SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Introduction to use
ACGIH
ACGIH คืออะไร
• เป็นองค์กรนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรมภาครัฐแห่งอมเริกา
• เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไร
• เป็นองค์กรที่กาหนดค่ามาตรฐานสารเคมีในบรรยากาศการทางาน (TLV) และค่ามาตรฐาน
สารเคมีในร่างกายมนุษย์ (BEI)
• ค่า TLV และ BEI ได้มาจากการทบทวนข้อมูลทางวิทยาศาสตร์โดยคณะผู้เชี่ยวชาญ
ทางด้านสาธารณสุขและสาขาอื่นๆ
Threshold Limit Values (TLV)
• เป็นค่าความเข้มขันสารเคมีในบรรยากาศการทางาน ที่เชื่อว่าคนงานเกือบทั้งหมดสามารถ
ทางานได้โดยปราศจากผลกระทบต่อสุขภาพ
• ใช้เพื่อเป็นแนวทางหรือข้อเสนอเพื่อช่วยในการประเมินและควบคุวสิ่งคุกคามสุขภาพในที่
ทางานเท่านั้น
• แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ TWA, STEL และ C
Time-weighted average (TWA)
• หมายถึง ระดับค่าเฉลี่ยความเข้มข้นสารเคมีในอากาศเฉลี่ยตลอดเวลา 8 ชั่วโมงต่อวัน และ
40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
• เป็นค่าที่เชื่อว่าคนงานส่วนใหญ่สามารถสัมผัสสารเคมีในบรรยากาศในระดับต่ากว่าหรือเท่ากับ
ระดับนี้ต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ชั่วโมงงต่อวันและ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อ
สุขภาพ
Short-term exposure limt (STEL)
• เป็นระดับความเข้มข้นสารเคมีในอากาศที่คนงานต้องไม่สัมผัสนานมากกว่า 15 นาที
• เป็นระดับที่เชื่อว่าคนงานสามารถสัมผัสเป็นระยะเวลาสั้นได้โดยไม่ทาให้เกิดอาการ
oการระคายเคือง
oการทาลายเนื้อเยื่อแบบถาวร
oการเกิดพิษแบบฉับพลัน
oการง่วงซึม
• ใช้เป็นค่าเสริมกับ TLV-TWA
• หากสัมผัสกับความเข้มข้นสารเคมีระดับนี้ ต้องสัมผัสไม่เกิน 4 ครั้ง แต่ละครั้งต่องห่างกันอย่าง
น้อย 60 นาที
Ceiling (C)
• เป็นระดับความเข้มข้นสารเคมีในอากาศที่คนงานห้ามสัมผัสเลยตลอดระยะเวลาการทางาน
สารผสม
• ในกรณีที่มีสารเคมีหลายชนิดที่ส่งผลกระทบแบบเดียวกันต่ออวัยวะเดียวกัน
ความเข้มข้นในอากาศ
ค่าจากัด
ระยะเวลาการทางานที่ไม่ปกติ
• คนงานที่มีระยะเวลาการทางานแตกต่างไปจาก 8 ชั่วโมงต่อวัน หรือ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
จาเป็นต้องได้รับการคุ้มครองเช่นเดียวกับคนที่มีระยะเวลาการทางานปกติ
• ระดับ TLV ควรมีการปรับเพื่อให้มั่นใจว่าคนงานสามารถทางานได้อย่างปลอดภัย
• ระดับความเข้มข้นที่สัมผัสได้แปลผกผันกับระยะเวลาการสัมผัส
การปรับค่า TLV
• Brief and Scala model
oคิดเวลาการทางาน และเวลาที่หยุดพัก
𝑅𝐹 =
24 − ℎ
16
×
8
ℎ
การปรับค่า TLV
• OSHA model
oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ
1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 =
8
ℎ(𝑑)
2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 =
40
ℎ(𝑤𝑘)
การปรับค่า TLV
• OSHA model
oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ
1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 =
8
ℎ(𝑑)
2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 =
40
ℎ(𝑤𝑘)
การปรับค่า TLV
• Pharmacokinetic model
o ใช้หลักการทางพิษวิทยา ร่วมกับระยะเวลาการทางาน
• Quebec model
o ใช้หลักการของ OSHA แต่มีการระบุพิษสารเคมีต่างๆว่าเป็นพิษเฉียบพลัน หรือพิษเรื้อรัง
หน่วยของ TLV
• ppm หรือ mg/m3 ขึ้นอยู่กับว่าเป็น gas, aerosol หรือ vapor
• Gas เป็นสารเคมีที่เคลื่อนที่ได้อิสระในอากาศ ไม่มีรูปร่างหรือปริมาตณที่แน่นอน (หากไม่ถูกบรรจุ)
• Aerosol เป็นแขวนลอยของละอองของแข็งหรือของเหลวในอากาศ
• Vapor เป็นสารเคมีที่อยู่ในสถานะก๊าซ ระเหยมาจากของแข็งหรือของเหลว mg/m3
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Documentation
oเอกสารอ้างอิงเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาค่า TLV และ BEI
• Minimal Oxygen Content
oปริมาณความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนที่น้อยที่สุดที่คนงานสารมารถทางานได้อย่าง
ปลอดภัย ต้องมีค่าความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนอย่างน้อยร้อยละ 19.5 ที่ระดับน้าทะเล
(ความดันแก๊สออกซิเจน 148 ทอร์)
• Notice of Intended Change (NIC)
oเป็นรายชื่อสารเคมีที่จะถูกกาหนดค่าอ้างอิงใช้ในปีต่อไป จุดประสงค์เพื่อให้มีการอภิปราย
ก่อนการประกาศใช้
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Particulate matter/Particle size
oเป็นอนุภาคของของแข็งหรือของเหลว สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1. Inhalable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมบริเวณใดก็ได้ใน
ทางเดินหายใจ
2. Thoracic particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในหลอดลมฝอย
และถุงลม (0.003-5 ไมครอน)
3. Respirable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในถุงลมอ (น้อย
กว่า 0.5 ไมครอน)
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• TLV® Basis
oใช้บอกผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น
-อายุขัยสั้นลง
-ปัญหาการเจริญพันธุ์หรือการเจริญเติบโต
-การทางานของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ
-ความสามารถในการต้านพิษของสารพิษ
ตัวอื่นหรือการดาเนินโรคแย่ลง
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Biological exposure indices (BEIs®)
oบอกว่ามีการตรวจดัชนีการสัมผัสทางชีวภาพได้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ
- BEIA เป็นดัชนีสาหรับยาฆ่าแมลงกลุ่ม Acetylcholinesterase inhibitor
- BEIM เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม methemoglobin inducer
- BEIP เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม polycyclic aromatic hydrocarbon
(PAHs)
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Carcinogenicity
• ความสามารถก่อให้เกิดเนื้องอก หรือมะเร็ง ได้มาจากการศึกษาทางระบาดวิทยา ทางพิษวิทยา และการศึกษาโดยการทดลอง
สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่ม คือ
- A1 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน
- A2 สงสัยว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน
- A3 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในสัตว์ แต่ไม่ทราบความสัมพันธ์ในคน
- A4 ไม่สามารถจัดกลุ่มได้
- A5 ไม่ก่อให้เกิดมะเร็งในคน
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Inhalable Fraction and Vapor (IFV)
oใช้เมื่อสารนั้นปล่อยความดันไอออกมาปริมาณมาก ทาให้ตรวจพบได้ทั้งรูปแบบอนุภาคใน
อากาศและรูปแบบไอระเหย เช่น กระบวนการพ่น กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิทาให้มีการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส
oคิดเป็นสัดส่วนระหว่าง Saturated Vapor Concentration
(SVC) กับ TLV-TWA ค่าระหว่าง 0.1 ถึง 10
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Sensitization
• สารเคมีที่สามารถกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ในการสัมผัสครั้งต่อไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดปฏิกิริยารุนแรงมากขึ้น แม้สัมผัสในระดับต่า
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
- DSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางผิวหนัง
- RSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางระบบทางเดินหายใจ
หมายเหตุ - สารที่ไม่ได้ระบุว่าเป็นประเภทใด เนื่องจากยังมีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะแยกได้
- สารที่ไม่ได้หมายเหตุว่า SEN ไม่ได้หมายความว่าไม่กระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Skin
oบอกว่าสารสามารถถูกดูดซึมได้มากทางผิวหนัง เยื่อบุผิวต่างๆ และตา
oจะไม่ใช้เมื่อทาให้เกิดการระคายเคืองหรือการกัดกร่อนแต่ไม่มีพิษต่อระบบอื่นๆ
oสารเคมีที่สามารถถูกดูดซึมได้ทางผิวหนัง ควรได้รับการตรวจดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทาง
ชีวภาพ หากสามารถตรวจได้
oมีไว้เพื่อเตือนผู้ใช้คู่มือว่า การเก็บตัวอย่างทางอากาศเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อ
การประเมินการสัมผัส
Biological exposure indices (BEIs)
• เป็นดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทางชีวภาพ
• ใช้เป็นเครื่องมือตรวจการรับสัมผัสในกรณีที่อาจได้รับสารเคมีได้จากหลายช่องทางนอกจาก
ทางการหายใจ เช่น ทางการกิน หรือการดูดซึมทางผิวหนัง
• สารที่ตรวจวัดอาจเป็นตัวสารเคมีหรือเป็นเมตาบอไลต์
• ไม่ได้ใช้สาหรับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยจากการทางาน
• อาจตรวจได้จากทางเลือด ปัสสาวะ และลมหายใจออกช่วงสุดท้าย
BEI และ TLV
• BEI บ่งชี้การสัมผัสจากทุกทาง แต่ TLV บ่งชี้การสัมผัสทางการหายใจ
• ค่าที่ตรวจวัดจากอากาศและทางชีวภาพอาจไม่สัมพันธ์กันได้จาก
oปัจจัยส่วนบุคคล เช่น รูปร่างร่างกาย อาหารที่กิน เมตาบอลิซึม ตั้งครรภ์
oปัจจัยจากการทางาน เช่น ระยะเวลา อุณหภูมิ ความชื้น การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
oปัจจัยนอกงาน เช่น สุรา บุหรี่ อาหารและน้าดื่มที่บ้าน
oวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ
เวลาการเก็บสิ่งส่งตรวจ
เวลาการเก็บ คาแนะนา
• ก่อนเข้าทางาน (prior to shift) 16 ชั่วโมงหลังหยุดการสัมผัส
• ระหว่างการทางาน (during shift) เวลาใดก็ได้หลังสัมผัสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง
• หลังกะทางาน (end of shift) ทันที่หลังหยุดสัมผัส
• วันสุดท้ายของสัปดาห์การทางาน (end of
work week)
หลังจากทางานสัมผัสมาแล้ว 4-5 วัน
ติดดต่อกัน
• เวลาใดก็ได้ (discretionary) เวลาใดก็ได้
หมายเหตุ
• B = background
oสามารถตรวจพบได้ในคนทั่วไป แม้ไม่ได้สัมผัสจากการทางาน
• Ns = nonspecific
oไม่จาเพาะต่อสารเคมีชนิดเดียว
• Nq = nonquantitative
oไม่สามารถบอกผลเป็นเชิงปริมาณได้ เนื่องจากข้อมูลปัจจุบันไม่เพียงพอ
• Sq = semi-quantitative
oสามารถบอกผลเชิงปริมาณได้ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าสัมผัสมากหรือน้อย อย่างไรก็
ตามสามารถใช้เป็นการตรวจคัดกรองได้ในกรณีที่ไม่มีการตรวจที่จาเพาะต่อสารเคมีนั้น
หรือใช้เป็นการตรวจยืนยันในกรณีที่สารเคมีนั้นมีเพียงการตรวจเชิงคุณภาพ
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่PakChee
 
เส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจ
เส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจเส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจ
เส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจSuradet Sriangkoon
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทปNut Seraphim
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยSahatchai
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
ใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4page
ใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4pageใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4page
ใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่มI'Mah Sunshine
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ HaSuradet Sriangkoon
 
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 

What's hot (20)

โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
เส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจ
เส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจเส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจ
เส้นทางการลดความเสี่ยงสู่องค์กรที่ปลอดภัย และน่าไว้วางใจ
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
3
33
3
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
ใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4page
ใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4pageใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4page
ใบความรู้ พุทธสาวก สามเณรบัณฑิต ป.1+417+dltvsocp1+54soc p01f 25-4page
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Ha
 
PDSA
PDSAPDSA
PDSA
 
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 

Acgih

  • 2. ACGIH คืออะไร • เป็นองค์กรนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรมภาครัฐแห่งอมเริกา • เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไร • เป็นองค์กรที่กาหนดค่ามาตรฐานสารเคมีในบรรยากาศการทางาน (TLV) และค่ามาตรฐาน สารเคมีในร่างกายมนุษย์ (BEI) • ค่า TLV และ BEI ได้มาจากการทบทวนข้อมูลทางวิทยาศาสตร์โดยคณะผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านสาธารณสุขและสาขาอื่นๆ
  • 3. Threshold Limit Values (TLV) • เป็นค่าความเข้มขันสารเคมีในบรรยากาศการทางาน ที่เชื่อว่าคนงานเกือบทั้งหมดสามารถ ทางานได้โดยปราศจากผลกระทบต่อสุขภาพ • ใช้เพื่อเป็นแนวทางหรือข้อเสนอเพื่อช่วยในการประเมินและควบคุวสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ ทางานเท่านั้น • แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ TWA, STEL และ C
  • 4. Time-weighted average (TWA) • หมายถึง ระดับค่าเฉลี่ยความเข้มข้นสารเคมีในอากาศเฉลี่ยตลอดเวลา 8 ชั่วโมงต่อวัน และ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ • เป็นค่าที่เชื่อว่าคนงานส่วนใหญ่สามารถสัมผัสสารเคมีในบรรยากาศในระดับต่ากว่าหรือเท่ากับ ระดับนี้ต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ชั่วโมงงต่อวันและ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ
  • 5. Short-term exposure limt (STEL) • เป็นระดับความเข้มข้นสารเคมีในอากาศที่คนงานต้องไม่สัมผัสนานมากกว่า 15 นาที • เป็นระดับที่เชื่อว่าคนงานสามารถสัมผัสเป็นระยะเวลาสั้นได้โดยไม่ทาให้เกิดอาการ oการระคายเคือง oการทาลายเนื้อเยื่อแบบถาวร oการเกิดพิษแบบฉับพลัน oการง่วงซึม • ใช้เป็นค่าเสริมกับ TLV-TWA • หากสัมผัสกับความเข้มข้นสารเคมีระดับนี้ ต้องสัมผัสไม่เกิน 4 ครั้ง แต่ละครั้งต่องห่างกันอย่าง น้อย 60 นาที
  • 8. ระยะเวลาการทางานที่ไม่ปกติ • คนงานที่มีระยะเวลาการทางานแตกต่างไปจาก 8 ชั่วโมงต่อวัน หรือ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จาเป็นต้องได้รับการคุ้มครองเช่นเดียวกับคนที่มีระยะเวลาการทางานปกติ • ระดับ TLV ควรมีการปรับเพื่อให้มั่นใจว่าคนงานสามารถทางานได้อย่างปลอดภัย • ระดับความเข้มข้นที่สัมผัสได้แปลผกผันกับระยะเวลาการสัมผัส
  • 9. การปรับค่า TLV • Brief and Scala model oคิดเวลาการทางาน และเวลาที่หยุดพัก 𝑅𝐹 = 24 − ℎ 16 × 8 ℎ
  • 10. การปรับค่า TLV • OSHA model oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ 1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 = 8 ℎ(𝑑) 2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 = 40 ℎ(𝑤𝑘)
  • 11. การปรับค่า TLV • OSHA model oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ 1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 = 8 ℎ(𝑑) 2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 = 40 ℎ(𝑤𝑘)
  • 12. การปรับค่า TLV • Pharmacokinetic model o ใช้หลักการทางพิษวิทยา ร่วมกับระยะเวลาการทางาน • Quebec model o ใช้หลักการของ OSHA แต่มีการระบุพิษสารเคมีต่างๆว่าเป็นพิษเฉียบพลัน หรือพิษเรื้อรัง
  • 13.
  • 14. หน่วยของ TLV • ppm หรือ mg/m3 ขึ้นอยู่กับว่าเป็น gas, aerosol หรือ vapor • Gas เป็นสารเคมีที่เคลื่อนที่ได้อิสระในอากาศ ไม่มีรูปร่างหรือปริมาตณที่แน่นอน (หากไม่ถูกบรรจุ) • Aerosol เป็นแขวนลอยของละอองของแข็งหรือของเหลวในอากาศ • Vapor เป็นสารเคมีที่อยู่ในสถานะก๊าซ ระเหยมาจากของแข็งหรือของเหลว mg/m3
  • 15.
  • 16. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Documentation oเอกสารอ้างอิงเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาค่า TLV และ BEI • Minimal Oxygen Content oปริมาณความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนที่น้อยที่สุดที่คนงานสารมารถทางานได้อย่าง ปลอดภัย ต้องมีค่าความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนอย่างน้อยร้อยละ 19.5 ที่ระดับน้าทะเล (ความดันแก๊สออกซิเจน 148 ทอร์) • Notice of Intended Change (NIC) oเป็นรายชื่อสารเคมีที่จะถูกกาหนดค่าอ้างอิงใช้ในปีต่อไป จุดประสงค์เพื่อให้มีการอภิปราย ก่อนการประกาศใช้
  • 17. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Particulate matter/Particle size oเป็นอนุภาคของของแข็งหรือของเหลว สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1. Inhalable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมบริเวณใดก็ได้ใน ทางเดินหายใจ 2. Thoracic particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในหลอดลมฝอย และถุงลม (0.003-5 ไมครอน) 3. Respirable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในถุงลมอ (น้อย กว่า 0.5 ไมครอน)
  • 18. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • TLV® Basis oใช้บอกผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น -อายุขัยสั้นลง -ปัญหาการเจริญพันธุ์หรือการเจริญเติบโต -การทางานของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ -ความสามารถในการต้านพิษของสารพิษ ตัวอื่นหรือการดาเนินโรคแย่ลง
  • 19. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Biological exposure indices (BEIs®) oบอกว่ามีการตรวจดัชนีการสัมผัสทางชีวภาพได้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ - BEIA เป็นดัชนีสาหรับยาฆ่าแมลงกลุ่ม Acetylcholinesterase inhibitor - BEIM เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม methemoglobin inducer - BEIP เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม polycyclic aromatic hydrocarbon (PAHs)
  • 20. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Carcinogenicity • ความสามารถก่อให้เกิดเนื้องอก หรือมะเร็ง ได้มาจากการศึกษาทางระบาดวิทยา ทางพิษวิทยา และการศึกษาโดยการทดลอง สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่ม คือ - A1 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน - A2 สงสัยว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน - A3 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในสัตว์ แต่ไม่ทราบความสัมพันธ์ในคน - A4 ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ - A5 ไม่ก่อให้เกิดมะเร็งในคน
  • 21. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Inhalable Fraction and Vapor (IFV) oใช้เมื่อสารนั้นปล่อยความดันไอออกมาปริมาณมาก ทาให้ตรวจพบได้ทั้งรูปแบบอนุภาคใน อากาศและรูปแบบไอระเหย เช่น กระบวนการพ่น กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิทาให้มีการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส oคิดเป็นสัดส่วนระหว่าง Saturated Vapor Concentration (SVC) กับ TLV-TWA ค่าระหว่าง 0.1 ถึง 10
  • 22. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Sensitization • สารเคมีที่สามารถกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ในการสัมผัสครั้งต่อไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดปฏิกิริยารุนแรงมากขึ้น แม้สัมผัสในระดับต่า สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ - DSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางผิวหนัง - RSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางระบบทางเดินหายใจ หมายเหตุ - สารที่ไม่ได้ระบุว่าเป็นประเภทใด เนื่องจากยังมีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะแยกได้ - สารที่ไม่ได้หมายเหตุว่า SEN ไม่ได้หมายความว่าไม่กระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้
  • 23. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Skin oบอกว่าสารสามารถถูกดูดซึมได้มากทางผิวหนัง เยื่อบุผิวต่างๆ และตา oจะไม่ใช้เมื่อทาให้เกิดการระคายเคืองหรือการกัดกร่อนแต่ไม่มีพิษต่อระบบอื่นๆ oสารเคมีที่สามารถถูกดูดซึมได้ทางผิวหนัง ควรได้รับการตรวจดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทาง ชีวภาพ หากสามารถตรวจได้ oมีไว้เพื่อเตือนผู้ใช้คู่มือว่า การเก็บตัวอย่างทางอากาศเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อ การประเมินการสัมผัส
  • 24.
  • 25. Biological exposure indices (BEIs) • เป็นดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทางชีวภาพ • ใช้เป็นเครื่องมือตรวจการรับสัมผัสในกรณีที่อาจได้รับสารเคมีได้จากหลายช่องทางนอกจาก ทางการหายใจ เช่น ทางการกิน หรือการดูดซึมทางผิวหนัง • สารที่ตรวจวัดอาจเป็นตัวสารเคมีหรือเป็นเมตาบอไลต์ • ไม่ได้ใช้สาหรับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยจากการทางาน • อาจตรวจได้จากทางเลือด ปัสสาวะ และลมหายใจออกช่วงสุดท้าย
  • 26. BEI และ TLV • BEI บ่งชี้การสัมผัสจากทุกทาง แต่ TLV บ่งชี้การสัมผัสทางการหายใจ • ค่าที่ตรวจวัดจากอากาศและทางชีวภาพอาจไม่สัมพันธ์กันได้จาก oปัจจัยส่วนบุคคล เช่น รูปร่างร่างกาย อาหารที่กิน เมตาบอลิซึม ตั้งครรภ์ oปัจจัยจากการทางาน เช่น ระยะเวลา อุณหภูมิ ความชื้น การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล oปัจจัยนอกงาน เช่น สุรา บุหรี่ อาหารและน้าดื่มที่บ้าน oวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ
  • 27. เวลาการเก็บสิ่งส่งตรวจ เวลาการเก็บ คาแนะนา • ก่อนเข้าทางาน (prior to shift) 16 ชั่วโมงหลังหยุดการสัมผัส • ระหว่างการทางาน (during shift) เวลาใดก็ได้หลังสัมผัสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง • หลังกะทางาน (end of shift) ทันที่หลังหยุดสัมผัส • วันสุดท้ายของสัปดาห์การทางาน (end of work week) หลังจากทางานสัมผัสมาแล้ว 4-5 วัน ติดดต่อกัน • เวลาใดก็ได้ (discretionary) เวลาใดก็ได้
  • 28. หมายเหตุ • B = background oสามารถตรวจพบได้ในคนทั่วไป แม้ไม่ได้สัมผัสจากการทางาน • Ns = nonspecific oไม่จาเพาะต่อสารเคมีชนิดเดียว • Nq = nonquantitative oไม่สามารถบอกผลเป็นเชิงปริมาณได้ เนื่องจากข้อมูลปัจจุบันไม่เพียงพอ • Sq = semi-quantitative oสามารถบอกผลเชิงปริมาณได้ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าสัมผัสมากหรือน้อย อย่างไรก็ ตามสามารถใช้เป็นการตรวจคัดกรองได้ในกรณีที่ไม่มีการตรวจที่จาเพาะต่อสารเคมีนั้น หรือใช้เป็นการตรวจยืนยันในกรณีที่สารเคมีนั้นมีเพียงการตรวจเชิงคุณภาพ

Editor's Notes

  1. http://www.ccohs.ca/oshanswers/chemicals/how_do.html