SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
จังหวัดนครราชสีมา
ตราประจำจังหวัด
ตราผ้าผูกคอลูกเสือ
เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี  หมี่โคราช  ปราสาทหิน  ดินด่านเกวียน   คำขวัญ
ข้อมูลทั่วไป   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แผนที่แสดงที่ตั้งของจังหวัดนครราชสีมา
จังหวัดนครราชสีมา  หรือรู้จักในชื่อ  โคราช  เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรเป็นอันดับ  2  ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดกับจังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว
ภูมิศาสตร์ ตัวเมืองตั้งอยู่บนที่ราบสูงโคราช โดยมีลำตะคองและลำน้ำสาขาอื่น ๆ ไหลหล่อเลี้ยงบริเวณด้านเหนือของเมือง และ เป็นสาขาหนึ่งของแม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำมูลซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวเมืองประกอบด้วยประตูเมืองนครราชสีมาทั้ง  4  ทิศ คือ ประตูชุมพล  ( ทิศตะวันตก )  ประตูพลแสน  ( ทิศเหนือ อีกชื่อคือประตูน้ำ )  ประตูพลล้าน  ( ทิศตะวันออก )  และประตูไชยณรงค์  ( ทิศใต้ อีกชื่อคือประตูผี )  ภายในตัวเมืองมีสระน้ำ  4  สระ คือ สระแก้ว สระแมว สระขวัญ และสระบัว บริเวณรอบเมืองเป็นที่ราบ ทุ่งนา สวนผัก - ผลไม้ และ ที่เกษตรกรรม ปัจจุบันจากการขยายตัวของเมืองทำให้ค่อยๆเปลี่ยนสภาพเป็นแหล่งการค้า อุตสาหกรรม และ ที่อยู่อาศัย ในบริเวณด้านใต้ของเมืองเป็นเขตทหาร คือ ค่ายสุรนารี ของกองทัพบก และ กองบิน  1  ของกองทัพอากาศ โดยตำแหน่งที่ตั้งทำให้เมืองเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางบกทั้งทางถนนและทางราง ของภาคอีสาน โดยมีทางหลวงสายหลัก คือ ถนนมิตรภาพผ่าน และ เป็นชุมทางรถไฟของเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือทั้งสองสายคือ สายนครราชสีมา - อุบลราชธานีและ สายนครราชสีมา - ท่านาแล้ง ( ประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาว )
ประวัติศาสตร์ เมืองโคราชสีมาในแผนที่ของ ลา ลูแบร์ พ . ศ . 2236 รถไฟสายกรุงเทพฯ - นครราชสีมาขบวนแรก
ถนนจอมสุรางค์ยาตร พ . ศ .  2454 ถนนจอมสุรางค์ยาตร พ . ศ . 2550
ประตูเมืองโคราชด้านเหนือ ในปี พ . ศ . 2436 ประตูชุมพล ก่อนการบูรณะ
เพลง “นครราชสีมา” เนื้อร้อง  :  พลตรี หลวงวิจิตร วาทการ  บรรเลงโดย  :  วงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร ( สร้อย )   ราชสีมาเหมือนดังศิลาที่ก่อกำแพง สยามจะเรืองกระเดื่องเขตแดน ด้วยมีกำแพงคือราชสีมา   ( ชาย )   ชาวนครราชสีมาแต่โบราณ เหี้ยมฮึกกล้าหาญยิ่งหนักหนา ศึกเสือ เหนือใต้ที่ไหนมา เลือดนครราชสีมาไม่แพ้ใคร  ( สร้อย )   ( หญิง )   แต่ก่อนกาลท่านวีรสตรี ท้าวสุรนารีผู้เป็นใหญ่ กล้าหาญยอดยิ่งผู้หญิงไทย มิ่งขวัญธงชัยของเมืองเรา  ( สร้อย )   ( ชาย )   มาพวกเราชาวนครราชสีมา หน้าเดินรีบมาสู้กับเขา หากศัตรูไม่เกรง ข่มเหงเรา สู้เขา สู้กันอย่าพรั่นใจ  ( สร้อย  2  ครั้ง )
ข้อมูลการปกครอง   การปกครองส่วนภูมิภาค   แบ่งปกครองแบ่งออกเป็น  32 อำเภอ  289 ตำบล  3743  หมู่บ้าน เนื้อที่รวม  20 , 493.968  ตารางกิโลเมตร อำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดนครราชสีมา   17. อำเภอชุมพวง 18. อำเภอสูงเนิน   19. อำเภอขามสะแกสอ 20. อำเภอสีคิ้ว   21. อำเภอปากช่อง 22. อำเภอหนองบุญมาก 23. อำเภอแก้งสนามนาง 24. อำเภอโนนแดง   25. อำเภอวังน้ำเขียว   26. อำเภอเทพารักษ์ 27. อำเภอเมืองยาง   28. อำเภอพระทองคำ   29. อำเภอลำทะเมนชัย   30. อำเภอบัวลาย   31. อำเภอสีดา   32. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หมายเลขตำแหน่งที่ตั้งของอำเภอตาม
รายนามผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา   พ . ศ .  2460 - 2465 10.  พ . ต . พระยาบรมราชบรรหาร  ( เย็น ภะระมรทัต ) พ . ศ .  2458 – 2460 9.  พระยาสุริยราชวราภัย  ( จร ) พ . ศ .  2456 – 2458 8.  พระยศสุนทร  ( ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ) พ . ศ .  2455 – 2456 7.  พระเทพราชธานี  ( โหมด ) รศ . 129 - 131 ( พ . ศ .  2453 - 2455) 6.  พระไชยนฤนาท  ( ทองดี ) รศ . 125 - 129 ( พ . ศ .  2449 - 2453) 5.  พระบรมราชบรรหาร  ( สวัสดิ์ วิเศษศิริ ) รศ . 124 - 125 ( พ . ศ .  2448 - 2449) 4.  พระยาวรชัยวุฒิกร  ( เลื่อง สนธิรัต ) รศ . 123 - 124 ( พ . ศ .  2447 - 2448) 3.  พระยาสุริยเดช  ( จาบ สุวรรณทัต ) รศ . 120 - 123 ( พ . ศ .  2444 - 2447) 2.  พระรังสรรค์สารกิจ  ( เลื่อน ศรีเพ็ญ ) รศ . 115 - 120 ( พ . ศ .  2439 - 2444) 1.  พระยากำแหงสงคราม  ( กาจ สิงห์เสนี ) วาระการดำรงตำแหน่ง รายนาม
12  ต . ค . 2497 – 22  พ . ค . 2500 25.  นายสุวรรณ รื่นยศ 21  มี . ค . 2495 – 11  ต . ค . 2497 24.  นายยุทธ จรัณยานนท์ 23  มี . ค . 2492 – 20  มี . ค . 2495 23.  ขุนวรคุตต์คณรักษ์  ( บุญฤทธิ์ วรนุตนานนท์  ) 6  ธ . ค . 2490 – 21  มี . ค . 2492 22.  ขุนบริบาลบรรพตเขตต์  ( สังเวียน บริบาลบรรพตเขตต์ ) 21  ต . ค . 2489 – 5  ธ . ค . 2490 21.  นายถนอม วิบูลมงคล 1  ส . ค . 2488 – 31  ก . ค . 2489 20.  นายอุดม บุญประคอง 22  ธ . ค . 2487 – 31  ธ . ค . 2488 19.  หลวงวิธสุรการ  ( ถวิล เจียนมานพ ) 1  ต . ค . 2486 – 21  ธ . ค . 2487 18.  ขุนทยานราญรอน  ( วัชระ วัชรบูล ) 19  ธ . ค . 2484 – 19  พ . ย . 2486 17.  พระสาครบุรานุรักษ์  ( ปริต สุวรรณานนท์ ) พ . ศ .  2484 – 2484 16.  นายสุรินทร์ ชิโนทัย พ . ศ .  2479 – 2484 15.  พ . อ . หลวงอาจศรศิลป  ( ประพันธ์ ธนพุทธิ ) 2  พ . ย . 2476 – 1  มี . ค . 2479 14.  พระยากำธรพายัพทิศ  (  ดิส อินทโสฬส ) พ . ศ .  2474 – 2476 13.  พระยานายกนรชร  ( เจริญ ปริยานนท์ ) พ . ศ .  2471 – 2474 12.  พระยาพิริยะพิชัย  ( เทียบ สุวรรณนิน ) พ . ศ .  2465 – 2471 11.  พระยานครราชเสนี  ( สหัส สิงหเสนี )
20  ต . ค . 2540 – 22  เม . ย . 2544 40.  นายโยธิน เมธชนัน 1  ต . ค . 2539 – 19  ต . ค . 2540 39.  นายประวิทย์ สีห์โสภณ 1  ต . ค . 2537 – 30  ก . ย . 2539 38.  นายสุพร สุภสร 1  ต . ค . 2533 – 30  ก . ย . 2537 37.  นายดำรง รัตนพานิช 1  ต . ค . 2531 – 30  ก . ย . 2533 36.  นายไสว พราหมณี 1  เม . ย . 2524 – 30  ก . ย . 2531 35.  นายสมบูรณ์ ไทยวัชรามาศ 1  ต . ค . 2520 – 31  มี . ค . 2524 34.  นายเลิศ หงษ์ภักดี 1  ม . ค . 2520 – 30  ก . ย . 2520 33.  นายจำรูญ ปิยัมปุตระ 6  ธ . ค . 2516 – 31  ธ . ค . 2519 32.  นายวิชิต ศุขะวิริยะ 1  ต . ค . 2516 – 5  ธ . ค . 2516 31.  นายประมูล ศรัทธาทิพย์ 13  เม . ย . 2513 – 30  ก . ย . 2516 30.  ร . ต . ท . ระดม มหาศรานนท์ 2  ต . ค . 2511 – 15  เม . ย . 2513 29.  นายสมชาย กลิ่นแก้ว 4  มี . ค . 2507 – 2  ต . ค . 2511 28.  นายสวัสดิ์วงศ์ ปฏิทัศน์ 6  มี . ค . 2501 – 4  มี . ค . 2507 27.  นายเจริญ ภมรบุตร 23  พ . ค . 2500 – 6  มี . ค . 2501 26.  พ . ต . อ . เลื่อน กฤษณามระ
1  ต . ค . 2553 -  ปัจจุบัน 46.  นายระพี ผ่องบุพกิจ 1  ต . ค . 2551 - 30  ก . ย . 2553 45.  นายประจักษ์ สุวรรณภักดี 1  ต . ค . 2550 - 30  ก . ย . 2551 44.  นายสุธี มากบุญ 1  ต . ค . 2548 – 30  ก . ย . 2550 43.  นายสมบูรณ์ งามลักษณ์ 1  ต . ค . 2547 – 30  ก . ย . 2548 42.  นายพงศ์โพยม วาศภูติ 23  เม . ย . 2544 – 30  ก . ย . 2547 41.  นายสุนทร ริ้วเหลือง
การปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น  1  เทศบาลนคร  3  เทศบาลเมือง  71  เทศบาลตำบลและ  263  องค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีรายชื่อเทศบาลดังนี้ - อำเภอปักธงชัย เทศบาลตำบลเมืองปัก   เทศบาลตำบลปักธงชัย เทศบาลตำบลตะขบ เทศบาลตำบลนกออก   เทศบาลตำบลบ่อปลาทอง เทศบาลตำบลลำนางแก้ว - อำเภอเมืองนครราชสีมา เทศบาลนครนครราชสีมา   เทศบาลตำบลโคกกรวด   เทศบาลตำบลโคกสูง   เทศบาลตำบลจอหอ   เทศบาลตำบลปรุใหญ่   เทศบาลตำบลโพธิ์กลาง   เทศบาลตำบลหนองไข่น้ำ เทศบาลตำบลหนองไผ่ล้อม เทศบาลตำบลหัวทะเล - อำเภอปากช่อง เทศบาลเมืองปากช่อง   เทศบาลตำบลกลางดง   เทศบาลตำบลหมูสี   เทศบาลตำบลวังไทร   เทศบาลตำบลสีมามงคล - อำเภอสีคิ้ว เทศบาลเมืองสีคิ้ว   เทศบาลตำบลคลองไผ่   เทศบาลตำบลลาดบัวขาว เทศบาลตำบลหนองน้ำใส   - อำเภอบัวใหญ่ เทศบาลเมืองบัวใหญ่
- อำเภอครบุรี เทศบาลตำบลครบุรีใต้   เทศบาลตำบลจระเข้หิน   เทศบาลตำบลแชะ เทศบาลตำบลไทรโยง - ไชยวาล   เทศบาลตำบลอรพิมพ์ - อำเภอพิมาย เทศบาลตำบลพิมาย   เทศบาลตำบลรังกาใหญ่   - อำเภอโนนสูง เทศบาลตำบลโนนสูง   เทศบาลตำบลดอนหวาย   เทศบาลตำบลตลาดแค   เทศบาลตำบลด่านคล้า   เทศบาลตำบลมะค่า   เทศบาลตำบลใหม่   - อำเภอโชคชัย เทศบาลตำบลโชคชัย   เทศบาลตำบลด่านเกวียน   เทศบาลตำบลท่าเยี่ยม   - อำเภอด่านขุนทด เทศบาลตำบลด่านขุนทด   เทศบาลตำบลหนองกราด   เทศบาลตำบลหนองบัวตะเกียด เทศบาลตำบลหนองบัวละคร   - อำเภอสูงเนิน เทศบาลตำบลกุดจิก   เทศบาลตำบลสูงเนิน   - อำเภอขามทะเลสอ เทศบาลตำบลขามทะเลสอ   - อำเภอขามสะแกแสง เทศบาลตำบลขามสะแกแสง เทศบาลตำบลหนองหัวฟาน   เทศบาลตำบลโนนเมือง
- อำเภอประทาย เทศบาลตำบลประทาย   - อำเภอคง เทศบาลตำบลเมืองคง   เทศบาลตำบลเทพาลัย   - อำเภอโนนไทย เทศบาลตำบลโนนไทย   เทศบาลตำบลโคกสวาย   เทศบาลตำบลบัลลังก์   - อำเภอห้วยแถลง เทศบาลตำบลห้วยแถลง   เทศบาลตำบลหินดาด   - อำเภอเสิงสาง เทศบาลตำบลเสิงสาง   เทศบาลตำบลโนนสมบูรณ์   - อำเภอบ้านเหลื่อม เทศบาลตำบลบ้านเหลื่อม   - อำเภอจักราช เทศบาลตำบลจักราช - อำเภอเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลตำบลท่าช้าง   - อำเภอชุมพวง เทศบาลตำบลชุมพวง   - อำเภอโนนแดง เทศบาลตำบลโนนแดง   - อำเภอบัวลาย เทศบาลตำบลหนองบัวลาย
- อำเภอแก้งสนามนาง เทศบาลตำบลบึงสำโรง   - อำเภอพระทองคำ เทศบาลตำบลพระทองคำ - อำเภอเมืองยาง เทศบาลตำบลเมืองยาง - อำเภอลำทะเมนชัย เทศบาลตำบลหนองบัววง เทศบาลตำบลขุย   - อำเภอวังน้ำเขียว เทศบาลตำบลศาลเจ้าพ่อ - อำเภอสีดา เทศบาลตำบลสีดา - อำเภอหนองบุญมาก เทศบาลตำบลหนองหัวแรต   เทศบาลตำบลแหลมทอง
เศรษฐกิจ นักลงทุนทั้งในประเทศไทยและต่างชาติต่างให้ความสำคัญกับจังหวัดนี้มาก จึงได้ตั้งฉายาให้กับจังหวัดนี้ว่าเป็น  " มหานครแห่งอีสาน "  เป็นเสมือนเมืองหลวงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะเป็นศูนย์กลางทางด้านต่าง ๆ ของภูมิภาค ได้แก่ การปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข การคมนาคมขนส่ง การอุตสาหกรรม การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การลงทุน การสื่อสารโทรคมนาคม ฯลฯ มีคำขวัญของเมืองโคราชว่า “  มหานครแห่งอีสาน เมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ประตูเชื่อมโยงพันธมิตร สร้างเศรษฐกิจสู่สากล”
กลุ่มประชากร ปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมามีประชากรมากเป็นอันดับหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติหรือหลายชาติพันธุ์ แต่กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครราชสีมาที่มีจำนวนมากมีอยู่สองกลุ่มใหญ่คือ  ไทย  ( หรือเรียกอีกอย่างว่า ไทยโคราช )   และอีกกลุ่มคือ  ลาว  ( หรือไทยอีสาน )   และมีชนกลุ่มน้อยอีกได้แก่  มอญ   กุย  ( หรือส่วย )   ชาวบน   จีน   ไทยวน ญวน และแขก
ไทย กลุ่มชาติพันธุ์ไทยที่อยู่ในนครราชสีมาเรียกอีกอย่างว่า  ไทยโคราช  เป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมา คนกลุ่มนี้ใช้ภาษาเหมือนไทยในส่วนกลาง เพียงแต่เสียงวรรณยุกต์เพี้ยนไปบ้าง และมีคำศัพท์สำนวนบางอย่างที่มีลักษณะเป็นของตนเอง เดิมถิ่นนี้ชาวพื้นเมืองเป็นละว้า ชาวไทยได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัย สมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองให้ขุนหลวงพะงั่วยกกองทัพมารวบรวมดินแดนแถบนี้เข้ากับกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองโปรดฯ ให้กองทหารอยุธยาตั้งด่านอยู่ประจำ และส่งช่างชาวอยุธยามาก่อสร้างบ้านเรือนและวัดวาอารามเป็นอันมาก ชาวไทยอยุธยาได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และได้อพยพมาอยู่นครราชสีมาอีกระลอกหนึ่งคือ คราวเสียกรุงครั้งที่  2  โดยมีชาวไทยชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกได้อพยพเข้ามาเพิ่มด้วย ชาวไทยกลุ่มนี้และชาวไทยพื้นเมืองเดิม  ( เข้าใจว่าเป็นชาวสยามลุ่มน้ำมูล  ( ไท - เสียม )  อาจมีเขมรและมอญปนอยู่ด้วย )  สืบเชื้อสายเป็นชาวไทยโคราชและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีสืบทอดกันมา
ลาว ลาว  ( ลาวเวียง ไทยลาว หรือไทยอีสาน )   เป็นกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนประชากรมากรองจากกลุ่มไทยโคราช แต่อพยพเข้ามาทีหลัง อาศัยอยู่มากในบางอำเภอของจังหวัดนครราชสีมา เช่น อำเภอบัวใหญ่ ปักธงชัย สูงเนิน และบางส่วนของอำเภอประทาย ห้วยแถลง ชุมพวง และสีคิ้ว เป็นต้น ไทยอีสานพูดภาษาอีสานและมีขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนชาวอีสานทั่วไป กลุ่มไทยอีสานอพยพเข้ามาอยู่ในจังหวัดนครราชสีมาหลายรุ่น ส่วนใหญ่อพยพเข้ามาอยู่สมัยสงครามปราบปรามเมืองเวียงจันทน์ สมัยธนบุรี มีการกวาดต้อนครอบครัวลาวเข้ามาอยู่ในหัวเมืองชั้นใน และอพยพเข้ามาโดยสมัครใจเพิ่มขึ้นในระยะหลัง
มอญ จากการสำรวจสำมะโนประชากรของจังหวัดนครราชสีมา เมื่อปี พ . ศ . 2446  ในสมัยรัชกาลที่  5  พบว่า มีชาวมอญอยู่จำนวน  2 , 249  คน จากจำนวนประชากรของนครราชสีมา  402 , 668  คน ชาวมอญอพยพเข้ามาอยู่บริเวณเมืองนครราชสีมา ตั้งแต่ปี พ . ศ . 2318  ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชทานครัวมอญที่อพยพเข้ามาสวามิภักดิ์ มีพระมหาโยธา  ( เจ่ง )  เป็นหัวหน้า แบ่งให้พระยานครราชสีมานำขึ้นมาอยู่ที่เมืองนครราชสีมา ตั้งครัวมอญที่ลำพระเพลิง เขตอำเภอปักธงชัยที่บ้านพลับพลา อำเภอโชคชัย พระยาศรีราชรามัญผู้เป็นหัวหน้าพาญาติพี่น้องมาอยู่ในเมืองเป็นสายกองส่วยทอง ตั้งบ้านเรือนเรียกว่าบ้านมอญ เมื่อเกิดกบฎเจ้าอนุวงศ์ เมื่อปี พ . ศ . 2336  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยามหาโยธา  ( ทอเรีย )  คุมกองมอญมาสมทบมาร่วมรบกับกำลังฝ่ายไทย เมื่อเสร็จศึกแล้วพวกมอญเห็นเมืองปักธงชัยอุดมสมบูรณ์จึงมาตั้งถิ่นฐาน ปัจจุบันชาวมอญในนครราชสีมายังรักษาวัฒนธรรมประเพณีมอญไว้ เช่น ภาษา การไหว้ผี การเล่นสะบ้าในเขตบ้านท่าโพธิ บ้านสำราญเพลิง ตำบลนกออก อำเภอปักธงชัย ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ทำเครื่องปั้นดินเผา ภาษามอญจะใช้พูดในชาวไทยมอญที่อายุเกิน  60  ปีขึ้นไป คนรุ่นหลังจากนี้จะพูดภาษาไทยโคราชทั้งสิ้น
ส่วย ส่วย  หรือ  ข่า  เป็นชนพื้นเมืองของหัวเมืองเขมรป่าดงและเมืองนครราชสีมา พูดภาษาตระกูลมอญ - เขมร ได้อยู่ในพื้นที่นี้ก่อนที่คนไทยจะเข้ามามีอิทธิพลเหนือดินแดนบริเวณลุ่มแม่น้ำมูลตอนบน เมื่อปี พ . ศ . 2362  เจ้าเมืองนครราชสีมา  ( ทองอินทร์ )  ตีข่าได้ แล้วนำมายังเมืองนครราชสีมา ภาษาส่วย เป็นภาษาของชาวส่วยที่อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหัดบุรีรัมย์ ที่มาตั้งหลักแหล่งอยู่ที่ ตำบลห้วยแถลง อำเภอห้วยแถลง ปัจจุบันมีเฉพาะผู้ที่อายุเกิน  40  ปีขึ้นไป ที่ยังคงใช้ภาษาส่วยในกลุ่มของตนเอง นอกจากนั้นจะใช้ภาษาไทยโคราชเป็นพื้น
ญัฮกุร ญัฮกุร  หรือ  เนียะกุล  เป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ตามไหล่เขาหรือเนินเขาเตี้ย ๆ บริเวณด้านในของที่ราบสูงโคราช ชาวบนอาจสืบเชื้อสายมาจากคนในสมัยทวารวดี อยู่ในบางหมู่บ้านของอำเภอปักธงชัย อำเภอครบุรี และอำเภอหนองบุญมาก ภาษาชาวบน เป็นภาษาตระกูลมอญ - เขมร ปัจจุบันชาวบนพูดภาษาชาวบนเฉพาะผู้ที่อายุเกิน  60  ปีขึ้นไป นอกจากนั้นใช้ภาษาไทยโคราช
ไทยวน ไทยวน  หรือ  ไทยโยนก  เป็นเผ่าไทยในภาคเหนือของไทย ได้อพยพเข้ามาอยู่ที่อำเภอสีคิ้วสองทางด้วยกันคือ พวกแรกอพยพจากทางเหนือมาอยู่ที่อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ต่อมาเจ้าเมืองสระบุรีต้องการตั้งกองเลี้ยงโคนมที่เมืองนครจันทึก จึงได้แบ่งครอบครัวชาวไทยยวนจากอำเภอเสาไห้ไปอยู่ที่อำเภอสีคิ้ว ส่วนอีกพวกหนึ่งอพยพมาจากเวียงจันทน์ ชาวไทยยวนยังรักษาประเพณีและวัฒนธรรมแบบโยนกไว้ได้ดีมาก ภาษาไทยยวน ใช้พูดในหมู่ไทยยวนด้วยกันเองซึ่งมีอยู่ประมาณ  5 , 000  คน ในเขตอำเภอสีคิ้ว ในท้องที่ตำบลลาดบัวขาว ตำบลสีคิ้ว และตำบลบ้านหัน นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม  ชาวจีน ชาวเวียดนาม และชาวแขก
ตัวอย่างบุคคลที่มีชื่อเสียงจากนครราชสีมา   สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระ   พลเอก ชาติชาย  พลเอก สุรยุทธ์   อุดมพร พลศักดิ์   พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์
ปรัชญา ปิ่นแก้ว   สุเทพ วงศ์กำแหง   ศิริศักดิ์ นันทเสน   พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ
สถานที่ท่องเที่ยว   ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒธรรม ท้าวสุรนารี อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี
ท้าวสุรนารี   ( อักษรละติน :  Thao Suranari)  หรือ  ย่าโม   ( พ . ศ . 2314  —   พ . ศ . 2395)  บุคคลในประวัติศาสตร์ไทย ในฐานะวีร สตรีผู้กอบกู้เมืองนครราชสีมาจากกองทัพของเจ้าอนุวงศ์  พระมหากษัตริย์แห่งเวียงจันทน์ เมื่อปี พ . ศ . 2369  อย่างไรก็ตาม ใน ปัจจุบันได้เกิดข้อสงสัยขึ้นมาว่าท้าวสุรนารีมีตัวตนอยู่จริงหรือไม่  เนื่องจากเรื่องราวของท้าวสุรนารีพบในหลักฐานเป็นบันทึกที่ออก เผยแพร่ภายหลัง พ . ศ . 2475  เท่านั้น
วีรกรรมของท้าวสุรนารี และบำเหน็จความชอบ วีรกรรมของคุณหญิงโมนั้นเป็นที่คนไทยรุ่นหลังทราบดีว่า เมื่อพุทธศักราช  2369  เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ เป็นกบฏต่อกรุงเทพมหานคร ยกกองทัพเข้ามายึดเมืองนครราชสีมาได้ แล้วกวาดต้อนครอบครัวชาวนครราชสีมาไป คุณหญิงโม และนางสาวบุญเหลือ ได้รวบรวมครอบครัวชาย หญิงชาวนครราชสีมาที่ถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลย เข้าต่อสู้ฆ่าฟันทหารลาวล้มตายเป็นอันมาก ณ ทุ่งสัมฤทธิ์ แขวงเมืองนครราชสีมา เมื่อวันที่  4  มีนาคม พุทธศักราช  2369  ช่วยให้ฝ่ายไทยสามารถกอบกู้เมืองนครราชสีมากลับคืนมาได้ในที่สุด เครื่องยศพระราชทานแก่ท้าวสุรนารี -  ถาดทองคำใส่เครื่องเชี่ยนหมาก  1  ใบ  -  จอกหมากทองคำ  1  คู่  -  ตลับทองคำ  3  ใบเถา  -  เต้าปูนทองคำ  1  ใบ  -  คนโท และขันน้ำทองคำอย่างละ  1  ใบ
นางสาวบุญเหลือ นางสาวบุญเหลือ  หรือ  ย่าเหลือ  บุคคลในประวัติศาสตร์ไทย ในฐานะวีรสตรี ที่มีส่วนสำคัญในการกอบกู้เมืองนครราชสีมาร่วมกับท้าวสุรนารี จากการเข้ายึดตีเมือง ของกองทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ ณ ทุ่งสัมฤทธิ์ ปี พ . ศ . 2369  ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  3
ประวัติ และวีรกรรมของนางสาวบุญเหลือ นางสาวบุญเหลือ  เป็นบุตรีของ หลวงเจริญ กรมการผู้น้อยแห่งเมืองนครราชสีมา ครอบครัวของหลวงเจริญ มีความใกล้ชิดสนิทสนม และเคารพนับถือ พระยาปลัดเมืองนครราชสีมา และคุณหญิงโม เป็นอันมาก อีกทั้งพระยาปลัดเมือง และคุณหญิงโม ไม่มีบุตร และธิดา จึงได้รัก และเอ็นดูนางสาวบุญเหลือ ดุจว่าเป็นลูกหลานแท้ ๆ  เมื่อ ปี พ . ศ . 2369  เจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์ ได้ยกกองทัพเข้าแผ่นดินไทย จนถึงเมืองนครราชสีมา โดยอ้างว่า มีพระราชโองการให้ยกทัพไปกรุงเทพ เพื่อช่วยรบกับอังกฤษ และเนื่องจากในขณะนั้น เจ้าเมืองนครราชสีมา และพระยาปลัดเมืองไม่อยู่ ไปราชการเมืองขุขันธ์ เจ้าอนุวงศ์จึงยกทัพ เข้ายึดเมืองนคราชสีมาได้โดยง่าย แล้วกวาดต้อนผู้คนชาวนครราชสีมาเป็นเชลยขึ้นไปยังเวียงจันทน์ ในจำนวนเชลยเหล่านั้น มีคุณหญิงโม และนางสาวบุญเหลือรวมอยู่ด้วย
ระหว่างที่กองทัพเจ้าอนุวงศ์ และทหารลาว หยุดพักค้างแรมระหว่างเดินทางไปเวียงจันทน์ ณ ทุ่งสัมฤทธิ์ แขวงเมืองนครราชสีมา เมื่อวันที่  4  มีนาคม พ . ศ . 2369  คุณหญิงโม ร่วมกับ นางสาวบุญเหลือ และหลวงณรงค์สงคราม หัวหน้าชาวเมือง ได้ใช้กลอุบาย โดยให้ชาวเมืองเลี้ยงสุราอาหารแก่ทหารลาวที่ควบคุมตัวมา เมื่อทหารเจ้าอนุวงศ์หลงกลกินเหล้าเมายาจนขาดสติเกือบหมดกองทัพ เมื่อได้โอกาสอันเหมาะสมแล้ว กำลังชาวโคราชที่ทุ่งสัมฤทธิ์ทั้งชาย และหญิง ก็แย่งอาวุธโจมตีเข่นฆ่าทหารลาวจนล้มตายเป็นจำนวนมาก ทำให้แผนกอบกู้อิสรภาพของนครราชสีมาสำเร็จ และในเหตุการณ์ครั้งนั้น นางสาวบุญเหลือได้เสียสละพลีชีพด้วยการนำไม้ฟืนจากกองไฟ วิ่งหลอกล่อทหาร ตรงไปยังกองเกวียน กระสุนดินดำของกองทัพทหารลาว จนเกิดการระเบิด แสงเพลิงแดงฉานไปทั่วท้องทุ่งสัมฤทธิ์ ด้วยการตัดสินใจด้วยปฏิภาณอันห้าวหาญ เด็ดเดี่ยวในวีรกรรมครั้งนี้ ของนางสาวบุญเหลือ ยังคงประทับแน่นอยู่ในความทรงจำ ของลูกหลานชาวนครราชสีมาตลอดไม่รู้ลืม
ประตูเมืองนครราชสีมา ประตูเมืองนครราชสีมา รวมทั้ง กำแพงเมือง และ คูเมือง เป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของตัวเมืองนครราชสีมา ที่ได้ก่อสร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ปัจจุบันมีประตูชุมพลที่ยังคงรูปลักษณ์เดิมอยู่ได้ และนับเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของนครราชสีมา ประตูเมืองนครราชสีมามีทั้งหมด  4  ประตู คือ 1.  ประตูชุมพล 2.  ประตูพลแสน  3.  ประตูพลล้าน  4.  ประตูไชยณรงค์
รายละเอียดของประตูเมือง ประตูชุมพล ก่อนการบูรณะ ประตูชุมพล   ประตูเมืองทางทิศตะวันตกของเขตเมืองเก่า เป็นประตูเมืองเพียงแห่งเดียว ในบรรดาประตูเมืองทั้งหมด  4  ประตูของเมืองนครราชสีมา ที่ยังคงสภาพเดิมอยู่พร้อมกำแพงเมืองเก่า สำหรับ ชื่อประตู  " ชุมพล "  นั้นหมายความถึง ที่ชุมนุมพลส่วนใหญ่ เป็นประตูสำหรับเตรียมไพร่พล และออกศึก เนื่องจากมีภูมิประเทศเปิดกว้าง ไม่มีป้อมปราการตามธรรมชาติเหมือนประตูอื่น ๆ  ในอดีตมีความเชื่อว่า เมื่อลอดผ่านประตูชุมพลไปทำศึกแล้ว จะแคล้วคลาดได้กลับบ้านเมือง
[object Object],ประตูพลแสน ในปี ค . ศ . 1893 ประตู และกำแพงเมือง ก่อนได้รับการบูรณะ ประตูเมืองทางทิศเหนือ เรียกกันทั่วไปว่า  " ประตูน้ำ "  เป็นเพราะประตูนี้หันหน้าสู่ ลำตะคอง ซึ่งเป็นคลองกั้นคูเมืองอีกชั้นหนึ่ง เป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำมูล ในอดีตจะใช้ลำตะคองในการชลประทาน และเป็นเส้นทางคมนาคมทางน้ำ สำหรับชื่อประตู  " พลแสน "  นั้นหมายถึง ต้องมีกำลังพลถึงแสนหนึ่ง จึงจะสามารถบุกเข้ามายังประตูนี้ได้ ประตูพลแสนในปัจจุบัน
ประตูไชยณรงค์   ประตูเมืองทางทิศใต้ ชาวเมืองเรียกประตูนี้ว่า  " ประตูผี "  เนื่องจากในอดีต มีประเพณีความเชื่อว่า เมื่อมีคนตายขึ้นในเมือง ห้ามมีการเผา หรือฝังเอาไว้ในเมือง ให้ออกไปจัดการกันที่นอกเมือง โดยให้นำศพผ่านออกทางประตูนี้เพียงประตูเดียว นอกจากนั้นแล้ว ทางทิศใต้นี้ยังมีบึงใหญ่ มีชื่อเรียกว่า  " หนองบัว "  สำหรับชื่อประตู  " ไชยณรงค์ "  นั้น เนื่องมาจาก เมื่อยามเกิดศึกสงคราม ประตูนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ยากต่อการโจมตีของข้าศึก เพราะภูมิประเทศด้านนี้ เต็มไปด้วยหนองน้ำขนาดใหญ่ และเล็ก แต่ในปัจจุบัน หนองน้ำเหล่านั้นได้ถูกถมไปหมดแล้ว
ประตูพลล้าน   ประตูเมืองทางทิศตะวันออก ชาวเมืองเรียกประตูนี้ว่า  " ประตูตะวันออก "  หรือ  " ประตูทุ่งสว่าง "  แต่เดิม ทิศนี้มีบึงใหญ่ที่เรียกว่า  " บึงทะเลหญ้าขวาง "  มีพื้นที่กว้างไม่น้อยกว่า  10  ตารางกิโลเมตร ส่วนกลางเป็นบึงใหญ่ และมีพื้นที่สำหรับเลี้ยงสัตว์พาหนะ ซึ่งเป็นที่ตั้งของ  " วัดทุ่งสว่าง "  สำหรับชื่อประตู  " พลล้าน "  นั้น นัยว่าเพื่อเป็นการข่มขวัญข้าศึก ที่ถึงจะยกทัพมาสักล้าน ก็ยังต่อสู้ได้
อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ผังอุอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย  เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วยโบราณสถานสมัยอาณาจักรขอมที่ใหญ่โตและงดงาม
ประวัติ เมืองพิมายเป็นเมืองที่สร้างตามแบบแผนของศิลปะขอม มีลักษณะเป็นเวียงสี่เหลี่ยม ชื่อ  พิมาย  น่าจะมาจากคำว่า  วิมาย  หรือ  วิมายปุระ  ที่ปรากฏในจารึกภาษาขอมบนแผ่นหินตรงกรอบประตูระเบียงคดด้านหน้าของปราสาท จากหลักฐานศิลาจารึกและศิลปะสร้างบ่งบอกว่า ปราสาทหินพิมายคงเริ่มสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่  1  ราวพุทธศตวรรษที่  16  ในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ รูปแบบของศิลปะเป็นแบบบาปวนผสมผสานกับศิลปะแบบนครวัด ซึ่งหมายถึงปราสาทนี้ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นสถานที่ทางศาสนาพุทธในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่  7
โบราณสถาน ตัวอุทยานตั้งอยู่ฟากทิศตะวันออกของแม่น้ำมูล บนพื้นที่  115  ไร่ วางแผนเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง  565  เมตร ยาว  1 , 030  เมตร ลักษณะพิเศษของปราสาทหินพิมาย คือ ปราสาทหินแห่งนี้สร้างหันหน้าไปทางทิศใต้ ต่างจากปราสาทหินอื่นๆที่มักหันไปทางทิศตะวันออก สันนิษฐานว่าเพื่อให้หันรับกับเส้นทางตัดมาจากเมืองยโศธรปุระ เมืองหลวงในสมัยนั้นของขอม ซึ่งเข้ามาสู้เมืองพิมายทางทิศใต้
ปราสาทหินพนมวัน ปราสาทหินพนมวัน  ตั้งอยู่ที่บ้านมะค่า ตำบลโพธิ์ ถนนสายโคราช - ขอนแก่น จังหวัดนครราชสีมา เป็นโบราณสถานสถาปัตยกรรมในคติความเชื่อของเขมรโบราณ สร้างราวพุทธศตวรรษที่  16-17  เพื่อเป็นเทวสถาน ต่อมาภายหลังดัดแปลงเป็นพุทธสถาน เป็นปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ  5  ของประเทศไทย
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ   น้ำตกเหวนรก เป็นน้ำตกที่เกิดจากคลองท่าด่าน น้ำตกเหวนรกเป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นน้ำตกที่มีความสูงและสวยงามมากแห่งหนึ่งของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ แต่เดิมก่อนที่จะมีการตัดถนนสายปราจีนบุรี - เขาใหญ่นั้น จะต้องเดินเท้าเข้ามาโดยใช้เวลาไม่น้อยกว่า  6  ชั่วโมง แต่หลังจากตัดถนนสายปราจีนบุรี - เขาใหญ่เสร็จแล้ว ถนนตัดผ่านใกล้น้ำตกเหวนรกมาก โดยมีลานจอดรถห่างจากตัวน้ำตกเพียง  1  กิโลเมตรเท่านั้น ระหว่างทางสามารถเดินชมธรรมชาติอันสวยงามสองข้างทางได้ เมื่อถึงตัวน้ำตกจะมีบันไดลงไปอีกราว  50  เมตร ซึ่งค่อนข้างแคบและชัน แต่เมื่อลงไปถึงจุดชมวิวก็จะเห็นความยิ่งใหญ่อลังการของน้ำตกได้อย่างสวยงาม หากไปในฤดูฝนมีน้ำมาก ละอองน้ำจะกระเซ็นต้องกับแสงอาทิตย์เป็นสายรุ้งอย่างงดงาม แต่หากมาชมในหน้าแล้งนั้นอาจต้องผิดหวังเพราะไม่มีน้ำ เห็นแต่เพียงหน้าผาแห้งๆ เท่านั้น
น้ำตกผากล้วยไม้ เกิดจากห้วยลำตะคอง การเดินทางมาจะต้องจอดรถที่ลานกางเต๊นท์ผากล้วยไม้ แล้วเดินเท้าเลาะไปตามห้วยลำตะคอง ผ่านป่าดงดิบตลอดทาง หากโชคดีอาจพบนกบางชนิด เช่น นกกางเขนหลังเทา เมื่อเดินเข้ามาประมาณ  1.2  กิโลเมตร ก็จะถึงน้ำตกผากล้วยไม้ มีป้ายเขียนเอาไว้ชัดเจน น้ำตกผากล้วยไม้นั้นลักษณะเป็นผาไม่สูงนัก ชื่อน้ำตกผากล้วยไม้นี้มาจากมีกล้วยไม้หลายชนิดเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะกล้วยไม้หวายแดง ซึ่งจะออกดอกช่วงเดินเมษายน
น้ำตกเหวสุวัต เป็นน้ำตกอีกแห่งที่สวยงามของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ โดยเกิดจากห้วยลำตะคองไหลตกผ่านหน้าผาสูงราว  25  เมตร และมีแอ่งน้ำทางด้านล่างเหมาะแก่การเล่นน้ำเป็นอย่างมาก แต่ทางอุทยานแห่งชาติได้มีป้ายประกาศว่าห้ามเล่นน้ำไว้เนื่องจากกลัวอันตรายว่าจะมีน้ำป่าไหลหลากเฉียบพลัน ในฤดูฝนสายน้ำที่ตกลงมาจะเป็นละอองกระจายเต็มไปหมด ทำให้รู้สึกสดชื่นเย็นสบาย แต่หากมาในฤดูน้ำน้อย จะสามารถเดินลัดเลาะเพื่อเข้าไปยังโพรงถ้ำเล็กๆ ใต้หน้าผาน้ำตกได้
จุดชมวิวผาตรอมใจ ตั้งอยู่เลยทางเข้าเส้นทางศึกษาธรรมชาติผาเดียวดายไปอีกเล็กน้อย คือเป็นทางเข้าของศูนย์เรดาร์ของกองทัพอากาศ บริเวณนี้จริงๆ แล้วเป็นเขตทหาร แต่ได้จัดให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมได้บริเวณจุดชมวิวผาตรอมใจ เมื่อมองออกไปจะแลเห็นทุ่งหญ้ากว้างไกลสุดลูกหูลูกตา บริเวณนี้ค่อนข้างเงียบสงบเนื่องจากเป็นเขตทหารและอยู่ไกลจากแหล่งท่องเที่ยวอื่นอีกทั้งการเดินทางมาก็ค่อนข้างลำบากเพราะไกลและถนนไม่ดี มีคนมาน้อย บรรยากาศเงียบสงบจึงมีนกหลายชนิดให้ศึกษา บางวันจะมีช่างภาพพร้อมกล้องถ่ายรูปและเลนส์ขนาดใหญ่สำหรับถ่ายภาพนกมานั่งเงียบๆ คอยนกมาเกาะบนกิ่งไม้แล้วถ่ายภาพ
หนองผักชี แต่เดิมนั้นเคยมีชาวบ้านขึ้นมาจับจองพื้นที่อาศัยอยู่บนเขาใหญ่ และถางป่าเพื่อปลูกพืชผักบางอย่าง เช่น ผักชี พริก เป็นต้น โดยอาศัยแหล่งน้ำคือหนองผักชีนี้เพื่อการเกษตรกรรม เมื่อทางการได้สั่งให้อพยพออกจากเขาใหญ่ พื้นที่ที่เคยปลูกพืชก็ถูกทิ้งร้างมีหญ้าขึ้นสูง เป็นแหล่งอาหารให้กับสัตว์กินพืชซึ่งจะลงมากินหญ้าที่บริเวณนี้เป็นประจำ ทางอุทยานแห่งชาติได้สร้างหอดูสัตว์หนองผักชีเพื่อใช้ดูสัตว์ที่ลงมากินหญ้า โดยสัตว์มักลงมากินหญ้าตอนเช้าตรู่และตอนเย็น
 
 
บรรณานุกรม วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี  “ จังหวัดนครราชสีมา ,”   ข้อมูลท่องเที่ยว จังหวัดนครราชสีมา .  4   พ . ย .  2553  < ( http :// th . wikipedia . org / wiki> .  4   พ . ย .  2553   บริษัท โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์  “ ปราสาทหินพิมาย ,”   ปราสาทหินพิมาย .  4   พ . ย .  2553  < ( http :/ / www . oceansmile . com / N / Nan / NANm7 . htm> . 4   พ . ย .  2553   . Kapok  “ แหล่งท่องเที่ยว จ . นครราชสีมา ,”   นครราชสีมา เมืองหญิงกล้า .  4   พ . ย . 2553< ( http :// travel . kapook . com / view7171 . html ).  4   พ . ย .  2554
จัดทำโดย นางสาว สุพัตรา  พยัฆชน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด

More Related Content

Viewers also liked

すまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよ
すまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよすまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよ
すまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよTatsuya Ooshiro
 
Gedachtegang van een_man
Gedachtegang van een_manGedachtegang van een_man
Gedachtegang van een_manwernervs
 
Metodologi Penelitian dalam Ilmu Filsafat
Metodologi Penelitian dalam Ilmu FilsafatMetodologi Penelitian dalam Ilmu Filsafat
Metodologi Penelitian dalam Ilmu FilsafatArman Ahmad
 
Phao hoa thanh vinh giao thua tan mao
Phao hoa thanh vinh   giao thua tan maoPhao hoa thanh vinh   giao thua tan mao
Phao hoa thanh vinh giao thua tan maoLe Quang Huy
 
Suomi vieraana kielenä RAMK
Suomi vieraana kielenä RAMKSuomi vieraana kielenä RAMK
Suomi vieraana kielenä RAMKAnnukka Jaakola
 
антивирусная защита
антивирусная защитаантивирусная защита
антивирусная защитаolgakort
 
01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)
01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)
01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)hustmarco
 
Die drei Aliens
Die drei AliensDie drei Aliens
Die drei Aliensfosbe
 
Donkere wolken #26
Donkere wolken #26Donkere wolken #26
Donkere wolken #26Marly
 
Presentazione gamer silvia guanella
Presentazione gamer silvia guanellaPresentazione gamer silvia guanella
Presentazione gamer silvia guanellaSilvia Guanella
 

Viewers also liked (20)

สมุทรปราการ
สมุทรปราการสมุทรปราการ
สมุทรปราการ
 
Litterær analyse
Litterær analyseLitterær analyse
Litterær analyse
 
すまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよ
すまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよすまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよ
すまべん関西13 0129 android と wp7入門してみたよ
 
Gedachtegang van een_man
Gedachtegang van een_manGedachtegang van een_man
Gedachtegang van een_man
 
Metodologi Penelitian dalam Ilmu Filsafat
Metodologi Penelitian dalam Ilmu FilsafatMetodologi Penelitian dalam Ilmu Filsafat
Metodologi Penelitian dalam Ilmu Filsafat
 
Phao hoa thanh vinh giao thua tan mao
Phao hoa thanh vinh   giao thua tan maoPhao hoa thanh vinh   giao thua tan mao
Phao hoa thanh vinh giao thua tan mao
 
Suomi vieraana kielenä RAMK
Suomi vieraana kielenä RAMKSuomi vieraana kielenä RAMK
Suomi vieraana kielenä RAMK
 
антивирусная защита
антивирусная защитаантивирусная защита
антивирусная защита
 
Karine bab
Karine babKarine bab
Karine bab
 
01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)
01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)
01 如何成为真正的ppt高手(2009版上)
 
Die drei Aliens
Die drei AliensDie drei Aliens
Die drei Aliens
 
Our planet
Our planetOur planet
Our planet
 
1221
12211221
1221
 
Antireklama62
Antireklama62Antireklama62
Antireklama62
 
24 1
24 124 1
24 1
 
Minunat
MinunatMinunat
Minunat
 
Alg1 lesson 7-4
Alg1 lesson 7-4Alg1 lesson 7-4
Alg1 lesson 7-4
 
Donkere wolken #26
Donkere wolken #26Donkere wolken #26
Donkere wolken #26
 
Presentazione gamer silvia guanella
Presentazione gamer silvia guanellaPresentazione gamer silvia guanella
Presentazione gamer silvia guanella
 
MA20110202
MA20110202MA20110202
MA20110202
 

Similar to จังหวัดนครราชสีมา502

เอกสารยื่นถอดถอน310สส.
เอกสารยื่นถอดถอน310สส.เอกสารยื่นถอดถอน310สส.
เอกสารยื่นถอดถอน310สส.isranews
 
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymoseจังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymoseBeebe Benjamast
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔weskaew yodmongkol
 
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...ประพันธ์ เวารัมย์
 
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทยทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทยสมใจ จันสุกสี
 

Similar to จังหวัดนครราชสีมา502 (11)

เมืองแพร่
เมืองแพร่เมืองแพร่
เมืองแพร่
 
เอกสารยื่นถอดถอน310สส.
เอกสารยื่นถอดถอน310สส.เอกสารยื่นถอดถอน310สส.
เอกสารยื่นถอดถอน310สส.
 
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymoseจังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔
 
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
 
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
เล่ม 129 ตอนที่ 24 ข 27 มิถุนายน 2554 (เล่มที่ 6 2)เอกสารเครื่องราชปี 2554 ปร...
 
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทยทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
 
161 56
161 56161 56
161 56
 
หนองม่วงไข่
หนองม่วงไข่หนองม่วงไข่
หนองม่วงไข่
 
ลอง
ลองลอง
ลอง
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จังหวัดนครราชสีมา502

  • 4. เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน คำขวัญ
  • 5.
  • 7. จังหวัดนครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดกับจังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว
  • 8. ภูมิศาสตร์ ตัวเมืองตั้งอยู่บนที่ราบสูงโคราช โดยมีลำตะคองและลำน้ำสาขาอื่น ๆ ไหลหล่อเลี้ยงบริเวณด้านเหนือของเมือง และ เป็นสาขาหนึ่งของแม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำมูลซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวเมืองประกอบด้วยประตูเมืองนครราชสีมาทั้ง 4 ทิศ คือ ประตูชุมพล ( ทิศตะวันตก ) ประตูพลแสน ( ทิศเหนือ อีกชื่อคือประตูน้ำ ) ประตูพลล้าน ( ทิศตะวันออก ) และประตูไชยณรงค์ ( ทิศใต้ อีกชื่อคือประตูผี ) ภายในตัวเมืองมีสระน้ำ 4 สระ คือ สระแก้ว สระแมว สระขวัญ และสระบัว บริเวณรอบเมืองเป็นที่ราบ ทุ่งนา สวนผัก - ผลไม้ และ ที่เกษตรกรรม ปัจจุบันจากการขยายตัวของเมืองทำให้ค่อยๆเปลี่ยนสภาพเป็นแหล่งการค้า อุตสาหกรรม และ ที่อยู่อาศัย ในบริเวณด้านใต้ของเมืองเป็นเขตทหาร คือ ค่ายสุรนารี ของกองทัพบก และ กองบิน 1 ของกองทัพอากาศ โดยตำแหน่งที่ตั้งทำให้เมืองเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางบกทั้งทางถนนและทางราง ของภาคอีสาน โดยมีทางหลวงสายหลัก คือ ถนนมิตรภาพผ่าน และ เป็นชุมทางรถไฟของเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือทั้งสองสายคือ สายนครราชสีมา - อุบลราชธานีและ สายนครราชสีมา - ท่านาแล้ง ( ประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาว )
  • 9. ประวัติศาสตร์ เมืองโคราชสีมาในแผนที่ของ ลา ลูแบร์ พ . ศ . 2236 รถไฟสายกรุงเทพฯ - นครราชสีมาขบวนแรก
  • 10. ถนนจอมสุรางค์ยาตร พ . ศ . 2454 ถนนจอมสุรางค์ยาตร พ . ศ . 2550
  • 11. ประตูเมืองโคราชด้านเหนือ ในปี พ . ศ . 2436 ประตูชุมพล ก่อนการบูรณะ
  • 12. เพลง “นครราชสีมา” เนื้อร้อง : พลตรี หลวงวิจิตร วาทการ บรรเลงโดย : วงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร ( สร้อย ) ราชสีมาเหมือนดังศิลาที่ก่อกำแพง สยามจะเรืองกระเดื่องเขตแดน ด้วยมีกำแพงคือราชสีมา ( ชาย ) ชาวนครราชสีมาแต่โบราณ เหี้ยมฮึกกล้าหาญยิ่งหนักหนา ศึกเสือ เหนือใต้ที่ไหนมา เลือดนครราชสีมาไม่แพ้ใคร ( สร้อย ) ( หญิง ) แต่ก่อนกาลท่านวีรสตรี ท้าวสุรนารีผู้เป็นใหญ่ กล้าหาญยอดยิ่งผู้หญิงไทย มิ่งขวัญธงชัยของเมืองเรา ( สร้อย ) ( ชาย ) มาพวกเราชาวนครราชสีมา หน้าเดินรีบมาสู้กับเขา หากศัตรูไม่เกรง ข่มเหงเรา สู้เขา สู้กันอย่าพรั่นใจ ( สร้อย 2 ครั้ง )
  • 13.
  • 15. รายนามผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา พ . ศ . 2460 - 2465 10. พ . ต . พระยาบรมราชบรรหาร ( เย็น ภะระมรทัต ) พ . ศ . 2458 – 2460 9. พระยาสุริยราชวราภัย ( จร ) พ . ศ . 2456 – 2458 8. พระยศสุนทร ( ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ) พ . ศ . 2455 – 2456 7. พระเทพราชธานี ( โหมด ) รศ . 129 - 131 ( พ . ศ . 2453 - 2455) 6. พระไชยนฤนาท ( ทองดี ) รศ . 125 - 129 ( พ . ศ . 2449 - 2453) 5. พระบรมราชบรรหาร ( สวัสดิ์ วิเศษศิริ ) รศ . 124 - 125 ( พ . ศ . 2448 - 2449) 4. พระยาวรชัยวุฒิกร ( เลื่อง สนธิรัต ) รศ . 123 - 124 ( พ . ศ . 2447 - 2448) 3. พระยาสุริยเดช ( จาบ สุวรรณทัต ) รศ . 120 - 123 ( พ . ศ . 2444 - 2447) 2. พระรังสรรค์สารกิจ ( เลื่อน ศรีเพ็ญ ) รศ . 115 - 120 ( พ . ศ . 2439 - 2444) 1. พระยากำแหงสงคราม ( กาจ สิงห์เสนี ) วาระการดำรงตำแหน่ง รายนาม
  • 16. 12 ต . ค . 2497 – 22 พ . ค . 2500 25. นายสุวรรณ รื่นยศ 21 มี . ค . 2495 – 11 ต . ค . 2497 24. นายยุทธ จรัณยานนท์ 23 มี . ค . 2492 – 20 มี . ค . 2495 23. ขุนวรคุตต์คณรักษ์ ( บุญฤทธิ์ วรนุตนานนท์ ) 6 ธ . ค . 2490 – 21 มี . ค . 2492 22. ขุนบริบาลบรรพตเขตต์ ( สังเวียน บริบาลบรรพตเขตต์ ) 21 ต . ค . 2489 – 5 ธ . ค . 2490 21. นายถนอม วิบูลมงคล 1 ส . ค . 2488 – 31 ก . ค . 2489 20. นายอุดม บุญประคอง 22 ธ . ค . 2487 – 31 ธ . ค . 2488 19. หลวงวิธสุรการ ( ถวิล เจียนมานพ ) 1 ต . ค . 2486 – 21 ธ . ค . 2487 18. ขุนทยานราญรอน ( วัชระ วัชรบูล ) 19 ธ . ค . 2484 – 19 พ . ย . 2486 17. พระสาครบุรานุรักษ์ ( ปริต สุวรรณานนท์ ) พ . ศ . 2484 – 2484 16. นายสุรินทร์ ชิโนทัย พ . ศ . 2479 – 2484 15. พ . อ . หลวงอาจศรศิลป ( ประพันธ์ ธนพุทธิ ) 2 พ . ย . 2476 – 1 มี . ค . 2479 14. พระยากำธรพายัพทิศ ( ดิส อินทโสฬส ) พ . ศ . 2474 – 2476 13. พระยานายกนรชร ( เจริญ ปริยานนท์ ) พ . ศ . 2471 – 2474 12. พระยาพิริยะพิชัย ( เทียบ สุวรรณนิน ) พ . ศ . 2465 – 2471 11. พระยานครราชเสนี ( สหัส สิงหเสนี )
  • 17. 20 ต . ค . 2540 – 22 เม . ย . 2544 40. นายโยธิน เมธชนัน 1 ต . ค . 2539 – 19 ต . ค . 2540 39. นายประวิทย์ สีห์โสภณ 1 ต . ค . 2537 – 30 ก . ย . 2539 38. นายสุพร สุภสร 1 ต . ค . 2533 – 30 ก . ย . 2537 37. นายดำรง รัตนพานิช 1 ต . ค . 2531 – 30 ก . ย . 2533 36. นายไสว พราหมณี 1 เม . ย . 2524 – 30 ก . ย . 2531 35. นายสมบูรณ์ ไทยวัชรามาศ 1 ต . ค . 2520 – 31 มี . ค . 2524 34. นายเลิศ หงษ์ภักดี 1 ม . ค . 2520 – 30 ก . ย . 2520 33. นายจำรูญ ปิยัมปุตระ 6 ธ . ค . 2516 – 31 ธ . ค . 2519 32. นายวิชิต ศุขะวิริยะ 1 ต . ค . 2516 – 5 ธ . ค . 2516 31. นายประมูล ศรัทธาทิพย์ 13 เม . ย . 2513 – 30 ก . ย . 2516 30. ร . ต . ท . ระดม มหาศรานนท์ 2 ต . ค . 2511 – 15 เม . ย . 2513 29. นายสมชาย กลิ่นแก้ว 4 มี . ค . 2507 – 2 ต . ค . 2511 28. นายสวัสดิ์วงศ์ ปฏิทัศน์ 6 มี . ค . 2501 – 4 มี . ค . 2507 27. นายเจริญ ภมรบุตร 23 พ . ค . 2500 – 6 มี . ค . 2501 26. พ . ต . อ . เลื่อน กฤษณามระ
  • 18. 1 ต . ค . 2553 - ปัจจุบัน 46. นายระพี ผ่องบุพกิจ 1 ต . ค . 2551 - 30 ก . ย . 2553 45. นายประจักษ์ สุวรรณภักดี 1 ต . ค . 2550 - 30 ก . ย . 2551 44. นายสุธี มากบุญ 1 ต . ค . 2548 – 30 ก . ย . 2550 43. นายสมบูรณ์ งามลักษณ์ 1 ต . ค . 2547 – 30 ก . ย . 2548 42. นายพงศ์โพยม วาศภูติ 23 เม . ย . 2544 – 30 ก . ย . 2547 41. นายสุนทร ริ้วเหลือง
  • 19. การปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 1 เทศบาลนคร 3 เทศบาลเมือง 71 เทศบาลตำบลและ 263 องค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีรายชื่อเทศบาลดังนี้ - อำเภอปักธงชัย เทศบาลตำบลเมืองปัก เทศบาลตำบลปักธงชัย เทศบาลตำบลตะขบ เทศบาลตำบลนกออก เทศบาลตำบลบ่อปลาทอง เทศบาลตำบลลำนางแก้ว - อำเภอเมืองนครราชสีมา เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลตำบลโคกกรวด เทศบาลตำบลโคกสูง เทศบาลตำบลจอหอ เทศบาลตำบลปรุใหญ่ เทศบาลตำบลโพธิ์กลาง เทศบาลตำบลหนองไข่น้ำ เทศบาลตำบลหนองไผ่ล้อม เทศบาลตำบลหัวทะเล - อำเภอปากช่อง เทศบาลเมืองปากช่อง เทศบาลตำบลกลางดง เทศบาลตำบลหมูสี เทศบาลตำบลวังไทร เทศบาลตำบลสีมามงคล - อำเภอสีคิ้ว เทศบาลเมืองสีคิ้ว เทศบาลตำบลคลองไผ่ เทศบาลตำบลลาดบัวขาว เทศบาลตำบลหนองน้ำใส - อำเภอบัวใหญ่ เทศบาลเมืองบัวใหญ่
  • 20. - อำเภอครบุรี เทศบาลตำบลครบุรีใต้ เทศบาลตำบลจระเข้หิน เทศบาลตำบลแชะ เทศบาลตำบลไทรโยง - ไชยวาล เทศบาลตำบลอรพิมพ์ - อำเภอพิมาย เทศบาลตำบลพิมาย เทศบาลตำบลรังกาใหญ่ - อำเภอโนนสูง เทศบาลตำบลโนนสูง เทศบาลตำบลดอนหวาย เทศบาลตำบลตลาดแค เทศบาลตำบลด่านคล้า เทศบาลตำบลมะค่า เทศบาลตำบลใหม่ - อำเภอโชคชัย เทศบาลตำบลโชคชัย เทศบาลตำบลด่านเกวียน เทศบาลตำบลท่าเยี่ยม - อำเภอด่านขุนทด เทศบาลตำบลด่านขุนทด เทศบาลตำบลหนองกราด เทศบาลตำบลหนองบัวตะเกียด เทศบาลตำบลหนองบัวละคร - อำเภอสูงเนิน เทศบาลตำบลกุดจิก เทศบาลตำบลสูงเนิน - อำเภอขามทะเลสอ เทศบาลตำบลขามทะเลสอ - อำเภอขามสะแกแสง เทศบาลตำบลขามสะแกแสง เทศบาลตำบลหนองหัวฟาน เทศบาลตำบลโนนเมือง
  • 21. - อำเภอประทาย เทศบาลตำบลประทาย - อำเภอคง เทศบาลตำบลเมืองคง เทศบาลตำบลเทพาลัย - อำเภอโนนไทย เทศบาลตำบลโนนไทย เทศบาลตำบลโคกสวาย เทศบาลตำบลบัลลังก์ - อำเภอห้วยแถลง เทศบาลตำบลห้วยแถลง เทศบาลตำบลหินดาด - อำเภอเสิงสาง เทศบาลตำบลเสิงสาง เทศบาลตำบลโนนสมบูรณ์ - อำเภอบ้านเหลื่อม เทศบาลตำบลบ้านเหลื่อม - อำเภอจักราช เทศบาลตำบลจักราช - อำเภอเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลตำบลท่าช้าง - อำเภอชุมพวง เทศบาลตำบลชุมพวง - อำเภอโนนแดง เทศบาลตำบลโนนแดง - อำเภอบัวลาย เทศบาลตำบลหนองบัวลาย
  • 22. - อำเภอแก้งสนามนาง เทศบาลตำบลบึงสำโรง - อำเภอพระทองคำ เทศบาลตำบลพระทองคำ - อำเภอเมืองยาง เทศบาลตำบลเมืองยาง - อำเภอลำทะเมนชัย เทศบาลตำบลหนองบัววง เทศบาลตำบลขุย - อำเภอวังน้ำเขียว เทศบาลตำบลศาลเจ้าพ่อ - อำเภอสีดา เทศบาลตำบลสีดา - อำเภอหนองบุญมาก เทศบาลตำบลหนองหัวแรต เทศบาลตำบลแหลมทอง
  • 23. เศรษฐกิจ นักลงทุนทั้งในประเทศไทยและต่างชาติต่างให้ความสำคัญกับจังหวัดนี้มาก จึงได้ตั้งฉายาให้กับจังหวัดนี้ว่าเป็น &quot; มหานครแห่งอีสาน &quot; เป็นเสมือนเมืองหลวงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะเป็นศูนย์กลางทางด้านต่าง ๆ ของภูมิภาค ได้แก่ การปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข การคมนาคมขนส่ง การอุตสาหกรรม การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การลงทุน การสื่อสารโทรคมนาคม ฯลฯ มีคำขวัญของเมืองโคราชว่า “ มหานครแห่งอีสาน เมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ประตูเชื่อมโยงพันธมิตร สร้างเศรษฐกิจสู่สากล”
  • 24. กลุ่มประชากร ปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมามีประชากรมากเป็นอันดับหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติหรือหลายชาติพันธุ์ แต่กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครราชสีมาที่มีจำนวนมากมีอยู่สองกลุ่มใหญ่คือ ไทย ( หรือเรียกอีกอย่างว่า ไทยโคราช ) และอีกกลุ่มคือ ลาว ( หรือไทยอีสาน ) และมีชนกลุ่มน้อยอีกได้แก่ มอญ กุย ( หรือส่วย ) ชาวบน จีน ไทยวน ญวน และแขก
  • 25. ไทย กลุ่มชาติพันธุ์ไทยที่อยู่ในนครราชสีมาเรียกอีกอย่างว่า ไทยโคราช เป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมา คนกลุ่มนี้ใช้ภาษาเหมือนไทยในส่วนกลาง เพียงแต่เสียงวรรณยุกต์เพี้ยนไปบ้าง และมีคำศัพท์สำนวนบางอย่างที่มีลักษณะเป็นของตนเอง เดิมถิ่นนี้ชาวพื้นเมืองเป็นละว้า ชาวไทยได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัย สมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองให้ขุนหลวงพะงั่วยกกองทัพมารวบรวมดินแดนแถบนี้เข้ากับกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองโปรดฯ ให้กองทหารอยุธยาตั้งด่านอยู่ประจำ และส่งช่างชาวอยุธยามาก่อสร้างบ้านเรือนและวัดวาอารามเป็นอันมาก ชาวไทยอยุธยาได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และได้อพยพมาอยู่นครราชสีมาอีกระลอกหนึ่งคือ คราวเสียกรุงครั้งที่ 2 โดยมีชาวไทยชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกได้อพยพเข้ามาเพิ่มด้วย ชาวไทยกลุ่มนี้และชาวไทยพื้นเมืองเดิม ( เข้าใจว่าเป็นชาวสยามลุ่มน้ำมูล ( ไท - เสียม ) อาจมีเขมรและมอญปนอยู่ด้วย ) สืบเชื้อสายเป็นชาวไทยโคราชและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีสืบทอดกันมา
  • 26. ลาว ลาว ( ลาวเวียง ไทยลาว หรือไทยอีสาน ) เป็นกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนประชากรมากรองจากกลุ่มไทยโคราช แต่อพยพเข้ามาทีหลัง อาศัยอยู่มากในบางอำเภอของจังหวัดนครราชสีมา เช่น อำเภอบัวใหญ่ ปักธงชัย สูงเนิน และบางส่วนของอำเภอประทาย ห้วยแถลง ชุมพวง และสีคิ้ว เป็นต้น ไทยอีสานพูดภาษาอีสานและมีขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนชาวอีสานทั่วไป กลุ่มไทยอีสานอพยพเข้ามาอยู่ในจังหวัดนครราชสีมาหลายรุ่น ส่วนใหญ่อพยพเข้ามาอยู่สมัยสงครามปราบปรามเมืองเวียงจันทน์ สมัยธนบุรี มีการกวาดต้อนครอบครัวลาวเข้ามาอยู่ในหัวเมืองชั้นใน และอพยพเข้ามาโดยสมัครใจเพิ่มขึ้นในระยะหลัง
  • 27. มอญ จากการสำรวจสำมะโนประชากรของจังหวัดนครราชสีมา เมื่อปี พ . ศ . 2446 ในสมัยรัชกาลที่ 5 พบว่า มีชาวมอญอยู่จำนวน 2 , 249 คน จากจำนวนประชากรของนครราชสีมา 402 , 668 คน ชาวมอญอพยพเข้ามาอยู่บริเวณเมืองนครราชสีมา ตั้งแต่ปี พ . ศ . 2318 ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชทานครัวมอญที่อพยพเข้ามาสวามิภักดิ์ มีพระมหาโยธา ( เจ่ง ) เป็นหัวหน้า แบ่งให้พระยานครราชสีมานำขึ้นมาอยู่ที่เมืองนครราชสีมา ตั้งครัวมอญที่ลำพระเพลิง เขตอำเภอปักธงชัยที่บ้านพลับพลา อำเภอโชคชัย พระยาศรีราชรามัญผู้เป็นหัวหน้าพาญาติพี่น้องมาอยู่ในเมืองเป็นสายกองส่วยทอง ตั้งบ้านเรือนเรียกว่าบ้านมอญ เมื่อเกิดกบฎเจ้าอนุวงศ์ เมื่อปี พ . ศ . 2336 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยามหาโยธา ( ทอเรีย ) คุมกองมอญมาสมทบมาร่วมรบกับกำลังฝ่ายไทย เมื่อเสร็จศึกแล้วพวกมอญเห็นเมืองปักธงชัยอุดมสมบูรณ์จึงมาตั้งถิ่นฐาน ปัจจุบันชาวมอญในนครราชสีมายังรักษาวัฒนธรรมประเพณีมอญไว้ เช่น ภาษา การไหว้ผี การเล่นสะบ้าในเขตบ้านท่าโพธิ บ้านสำราญเพลิง ตำบลนกออก อำเภอปักธงชัย ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ทำเครื่องปั้นดินเผา ภาษามอญจะใช้พูดในชาวไทยมอญที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป คนรุ่นหลังจากนี้จะพูดภาษาไทยโคราชทั้งสิ้น
  • 28. ส่วย ส่วย หรือ ข่า เป็นชนพื้นเมืองของหัวเมืองเขมรป่าดงและเมืองนครราชสีมา พูดภาษาตระกูลมอญ - เขมร ได้อยู่ในพื้นที่นี้ก่อนที่คนไทยจะเข้ามามีอิทธิพลเหนือดินแดนบริเวณลุ่มแม่น้ำมูลตอนบน เมื่อปี พ . ศ . 2362 เจ้าเมืองนครราชสีมา ( ทองอินทร์ ) ตีข่าได้ แล้วนำมายังเมืองนครราชสีมา ภาษาส่วย เป็นภาษาของชาวส่วยที่อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหัดบุรีรัมย์ ที่มาตั้งหลักแหล่งอยู่ที่ ตำบลห้วยแถลง อำเภอห้วยแถลง ปัจจุบันมีเฉพาะผู้ที่อายุเกิน 40 ปีขึ้นไป ที่ยังคงใช้ภาษาส่วยในกลุ่มของตนเอง นอกจากนั้นจะใช้ภาษาไทยโคราชเป็นพื้น
  • 29. ญัฮกุร ญัฮกุร หรือ เนียะกุล เป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ตามไหล่เขาหรือเนินเขาเตี้ย ๆ บริเวณด้านในของที่ราบสูงโคราช ชาวบนอาจสืบเชื้อสายมาจากคนในสมัยทวารวดี อยู่ในบางหมู่บ้านของอำเภอปักธงชัย อำเภอครบุรี และอำเภอหนองบุญมาก ภาษาชาวบน เป็นภาษาตระกูลมอญ - เขมร ปัจจุบันชาวบนพูดภาษาชาวบนเฉพาะผู้ที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป นอกจากนั้นใช้ภาษาไทยโคราช
  • 30. ไทยวน ไทยวน หรือ ไทยโยนก เป็นเผ่าไทยในภาคเหนือของไทย ได้อพยพเข้ามาอยู่ที่อำเภอสีคิ้วสองทางด้วยกันคือ พวกแรกอพยพจากทางเหนือมาอยู่ที่อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ต่อมาเจ้าเมืองสระบุรีต้องการตั้งกองเลี้ยงโคนมที่เมืองนครจันทึก จึงได้แบ่งครอบครัวชาวไทยยวนจากอำเภอเสาไห้ไปอยู่ที่อำเภอสีคิ้ว ส่วนอีกพวกหนึ่งอพยพมาจากเวียงจันทน์ ชาวไทยยวนยังรักษาประเพณีและวัฒนธรรมแบบโยนกไว้ได้ดีมาก ภาษาไทยยวน ใช้พูดในหมู่ไทยยวนด้วยกันเองซึ่งมีอยู่ประมาณ 5 , 000 คน ในเขตอำเภอสีคิ้ว ในท้องที่ตำบลลาดบัวขาว ตำบลสีคิ้ว และตำบลบ้านหัน นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม ชาวจีน ชาวเวียดนาม และชาวแขก
  • 31. ตัวอย่างบุคคลที่มีชื่อเสียงจากนครราชสีมา สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระ พลเอก ชาติชาย พลเอก สุรยุทธ์ อุดมพร พลศักดิ์ พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์
  • 32. ปรัชญา ปิ่นแก้ว สุเทพ วงศ์กำแหง ศิริศักดิ์ นันทเสน พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ
  • 33. สถานที่ท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒธรรม ท้าวสุรนารี อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี
  • 34. ท้าวสุรนารี ( อักษรละติน : Thao Suranari) หรือ ย่าโม ( พ . ศ . 2314 — พ . ศ . 2395) บุคคลในประวัติศาสตร์ไทย ในฐานะวีร สตรีผู้กอบกู้เมืองนครราชสีมาจากกองทัพของเจ้าอนุวงศ์ พระมหากษัตริย์แห่งเวียงจันทน์ เมื่อปี พ . ศ . 2369 อย่างไรก็ตาม ใน ปัจจุบันได้เกิดข้อสงสัยขึ้นมาว่าท้าวสุรนารีมีตัวตนอยู่จริงหรือไม่ เนื่องจากเรื่องราวของท้าวสุรนารีพบในหลักฐานเป็นบันทึกที่ออก เผยแพร่ภายหลัง พ . ศ . 2475 เท่านั้น
  • 35. วีรกรรมของท้าวสุรนารี และบำเหน็จความชอบ วีรกรรมของคุณหญิงโมนั้นเป็นที่คนไทยรุ่นหลังทราบดีว่า เมื่อพุทธศักราช 2369 เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ เป็นกบฏต่อกรุงเทพมหานคร ยกกองทัพเข้ามายึดเมืองนครราชสีมาได้ แล้วกวาดต้อนครอบครัวชาวนครราชสีมาไป คุณหญิงโม และนางสาวบุญเหลือ ได้รวบรวมครอบครัวชาย หญิงชาวนครราชสีมาที่ถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลย เข้าต่อสู้ฆ่าฟันทหารลาวล้มตายเป็นอันมาก ณ ทุ่งสัมฤทธิ์ แขวงเมืองนครราชสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พุทธศักราช 2369 ช่วยให้ฝ่ายไทยสามารถกอบกู้เมืองนครราชสีมากลับคืนมาได้ในที่สุด เครื่องยศพระราชทานแก่ท้าวสุรนารี - ถาดทองคำใส่เครื่องเชี่ยนหมาก 1 ใบ - จอกหมากทองคำ 1 คู่ - ตลับทองคำ 3 ใบเถา - เต้าปูนทองคำ 1 ใบ - คนโท และขันน้ำทองคำอย่างละ 1 ใบ
  • 36. นางสาวบุญเหลือ นางสาวบุญเหลือ หรือ ย่าเหลือ บุคคลในประวัติศาสตร์ไทย ในฐานะวีรสตรี ที่มีส่วนสำคัญในการกอบกู้เมืองนครราชสีมาร่วมกับท้าวสุรนารี จากการเข้ายึดตีเมือง ของกองทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ ณ ทุ่งสัมฤทธิ์ ปี พ . ศ . 2369 ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3
  • 37. ประวัติ และวีรกรรมของนางสาวบุญเหลือ นางสาวบุญเหลือ เป็นบุตรีของ หลวงเจริญ กรมการผู้น้อยแห่งเมืองนครราชสีมา ครอบครัวของหลวงเจริญ มีความใกล้ชิดสนิทสนม และเคารพนับถือ พระยาปลัดเมืองนครราชสีมา และคุณหญิงโม เป็นอันมาก อีกทั้งพระยาปลัดเมือง และคุณหญิงโม ไม่มีบุตร และธิดา จึงได้รัก และเอ็นดูนางสาวบุญเหลือ ดุจว่าเป็นลูกหลานแท้ ๆ เมื่อ ปี พ . ศ . 2369 เจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์ ได้ยกกองทัพเข้าแผ่นดินไทย จนถึงเมืองนครราชสีมา โดยอ้างว่า มีพระราชโองการให้ยกทัพไปกรุงเทพ เพื่อช่วยรบกับอังกฤษ และเนื่องจากในขณะนั้น เจ้าเมืองนครราชสีมา และพระยาปลัดเมืองไม่อยู่ ไปราชการเมืองขุขันธ์ เจ้าอนุวงศ์จึงยกทัพ เข้ายึดเมืองนคราชสีมาได้โดยง่าย แล้วกวาดต้อนผู้คนชาวนครราชสีมาเป็นเชลยขึ้นไปยังเวียงจันทน์ ในจำนวนเชลยเหล่านั้น มีคุณหญิงโม และนางสาวบุญเหลือรวมอยู่ด้วย
  • 38. ระหว่างที่กองทัพเจ้าอนุวงศ์ และทหารลาว หยุดพักค้างแรมระหว่างเดินทางไปเวียงจันทน์ ณ ทุ่งสัมฤทธิ์ แขวงเมืองนครราชสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ . ศ . 2369 คุณหญิงโม ร่วมกับ นางสาวบุญเหลือ และหลวงณรงค์สงคราม หัวหน้าชาวเมือง ได้ใช้กลอุบาย โดยให้ชาวเมืองเลี้ยงสุราอาหารแก่ทหารลาวที่ควบคุมตัวมา เมื่อทหารเจ้าอนุวงศ์หลงกลกินเหล้าเมายาจนขาดสติเกือบหมดกองทัพ เมื่อได้โอกาสอันเหมาะสมแล้ว กำลังชาวโคราชที่ทุ่งสัมฤทธิ์ทั้งชาย และหญิง ก็แย่งอาวุธโจมตีเข่นฆ่าทหารลาวจนล้มตายเป็นจำนวนมาก ทำให้แผนกอบกู้อิสรภาพของนครราชสีมาสำเร็จ และในเหตุการณ์ครั้งนั้น นางสาวบุญเหลือได้เสียสละพลีชีพด้วยการนำไม้ฟืนจากกองไฟ วิ่งหลอกล่อทหาร ตรงไปยังกองเกวียน กระสุนดินดำของกองทัพทหารลาว จนเกิดการระเบิด แสงเพลิงแดงฉานไปทั่วท้องทุ่งสัมฤทธิ์ ด้วยการตัดสินใจด้วยปฏิภาณอันห้าวหาญ เด็ดเดี่ยวในวีรกรรมครั้งนี้ ของนางสาวบุญเหลือ ยังคงประทับแน่นอยู่ในความทรงจำ ของลูกหลานชาวนครราชสีมาตลอดไม่รู้ลืม
  • 39. ประตูเมืองนครราชสีมา ประตูเมืองนครราชสีมา รวมทั้ง กำแพงเมือง และ คูเมือง เป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของตัวเมืองนครราชสีมา ที่ได้ก่อสร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ปัจจุบันมีประตูชุมพลที่ยังคงรูปลักษณ์เดิมอยู่ได้ และนับเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของนครราชสีมา ประตูเมืองนครราชสีมามีทั้งหมด 4 ประตู คือ 1. ประตูชุมพล 2. ประตูพลแสน 3. ประตูพลล้าน 4. ประตูไชยณรงค์
  • 40. รายละเอียดของประตูเมือง ประตูชุมพล ก่อนการบูรณะ ประตูชุมพล ประตูเมืองทางทิศตะวันตกของเขตเมืองเก่า เป็นประตูเมืองเพียงแห่งเดียว ในบรรดาประตูเมืองทั้งหมด 4 ประตูของเมืองนครราชสีมา ที่ยังคงสภาพเดิมอยู่พร้อมกำแพงเมืองเก่า สำหรับ ชื่อประตู &quot; ชุมพล &quot; นั้นหมายความถึง ที่ชุมนุมพลส่วนใหญ่ เป็นประตูสำหรับเตรียมไพร่พล และออกศึก เนื่องจากมีภูมิประเทศเปิดกว้าง ไม่มีป้อมปราการตามธรรมชาติเหมือนประตูอื่น ๆ ในอดีตมีความเชื่อว่า เมื่อลอดผ่านประตูชุมพลไปทำศึกแล้ว จะแคล้วคลาดได้กลับบ้านเมือง
  • 41.
  • 42. ประตูไชยณรงค์ ประตูเมืองทางทิศใต้ ชาวเมืองเรียกประตูนี้ว่า &quot; ประตูผี &quot; เนื่องจากในอดีต มีประเพณีความเชื่อว่า เมื่อมีคนตายขึ้นในเมือง ห้ามมีการเผา หรือฝังเอาไว้ในเมือง ให้ออกไปจัดการกันที่นอกเมือง โดยให้นำศพผ่านออกทางประตูนี้เพียงประตูเดียว นอกจากนั้นแล้ว ทางทิศใต้นี้ยังมีบึงใหญ่ มีชื่อเรียกว่า &quot; หนองบัว &quot; สำหรับชื่อประตู &quot; ไชยณรงค์ &quot; นั้น เนื่องมาจาก เมื่อยามเกิดศึกสงคราม ประตูนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ยากต่อการโจมตีของข้าศึก เพราะภูมิประเทศด้านนี้ เต็มไปด้วยหนองน้ำขนาดใหญ่ และเล็ก แต่ในปัจจุบัน หนองน้ำเหล่านั้นได้ถูกถมไปหมดแล้ว
  • 43. ประตูพลล้าน ประตูเมืองทางทิศตะวันออก ชาวเมืองเรียกประตูนี้ว่า &quot; ประตูตะวันออก &quot; หรือ &quot; ประตูทุ่งสว่าง &quot; แต่เดิม ทิศนี้มีบึงใหญ่ที่เรียกว่า &quot; บึงทะเลหญ้าขวาง &quot; มีพื้นที่กว้างไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร ส่วนกลางเป็นบึงใหญ่ และมีพื้นที่สำหรับเลี้ยงสัตว์พาหนะ ซึ่งเป็นที่ตั้งของ &quot; วัดทุ่งสว่าง &quot; สำหรับชื่อประตู &quot; พลล้าน &quot; นั้น นัยว่าเพื่อเป็นการข่มขวัญข้าศึก ที่ถึงจะยกทัพมาสักล้าน ก็ยังต่อสู้ได้
  • 44. อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ผังอุอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วยโบราณสถานสมัยอาณาจักรขอมที่ใหญ่โตและงดงาม
  • 45. ประวัติ เมืองพิมายเป็นเมืองที่สร้างตามแบบแผนของศิลปะขอม มีลักษณะเป็นเวียงสี่เหลี่ยม ชื่อ พิมาย น่าจะมาจากคำว่า วิมาย หรือ วิมายปุระ ที่ปรากฏในจารึกภาษาขอมบนแผ่นหินตรงกรอบประตูระเบียงคดด้านหน้าของปราสาท จากหลักฐานศิลาจารึกและศิลปะสร้างบ่งบอกว่า ปราสาทหินพิมายคงเริ่มสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ รูปแบบของศิลปะเป็นแบบบาปวนผสมผสานกับศิลปะแบบนครวัด ซึ่งหมายถึงปราสาทนี้ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นสถานที่ทางศาสนาพุทธในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
  • 46. โบราณสถาน ตัวอุทยานตั้งอยู่ฟากทิศตะวันออกของแม่น้ำมูล บนพื้นที่ 115 ไร่ วางแผนเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 565 เมตร ยาว 1 , 030 เมตร ลักษณะพิเศษของปราสาทหินพิมาย คือ ปราสาทหินแห่งนี้สร้างหันหน้าไปทางทิศใต้ ต่างจากปราสาทหินอื่นๆที่มักหันไปทางทิศตะวันออก สันนิษฐานว่าเพื่อให้หันรับกับเส้นทางตัดมาจากเมืองยโศธรปุระ เมืองหลวงในสมัยนั้นของขอม ซึ่งเข้ามาสู้เมืองพิมายทางทิศใต้
  • 47. ปราสาทหินพนมวัน ปราสาทหินพนมวัน ตั้งอยู่ที่บ้านมะค่า ตำบลโพธิ์ ถนนสายโคราช - ขอนแก่น จังหวัดนครราชสีมา เป็นโบราณสถานสถาปัตยกรรมในคติความเชื่อของเขมรโบราณ สร้างราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 เพื่อเป็นเทวสถาน ต่อมาภายหลังดัดแปลงเป็นพุทธสถาน เป็นปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย
  • 48. แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ น้ำตกเหวนรก เป็นน้ำตกที่เกิดจากคลองท่าด่าน น้ำตกเหวนรกเป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นน้ำตกที่มีความสูงและสวยงามมากแห่งหนึ่งของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ แต่เดิมก่อนที่จะมีการตัดถนนสายปราจีนบุรี - เขาใหญ่นั้น จะต้องเดินเท้าเข้ามาโดยใช้เวลาไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง แต่หลังจากตัดถนนสายปราจีนบุรี - เขาใหญ่เสร็จแล้ว ถนนตัดผ่านใกล้น้ำตกเหวนรกมาก โดยมีลานจอดรถห่างจากตัวน้ำตกเพียง 1 กิโลเมตรเท่านั้น ระหว่างทางสามารถเดินชมธรรมชาติอันสวยงามสองข้างทางได้ เมื่อถึงตัวน้ำตกจะมีบันไดลงไปอีกราว 50 เมตร ซึ่งค่อนข้างแคบและชัน แต่เมื่อลงไปถึงจุดชมวิวก็จะเห็นความยิ่งใหญ่อลังการของน้ำตกได้อย่างสวยงาม หากไปในฤดูฝนมีน้ำมาก ละอองน้ำจะกระเซ็นต้องกับแสงอาทิตย์เป็นสายรุ้งอย่างงดงาม แต่หากมาชมในหน้าแล้งนั้นอาจต้องผิดหวังเพราะไม่มีน้ำ เห็นแต่เพียงหน้าผาแห้งๆ เท่านั้น
  • 49. น้ำตกผากล้วยไม้ เกิดจากห้วยลำตะคอง การเดินทางมาจะต้องจอดรถที่ลานกางเต๊นท์ผากล้วยไม้ แล้วเดินเท้าเลาะไปตามห้วยลำตะคอง ผ่านป่าดงดิบตลอดทาง หากโชคดีอาจพบนกบางชนิด เช่น นกกางเขนหลังเทา เมื่อเดินเข้ามาประมาณ 1.2 กิโลเมตร ก็จะถึงน้ำตกผากล้วยไม้ มีป้ายเขียนเอาไว้ชัดเจน น้ำตกผากล้วยไม้นั้นลักษณะเป็นผาไม่สูงนัก ชื่อน้ำตกผากล้วยไม้นี้มาจากมีกล้วยไม้หลายชนิดเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะกล้วยไม้หวายแดง ซึ่งจะออกดอกช่วงเดินเมษายน
  • 50. น้ำตกเหวสุวัต เป็นน้ำตกอีกแห่งที่สวยงามของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ โดยเกิดจากห้วยลำตะคองไหลตกผ่านหน้าผาสูงราว 25 เมตร และมีแอ่งน้ำทางด้านล่างเหมาะแก่การเล่นน้ำเป็นอย่างมาก แต่ทางอุทยานแห่งชาติได้มีป้ายประกาศว่าห้ามเล่นน้ำไว้เนื่องจากกลัวอันตรายว่าจะมีน้ำป่าไหลหลากเฉียบพลัน ในฤดูฝนสายน้ำที่ตกลงมาจะเป็นละอองกระจายเต็มไปหมด ทำให้รู้สึกสดชื่นเย็นสบาย แต่หากมาในฤดูน้ำน้อย จะสามารถเดินลัดเลาะเพื่อเข้าไปยังโพรงถ้ำเล็กๆ ใต้หน้าผาน้ำตกได้
  • 51. จุดชมวิวผาตรอมใจ ตั้งอยู่เลยทางเข้าเส้นทางศึกษาธรรมชาติผาเดียวดายไปอีกเล็กน้อย คือเป็นทางเข้าของศูนย์เรดาร์ของกองทัพอากาศ บริเวณนี้จริงๆ แล้วเป็นเขตทหาร แต่ได้จัดให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมได้บริเวณจุดชมวิวผาตรอมใจ เมื่อมองออกไปจะแลเห็นทุ่งหญ้ากว้างไกลสุดลูกหูลูกตา บริเวณนี้ค่อนข้างเงียบสงบเนื่องจากเป็นเขตทหารและอยู่ไกลจากแหล่งท่องเที่ยวอื่นอีกทั้งการเดินทางมาก็ค่อนข้างลำบากเพราะไกลและถนนไม่ดี มีคนมาน้อย บรรยากาศเงียบสงบจึงมีนกหลายชนิดให้ศึกษา บางวันจะมีช่างภาพพร้อมกล้องถ่ายรูปและเลนส์ขนาดใหญ่สำหรับถ่ายภาพนกมานั่งเงียบๆ คอยนกมาเกาะบนกิ่งไม้แล้วถ่ายภาพ
  • 52. หนองผักชี แต่เดิมนั้นเคยมีชาวบ้านขึ้นมาจับจองพื้นที่อาศัยอยู่บนเขาใหญ่ และถางป่าเพื่อปลูกพืชผักบางอย่าง เช่น ผักชี พริก เป็นต้น โดยอาศัยแหล่งน้ำคือหนองผักชีนี้เพื่อการเกษตรกรรม เมื่อทางการได้สั่งให้อพยพออกจากเขาใหญ่ พื้นที่ที่เคยปลูกพืชก็ถูกทิ้งร้างมีหญ้าขึ้นสูง เป็นแหล่งอาหารให้กับสัตว์กินพืชซึ่งจะลงมากินหญ้าที่บริเวณนี้เป็นประจำ ทางอุทยานแห่งชาติได้สร้างหอดูสัตว์หนองผักชีเพื่อใช้ดูสัตว์ที่ลงมากินหญ้า โดยสัตว์มักลงมากินหญ้าตอนเช้าตรู่และตอนเย็น
  • 53.  
  • 54.  
  • 55. บรรณานุกรม วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี “ จังหวัดนครราชสีมา ,” ข้อมูลท่องเที่ยว จังหวัดนครราชสีมา . 4 พ . ย . 2553 < ( http :// th . wikipedia . org / wiki> . 4 พ . ย . 2553 บริษัท โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ “ ปราสาทหินพิมาย ,” ปราสาทหินพิมาย . 4 พ . ย . 2553 < ( http :/ / www . oceansmile . com / N / Nan / NANm7 . htm> . 4 พ . ย . 2553 . Kapok “ แหล่งท่องเที่ยว จ . นครราชสีมา ,” นครราชสีมา เมืองหญิงกล้า . 4 พ . ย . 2553< ( http :// travel . kapook . com / view7171 . html ). 4 พ . ย . 2554
  • 56. จัดทำโดย นางสาว สุพัตรา พยัฆชน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด