวัดหนองคาย
วีรกรรมปราบฮ่อ หลวงพ่อพระใส สะพานไทย-ลาว
ตราประจาจังหวัด
ตราผ้าพันคอ
จังหวัดหนองคาย
ต้นไม้ประจาจังหวัดหนองคาย
ชื่อพรรณไม้ : ชิงชัน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dalbergia oliveri
แผนที่ หนองคาย
เพลงมาร์ชหนองคาย
คาร้อง - ครูเอิ้อ
อันจังหวัดหนองคาย
จังหวัดหนองคาย อยู่ชายแดน
ตามภูมิแผน ที่ตั้ง ริมฝั่งโขง
ภาคอีสาน เมืองอร่าม เรืองอร่าม งามจรรโลง
เกียรติดังโด่ง เป็นเมืองด่าน บานประตู
ชาวหนองคาย
พี่น้องผองไทยกาจ
ล้วนสามารถ แสดงประจักษ์เป็นนักสู้
เคยชิงชัย ห้าวหาญ ต้านศัตรู
มิให้จู่โจมบุกรุกแดนไทย
อันพี่น้อง หนองคายชายก็ชาญ
หญิงสะคราญ หมดจดสวยสดใส
ทุกคนเอื้อ อารีมีน้าใจ
ถึงอยู่ไกลไมตรีสนิท เป็นมิตรเอย
ประวัติความเป็นมา
ที่ตั้งของจังหวัดหนองคาย คือบริเวณลุ่มแม่น้าโขง
ตอนกลางซึ่งเรียกรวมกับที่ตั้งของนครเวียงจันทน์ เลย
หนองบัวลาภู อุดรธานี มีความสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ ทั้ง
ด้านทรัพยากรทางน้าและทางบก
มีเขตที่ราบกว้างใหญ่สามารถทาการเพาะปลูกได้ดี มีต้นน้าลาธาร
หลายสายและไหลลงเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้าโขงเช่น แม่น้าเหือง แม่
โมง น้าสวย ห้วยหลวง เป็นต้น
การสารวจตามโครงการสารวจแหล่งถลุงแร่ทองแดง
ดีบุกสมัยโบราณ บริเวณลุ่มแม่น้าโขงตอนกลาง
(เขตจังหวัดหนองคาย เลย หนองบัวลาภู อุดรธานี) ครั้ง
ล่าสุดพบว่ามีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะพื้นที่แถบ
หนองคาย รวมทั้งจังหวัดเลย เป็นพื้นที่ที่อุดมไปด้วย
แหล่งทรัพยากรที่สาคัญ และมีเส้นทางคมนาคมอันเป็นเส้น
เลือดใหญ่หล่อเลี้ยงชุมชนแห่งนี้ คือแม่น้าโขง
ซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมสาคัญของโลกแห่งหนึ่ง
ประวัติหนองคาย
หนองคาย-เวียงจันทน์ พัฒนาจากแอ่งสกลนคร แล้ว
เจริญเติบโตกลืนทั้งสองฝั่งโขง แต่อย่างไรก็ดี สาหรับพื้นที่
ราบลุ่มแม่น้าโขงบริเวณหนองคาย-เวียงจันทน์นั้น น่าจะ
สารวจวิจัยได้อีกต่างหากห่าง จากแอ่งสกลนคร และน่าจะ
เรียกได้ว่าเป็น “แอ่งอารยธรรมที่ 3” โดยมีเหตุผล
และหลักฐานที่สนับสนุนกันดังต่อไปนี้
๑. การตั้งถิ่นฐาน
มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มาตั้งแต่ยุค
ก่อนประวัติศาสตร์ ก่อนจะมีพัฒนาการทางชุมชนที่เกี่ยวข้องกับ
การเมือง การปกครอง ของราชอาณาจักรในแต่ละยุคแต่ละสมัย
ในขณะเดียวกันประวัติความเป็นมารวมทั้งพัฒนาการการตั้งถิ่น
ฐานของคนในจังหวัดหนองคาย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันสามารถ
โยงใยไปถึงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ด้านอื่น ๆ อีกหลายด้าน
แหล่งโบราณคดี
แหล่งโบราณคดีมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์จนต่อเนื่องมาถึงยุคตอนต้นทั้งยังมีการ
ติดต่อเชื่อมโยงทางสังคมกับดินแดนอื่นด้วย
๒. การตั้งถิ่นฐานในสมัยตอนต้นประวัติศาสตร์
เมื่อชุมชนแถบลุ่มแม่น้าโขงได้มีพัฒนาการทั้งทาง
สังคม การเมือง กปกครอง มาจนถึงยุคประวัติศาสตร์ ก็
ปรากฎว่ามีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของคนในหนองคาย
หนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่ง มีลายลักษณ์อักษร
เมืองหนองคายสมัยปฏิรูปการปกครองหัว
เมืองอีสาน
เมืองหนองคาย กลายเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการข้าหลวงใหญ่สาเร็จ
ราชการหัวเมืองลาวฝ่ ายเหนือ เจ้าเมืองหนองคายเดิมจึงมีบทบาทลด
น้อยลง พ.ศ. ๒๔๓๔ พันเอกกรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม เสด็จ
กลับมาว่าราชการเป็นข้าหลวงต่างพระองศ์ที่เมืองหนองคาย
การเปลี่ยนแปลง
ต่อมาอาเภอเมืองหนองคาย ได้รับการยกฐานะเป็น
จังหวัดหนองคาย ในปี พ.ศ. ๒๔๕๘ มีอาเภออยู่ในการ
ปกครอง ๖ อาเภอ คือ อ.สังคม อ.บ้านผือ อ.ท่าบ่อ อ.โพน
พิสัย อ.พานพร้าว และอ.น้าโมง และมีการปรับยุบเมืองที่เคย
เป็นอาเภอลดฐานะลงเป็นตาบลแทน เช่น อาเภอมีชัย เมือง
หนองคาย เป็น "ตาบลมีชัย" อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
เป็นต้น
สะพานไทยลาว
แหล่งท่องเที่ยวหลัก
วัดศรีชมภูองค์ตื้อ
วัดอรัญบรรพต
วัดโพธิ์ศรี
ปรากฏการณ์
บั้งไฟพญานาค
ร้านอาหารบริเวณใกล้เคียงสาหรับเวลา
ไปชมบั้งไฟพญานาค
ชายโขง
ช่อคูณ
เมนูแนะนา ปลาทับทิมทอดสมุนไพร,น้าพริกลงเรือ,
อาหารจากปลาแม่น้าโขง,สลัด
แดนแหนมเนือง
เมนูแนะนา แหนมเนือง,เปาะเปี๊ยะทอด,กระยอทอด,กระยอ
สด,แหนมซี่โครงหมูทอด,หมูยอ,กุนเชียง,ขนมจีนทรงเครื่อง
ภาพปรากฎการณ์บั้งไฟ
พญานาค
จานวนประชากรที่มาเยี่ยมชม
บั้งไฟพญานาค
ประชาชนกว่า 20,000 คน เดินทางเข้า
มาร่วมสังเกตุปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคที อ.โพน
พิสัย จ.หนองคาย ซึ่งจากคาบอกเล่า อธิบายว่าสถานที่
แห่งนี้และใกล้เคียง โดยเฉพาะตามวัดของชุมชน ใน
2 อาเภอ คือ โพนพิสัย และ รัตนวาปี จ.หนองคาย
ภาพประชากรมารอดู
ปรากฎการณ์บั้งไฟ
พญานาค
การไหลเรือไฟของ
จังหวัดหนองคาย
หลวงพ่อพระไส
พระธาตุบังพวน
ข้อมูลทั่วไป
หนองคาย เมืองชายแดนริมฝั่งแม่น้าโขง เป็นประตูสู่
เมืองเวียงจันทน์ เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว (สปป. ลาว) โดยมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว
เชื่อมระหว่างสองประเทศจังหวัดหนองคายอยู่ห่างจาก
กรุงเทพฯ 615 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 7,332
ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ติดแม่น้าโขงมากที่สุดเป็น
ระยะทาง 320 กิโลเมตร เหมาะแก่การทาเกษตรกรรมและ
ประมงน้าจืด
ภูมิอากาศ
เนื่องจากจังหวัดหนองคาย มีภูมิประเทศ ติดกับ
แม่น้าโขง ทาให้มีฝนตกชุกในฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม
ถึง ตุลาคม ในฤดูหนาว ราวเดือนพฤศจิกายน ถึงกุมภาพันธ์
จะมีอากาศหนาวเย็น เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นที่สูง
อุณหภูมิต่าสุดประมาณ 11 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อน
ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงเมษายน อากาศจะร้อนจัด อุณหภูมิ
สูงสุดประมาณ 35 องศาเซลเซียส
หนองคาย เมืองน่าอยู่อันดับ 7 ของโลก
นิตยสาร Modern Maturity ของ
สหรัฐอเมริกา จัดให้หนองคายเป็นเมืองน่าอยู่ลาดับที่ 7 ของ
โลก สาหรับคนวัยเกษียณชาวอเมริกัน จากการสารวจ 40
เมืองทั่วโลก โดยอาศัยตัวชี้วัด 12 ตัว คือ ภูมิอากาศ ค่าครอง
ชีพ วัฒนธรรม ที่อยู่อาศัย สาธารณูปโภค การคมนาคม บริการ
ทางการแพทย์ สภาพแวดล้อม กิจกรรมนันทนาการ ความ
ปลอดภัย ความมั่นคงทางการเมือง และการเข้าถึงเทคโนโลยี
ประวัติเมืองหนองคาย
ประวัติศาสตร์ของเมืองหนองคายเริ่มต้นเมื่อ
กว่า 200 ปีเศษ พื้นที่บริเวณริมฝั่งโขงนี้เดิมเคย
เป็นที่ตั้งของเมืองเล็ก ๆ 4 เมือง คือ เมืองพราน
พร้าว เมืองเวียงคุก เมืองปะโค เมืองไผ่ (บ้านบึง
ค่าย) ปัจจุบันยังพบซากโบราณสถานอยู่ตามวัดต่าง
ๆ ริมแม่น้าโขงบนเส้นทางท่าบ่อ-ศรีเชียงใหม่
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดกับแม่น้าโขงอันเป็นเส้น
กั้นพรมแดนระหว่าง ประเทศไทยกับสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศใต้ ติดกับจังหวัด
อุดรธานี, สกลนคร ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัด
นครพนม ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดเลย
การเดินทางจากอาเภอเมืองหนองคาย
ไปยังอาเภอต่าง ๆ
อาเภอ -กิโลเมตร
อาเภอสระใคร 26 กิโลเมตร
อาเภอท่าบ่อ 42 กิโลเมตร
อาเภอบุ่งคล้า 181 กิโลเมตร
อาเภอโพนพิสัย 45 กิโลเมตร
อาเภอศรีเชียงใหม่ 57 กิโลเมตร
อาเภอโพธิ์ตาก 77 กิโลเมตร
อาเภอปากคาด 90 กิโลเมตร
อาเภอสังคม 95 กิโลเมตร
อาเภอโซ่พิสัย 90 กิโลเมตร
อาเภอบึงกาฬ 136 กิโลเมตร
อาเภอศรีวิไล 163 กิโลเมตร
อาเภอพรเจริญ 182 กิโลเมตร
อาเภอเซกา 228 กิโลเมตร
อาเภอบึงโขงหลง 238 กิโลเมตร
อาเภอรัตนวาปี 71 กิโลเมตร
อาเภอเฝ้ าไร่ 71 กิโลเมตร
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ะ
บรรณานุกรม
1.เว็บไซต์จังหวัดหนองคาย สืบค้น วันอังคาร ที่ 9 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2553
จัดทาโดย
นางสาวอัญชลี ศิริวรรณ
ม.5/3 เลขที่ 41

More Related Content

Viewers also liked

Learning Outcomes and Public Information (2008)
Learning Outcomes and Public Information (2008)Learning Outcomes and Public Information (2008)
Learning Outcomes and Public Information (2008)JamesDunphy
 
Online placement cell
Online placement cellOnline placement cell
Online placement cellzairamaqbool
 
Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?
Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?
Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?TVbusinessconference
 
Kateryna Kotenko - Legislative priorities for television
Kateryna Kotenko - Legislative priorities for televisionKateryna Kotenko - Legislative priorities for television
Kateryna Kotenko - Legislative priorities for televisionTVbusinessconference
 
Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)
Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)
Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)JamesDunphy
 
Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)
Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)
Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)JamesDunphy
 
From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)
From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)
From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)JamesDunphy
 
Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...
Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...
Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...TVbusinessconference
 

Viewers also liked (11)

Learning Outcomes and Public Information (2008)
Learning Outcomes and Public Information (2008)Learning Outcomes and Public Information (2008)
Learning Outcomes and Public Information (2008)
 
เชียงราย
เชียงรายเชียงราย
เชียงราย
 
ตรุกี
ตรุกีตรุกี
ตรุกี
 
Online placement cell
Online placement cellOnline placement cell
Online placement cell
 
Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?
Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?
Igor Faletski - Mobile internet: companion or rival of television?
 
Kateryna Kotenko - Legislative priorities for television
Kateryna Kotenko - Legislative priorities for televisionKateryna Kotenko - Legislative priorities for television
Kateryna Kotenko - Legislative priorities for television
 
Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)
Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)
Flexible Delivery - what does it mean for students? (2006)
 
Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)
Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)
Improving Student Participation and Engagement in Quality Processes (2007)
 
From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)
From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)
From Quality Assurance to Quality Enhancement (2006)
 
Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...
Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...
Yaroslav Gorodetsky - Internet television: new possibilities for business act...
 
จ.นครพนม
จ.นครพนมจ.นครพนม
จ.นครพนม
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ส่งงานจังหวัดหนองคาย