SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
พื้นฐานของอะตอม
Basic Atom
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
ในการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดสรุปว่าอะตอมมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็น
องค์ประกอบ ดังนั้น การคิดมวลอะตอมควรคิดจากมวลโปรตอนรวมกับมวลของอิเล็กตรอน
แต่มวลของอิเล็กตรอนน้อยมาก การคิดมวลอะตอมจึงคิดจากมวลโปรตอน พบว่ามวลโปรตอน
1 โปรตอนเท่ากับ 1.673 x 10–24 กรัม หรือคิดเป็น 1 หน่วยมวลอะตอม (1 amu = 1
atomic mass unit) ดังนั้นมวลอะตอมควรมีค่าเท่ากับหรือใกล้เคียงกับจานวนโปรตอน แต่
จากการทดลองกลับพบว่ามวลอะตอมจริง ๆ มีค่าเป็น 2 เท่าหรือมากกว่า 2 เท่าของจานวน
โปรตอน ในปี พ.ศ. 2463 (หรือค.ศ.1920) รัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอความเห็นว่าน่าจะมีอนุภาค
อีกชนิดหนึ่งที่เป็นกลางทางไฟฟ้าซึ่งมีมวลใกล้เคียงกับมวลโปรตอน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) เจมส์ แชดวิก (James
Chadwick) ได้ค้นพบอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ไม่มีประจุไฟฟ้า และตั้งชื่อ
ว่า “นิวตรอน” (neutron) นิวตรอนมีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย โดยมี
มวลเท่ากับ 1.675 x 10–24 กรัม และรัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอว่านิวตรอนเป็น
อนุภาคที่อยู่ในนิวเคลียสของอะตอม ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์พบว่าโปรตอน
และนิวตรอนอัดกันแน่นอยู่ในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์
(nuclear force) และอนุภาคที่ประกอบเป็นนิวเคลียสเรียกว่า “นิวคลีออน”
(nucleon)
เจมส์ แชดวิก (James Chadwick)
อนุภาคในอะตอม
ในปัจจุบันพบว่าในอะตอมประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ มากกว่า 30 ชนิด และแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. อนุภาคที่ไม่เสถียร (unstable particles) เป็นอนุภาคที่ไม่อยู่ตัว สลายตัวได้ง่าย อนุภาคเหล่านี้เกิด
จากการยิงนิวเคลียสของอะตอมด้วยอนุภาคชนิดต่าง ๆ ตัวอย่างอนุภาคที่ไม่เสถียรได้แก่ positron ,
antiproton , neutrino เป็นต้น
2. อนุภาคที่เสถียร (stable particles) เป็นอนุภาคที่อยู่ตัว ไม่สลายตัว มี 3 ชนิดคือ โปรตอน นิวตรอน
และอิเล็กตรอน เรียกอนุภาคทั้งสามว่า “อนุภาคมูลฐานของอะตอม”
4
เลขอะตอม เลขมวล และสัญลักษณ์
นิวเคลียร์
1. เลขอะตอม (Atomic number)
คือตัวเลขที่แสดงจานวนโปรตอนของธาตุ
ใช้สัญลักษณ์ Z นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่
หาเลขอะตอมได้คือ เฮนรี โมสลีย์ เป็น
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เลขอะตอมเป็น
ค่าเฉพาะสาหรับธาตุหนึ่ง ๆ ธาตุแต่ละชนิด
มีเลขอะตอมไม่ซ้ากัน ดังนั้นเลขอะตอมจึง
บอกชนิดของธาตุได้
6
2. เลขมวล (Mass number)
คือตัวเลขที่แสดงผลรวมของจานวน
โปรตอนและจานวนนิวตรอน มี
สัญลักษณ์ A เลขมวลจะมีค่าใกล้เคียงกับ
มวลอะตอม (Atomic mass) แต่เลขมวล
เป็นเลขจานวนเต็มเสมอ ส่วนมวลอะตอม
อาจเป็นจานวนเต็มหรือทศนิยมก็ได้ และ
เลขมวลไม่เป็นค่าเฉพาะสาหรับธาตุ ธาตุ
ต่างชนิดกันอาจมีเลขมวลเท่ากันได้
3. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (nuclear
symbol)
เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้ทราบว่า
อะตอมของธาตุ 1 อะตอม
ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานอย่างละ
กี่อนุภาค โดยเขียนสัญลักษณ์ของ
ธาตุซึ่งแสดงเลขมวลที่มุมบน
ด้านซ้าย และเขียนเลขอะตอมที่มุม
ล่างด้านซ้าย
ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์
7
ไอโซโทป (Isotope)
หมายถึงอะตอมของธาตุชนิด
เดียวกัน แต่มีเลขมวลต่างกัน หรือ
อะตอมของธาตุที่มีเลขอะตอม
เท่ากัน แต่มีจานวนนิวตรอนต่างกัน
อะตอมที่มีเลขมวลหรือจานวนโปรตอน
แต่ละจานวนเรียกว่า 1 ไอโซโทป
ไอโซโทน (Isotone)
หมายถึงอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน
มีเลขอะตอมและเลขมวลต่างกัน
แต่มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน
ไอโซบาร์ (Isobar)
หมายถึงอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน
แต่มีเลขมวลเท่ากัน
Atom structure
8
9
ในแต่ละวัตถุธาตุที่มองเห็น จะประกอบด้วยโครงสร้างที่จับตัวอยู่อย่างสลับซับซ้อนโครงสร้างผลึก (Crystal
Structure) จะประกอบด้วยหน่วยเซลล์ (Unit Cells) เป็นจานวนมากในแต่ละหน่วยเซลล์ จะประกอบด้วยอะตอม (Atom) ที่
มีจานวนมากน้อยต่างกัน ตามลักษณะโครงสร้างแต่ละแบบ และในแต่ละอะตอม จะมีพลังของการยึดเหนี่ยวระหว่าง โปรตอน
(Protons) และนิวตรอน (Neutron) จับตัวกันเป็นนิวเคลียส (Nucleus) อยู่ตรงกลางซึ่งมีขนาดเล็กมาก
10
อะตอม (Atom) คืออนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุ ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกด้วย
วิธีการใด ๆ ธาตุทุกชนิดประกอบด้วยอะตอมจานวนมาก ซึ่งอะตอมเหล่านี้ประกอบด้วย
อนุภาคที่เล็กที่สุดลงไปอีก เรียกว่าโปรตอน (Proton) นิวตรอน (Neutron) และอิเล็กตรอน
(Electron) โปรตอนและนิวตรอนจะปรกอบกันอยู่กึ่งกลางอะตอมเรียกว่า นิวเคลียส
(Nucleus) ส่วนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่อยู่ตามวงโคจรรอบ ๆ นิวเคลียส โดยอิเล็กตรอนที่
ประจุไฟฟ้าลบ โปรตอนเป็นประจุไฟฟ้าบวก และนิวตรอนเป็นประจุไฟฟ้ากลาง เมื่ออะตอม
เป็นอิสระ จานวนโปรตอนรอนจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน น้าหนักของอะตอมจะเท่ากับ
น้าหนักของโปรตอนกับนิวตรอน ส่วนจานวนโปรตอนหรืออิเล็กตรอนที่อยู่ในอะตอมที่
เรียกว่า Atomic Number เช่น C = 6 หมายถึงคาร์บอน 1 อะตอมหนักเป็น 6 เท่าของโฮ
โดรเจน 1 อะตอม เป็นค่าของนาหนักอะตอม (Atomic Weight)
11
โดยที่อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ นิวเคลียส การ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน นั้น จะมีระยะแตกต่างกันเป็นชั้น ๆ เรียก
เซลล์ (Shell) ซึ่งในแต่ละเซลล์จะมีระดับของพลังงานแตกต่างกัน
อิเล็กตรอนในแต่ละเซลล์ จะมีจาจวนจากัดดังรายละเอียดแสดงใน
ตารางที่ 1 อิเล็กตรอนในเซลล์นอกสุดของแต่ละธาตุโลหะเรียกว่า
วาเลนช์อิเล็กตรอน (Valence Electron) ซึ่งจะไม่มีเกินกว่า 8 ตัว
Thanks!Any questions?
You can find me at @username & user@mail.me
👍
12

More Related Content

What's hot

บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidNaynui Cybernet
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานแบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานkrupatcharee
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1areerd
 
การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนkrupatcharee
 

What's hot (19)

บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานแบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอน
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 

Similar to Basicatom

เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 

Similar to Basicatom (10)

เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 

Basicatom

  • 2. อนุภาคมูลฐานของอะตอม ในการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดสรุปว่าอะตอมมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็น องค์ประกอบ ดังนั้น การคิดมวลอะตอมควรคิดจากมวลโปรตอนรวมกับมวลของอิเล็กตรอน แต่มวลของอิเล็กตรอนน้อยมาก การคิดมวลอะตอมจึงคิดจากมวลโปรตอน พบว่ามวลโปรตอน 1 โปรตอนเท่ากับ 1.673 x 10–24 กรัม หรือคิดเป็น 1 หน่วยมวลอะตอม (1 amu = 1 atomic mass unit) ดังนั้นมวลอะตอมควรมีค่าเท่ากับหรือใกล้เคียงกับจานวนโปรตอน แต่ จากการทดลองกลับพบว่ามวลอะตอมจริง ๆ มีค่าเป็น 2 เท่าหรือมากกว่า 2 เท่าของจานวน โปรตอน ในปี พ.ศ. 2463 (หรือค.ศ.1920) รัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอความเห็นว่าน่าจะมีอนุภาค อีกชนิดหนึ่งที่เป็นกลางทางไฟฟ้าซึ่งมีมวลใกล้เคียงกับมวลโปรตอน
  • 3. ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) เจมส์ แชดวิก (James Chadwick) ได้ค้นพบอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ไม่มีประจุไฟฟ้า และตั้งชื่อ ว่า “นิวตรอน” (neutron) นิวตรอนมีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย โดยมี มวลเท่ากับ 1.675 x 10–24 กรัม และรัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอว่านิวตรอนเป็น อนุภาคที่อยู่ในนิวเคลียสของอะตอม ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์พบว่าโปรตอน และนิวตรอนอัดกันแน่นอยู่ในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ (nuclear force) และอนุภาคที่ประกอบเป็นนิวเคลียสเรียกว่า “นิวคลีออน” (nucleon) เจมส์ แชดวิก (James Chadwick)
  • 4. อนุภาคในอะตอม ในปัจจุบันพบว่าในอะตอมประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ มากกว่า 30 ชนิด และแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. อนุภาคที่ไม่เสถียร (unstable particles) เป็นอนุภาคที่ไม่อยู่ตัว สลายตัวได้ง่าย อนุภาคเหล่านี้เกิด จากการยิงนิวเคลียสของอะตอมด้วยอนุภาคชนิดต่าง ๆ ตัวอย่างอนุภาคที่ไม่เสถียรได้แก่ positron , antiproton , neutrino เป็นต้น 2. อนุภาคที่เสถียร (stable particles) เป็นอนุภาคที่อยู่ตัว ไม่สลายตัว มี 3 ชนิดคือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน เรียกอนุภาคทั้งสามว่า “อนุภาคมูลฐานของอะตอม” 4
  • 5.
  • 6. เลขอะตอม เลขมวล และสัญลักษณ์ นิวเคลียร์ 1. เลขอะตอม (Atomic number) คือตัวเลขที่แสดงจานวนโปรตอนของธาตุ ใช้สัญลักษณ์ Z นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ หาเลขอะตอมได้คือ เฮนรี โมสลีย์ เป็น นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เลขอะตอมเป็น ค่าเฉพาะสาหรับธาตุหนึ่ง ๆ ธาตุแต่ละชนิด มีเลขอะตอมไม่ซ้ากัน ดังนั้นเลขอะตอมจึง บอกชนิดของธาตุได้ 6 2. เลขมวล (Mass number) คือตัวเลขที่แสดงผลรวมของจานวน โปรตอนและจานวนนิวตรอน มี สัญลักษณ์ A เลขมวลจะมีค่าใกล้เคียงกับ มวลอะตอม (Atomic mass) แต่เลขมวล เป็นเลขจานวนเต็มเสมอ ส่วนมวลอะตอม อาจเป็นจานวนเต็มหรือทศนิยมก็ได้ และ เลขมวลไม่เป็นค่าเฉพาะสาหรับธาตุ ธาตุ ต่างชนิดกันอาจมีเลขมวลเท่ากันได้ 3. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (nuclear symbol) เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้ทราบว่า อะตอมของธาตุ 1 อะตอม ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานอย่างละ กี่อนุภาค โดยเขียนสัญลักษณ์ของ ธาตุซึ่งแสดงเลขมวลที่มุมบน ด้านซ้าย และเขียนเลขอะตอมที่มุม ล่างด้านซ้าย
  • 7. ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์ 7 ไอโซโทป (Isotope) หมายถึงอะตอมของธาตุชนิด เดียวกัน แต่มีเลขมวลต่างกัน หรือ อะตอมของธาตุที่มีเลขอะตอม เท่ากัน แต่มีจานวนนิวตรอนต่างกัน อะตอมที่มีเลขมวลหรือจานวนโปรตอน แต่ละจานวนเรียกว่า 1 ไอโซโทป ไอโซโทน (Isotone) หมายถึงอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน มีเลขอะตอมและเลขมวลต่างกัน แต่มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน ไอโซบาร์ (Isobar) หมายถึงอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน แต่มีเลขมวลเท่ากัน
  • 9. 9 ในแต่ละวัตถุธาตุที่มองเห็น จะประกอบด้วยโครงสร้างที่จับตัวอยู่อย่างสลับซับซ้อนโครงสร้างผลึก (Crystal Structure) จะประกอบด้วยหน่วยเซลล์ (Unit Cells) เป็นจานวนมากในแต่ละหน่วยเซลล์ จะประกอบด้วยอะตอม (Atom) ที่ มีจานวนมากน้อยต่างกัน ตามลักษณะโครงสร้างแต่ละแบบ และในแต่ละอะตอม จะมีพลังของการยึดเหนี่ยวระหว่าง โปรตอน (Protons) และนิวตรอน (Neutron) จับตัวกันเป็นนิวเคลียส (Nucleus) อยู่ตรงกลางซึ่งมีขนาดเล็กมาก
  • 10. 10 อะตอม (Atom) คืออนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุ ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกด้วย วิธีการใด ๆ ธาตุทุกชนิดประกอบด้วยอะตอมจานวนมาก ซึ่งอะตอมเหล่านี้ประกอบด้วย อนุภาคที่เล็กที่สุดลงไปอีก เรียกว่าโปรตอน (Proton) นิวตรอน (Neutron) และอิเล็กตรอน (Electron) โปรตอนและนิวตรอนจะปรกอบกันอยู่กึ่งกลางอะตอมเรียกว่า นิวเคลียส (Nucleus) ส่วนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่อยู่ตามวงโคจรรอบ ๆ นิวเคลียส โดยอิเล็กตรอนที่ ประจุไฟฟ้าลบ โปรตอนเป็นประจุไฟฟ้าบวก และนิวตรอนเป็นประจุไฟฟ้ากลาง เมื่ออะตอม เป็นอิสระ จานวนโปรตอนรอนจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน น้าหนักของอะตอมจะเท่ากับ น้าหนักของโปรตอนกับนิวตรอน ส่วนจานวนโปรตอนหรืออิเล็กตรอนที่อยู่ในอะตอมที่ เรียกว่า Atomic Number เช่น C = 6 หมายถึงคาร์บอน 1 อะตอมหนักเป็น 6 เท่าของโฮ โดรเจน 1 อะตอม เป็นค่าของนาหนักอะตอม (Atomic Weight)
  • 11. 11 โดยที่อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ นิวเคลียส การ เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน นั้น จะมีระยะแตกต่างกันเป็นชั้น ๆ เรียก เซลล์ (Shell) ซึ่งในแต่ละเซลล์จะมีระดับของพลังงานแตกต่างกัน อิเล็กตรอนในแต่ละเซลล์ จะมีจาจวนจากัดดังรายละเอียดแสดงใน ตารางที่ 1 อิเล็กตรอนในเซลล์นอกสุดของแต่ละธาตุโลหะเรียกว่า วาเลนช์อิเล็กตรอน (Valence Electron) ซึ่งจะไม่มีเกินกว่า 8 ตัว
  • 12. Thanks!Any questions? You can find me at @username & user@mail.me 👍 12