SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900 
Department of Computer Science, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต 
Student Extra Curricular Activity Information System 
อุมาพร ศิรธรานนท์, บรม บุญพรพิมลกิจ และ ภควัต สิทธิวงศ์ 
Umaporn Sirathranont, Borom Boonpornphmonkit and Pakawat Sitthiwong 
บทคัดย่อ 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต ได้จัดทำขึ้นเพื่อจัดการฐานข้อมูลต่าง ๆ ของนิสิต ที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนิสิตในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้มีความสะดวก ถูกต้องและรวดเร็วมาก ยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดเวลาในการตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรมอีกด้วย โดยนิสิตสามารถที่จะตรวจสอบและ พิมพ์ใบรายงานสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร หรือ ทรานสคริปกิจกรรมของตนเองได้ ซึ่งระบบยัง ออกแบบให้ครอบคลุมไปยังผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนิสิตทุกกลุ่ม ทั้งเจ้าหน้าที่องค์กร ศูนย์ประสานงาน โครงการบัณฑิตยุคใหม่ และอาจารย์ที่ปรึกษา ระบบนี้สามารถจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก เชื่อถือได้ และรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งพาการเก็บข้อมูลลงกระดาษอีกต่อไป 
Abstract 
Student Extra Curricular Activity Information System (SAIS) is designed to manage databases concerning Kasetsart students’ extra curricular activities so as to be more convenience, reliable and faster. The system helps reduce time to check for students’ attendance for each extra curricula activity. Students can check and print out his or her student extra curricular activity transcript. SAIS is also designed to cover all users pertaining to students’ extra curricular activities such as activity’s organizer, staff from Student Affair Division and student’s advisor. The ability of this system to manage information concerning students’ extra curricular activities easily, reliably and quickly can help eliminate paperwork. 
คำนำ 
ในปัจจุบันโลกของการเรียนรู้กำลังเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งในอนาคตนิสิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะต้องเผชิญกับกระแสปัจจัยหลายประการที่ส่งผลต่อวิถีการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต ทำให้มหาวิทยาลัยต้อง พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของนิสิต (Learning Design) เพื่อรองรับกับการเปลี่ยนแปลงของวิถีแห่งอนาคต โดย การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่นิสิตของมหาวิทยาลัย ในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งการเรียนรู้จากกิจกรรม เสริมหลักสูตรเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ทางมหาวิทยาลัยจัดให้แก่นิสิต
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต (Student Extra Curricular Activity Information System) จึงเป็น สิ่งจำเป็นที่จะเข้ามารองรับการจัดกิจกรรมของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่จะเกิดขึ้นอีกมากมายใน อนาคต โดยจะช่วยเพิ่มความถูกต้องของข้อมูลมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดเวลาในการตรวจสอบการเข้าร่วม กิจกรรมอีกด้วย ซึ่งระบบนี้จะเข้ามาแทนที่ระบบแบบเดิมที่เป็นการตรวจสอบโดยการเก็บข้อมูลลงในกระดาษ ที่ ทำให้เกิดความล่าช้า และอาจเกิดความผิดพลาดได้มาก 
อุปกรณ์และวิธีการ 
Hardware 
Software 
Server 
Intel Pentium IV 3.2 GHz 
Ram 1.0 GB 
HDD 150 GB 
1. Microsoft WindowsXP SP2 
2. Macromedia Dreamweaver 8 
3. ระบบฐานข้อมูล MySQL 
4. Personal Home Pages (PHP) 
5. Microsoft Window Server 2000 
6. Microsoft Office 2007 
7. Adobe Photoshop CS2 
8. Adobe Reader 7.0 
Client 
Intel Pentium IV 3.2 GHz 
Ram 1.0 GB 
HDD 80 GB 
1. Microsoft WindowsXP SP2 
2. Microsoft Office 2007 
3. Adobe Reader 7.0 
ตารางที่ 1 แสดงเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต มีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้ 
1. การรวบรวมข้อมูล 
รวบรวมข้อมูลจากองค์กร ชมรมต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นิสิตที่เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ หนังสือ รวมทั้งเว็บไซต์ต่าง ๆ 
2. การจัดกลุ่มข้อมูล 
นำข้อมูลที่รวบรวมได้จากข้อ 1 มาจัดกลุ่มผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 
2.1 นิสิต เป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งต้องบันทึกกิจกรรมที่ตนเองเข้าร่วม 
2.2 องค์กร เป็นผู้จัดกิจกรรม และยืนยันการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต 
2.3 ศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ เป็นผู้ดูแลกิจกรรมที่องค์กรต่าง ๆ จัด รวมทั้งจัดการ เรื่องทรานสคริปกิจกรรมของนิสิต 
2.4 อาจารย์ที่ปรึกษา สามารถเข้ามาดูข้อมูลการทำกิจกรรมของนิสิตในความดูแลได้ 
2.5 ผู้ดูแลระบบ เป็นผู้จัดการทุกอย่างเกี่ยวกับระบบ
3. ส่วนประกอบและความสัมพันธ์ในระบบ 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต (Student Extra Curricular Activity Information System : SAIS) เป็นระบบ ที่ช่วยในการบันทึกกิจกรรมขององค์กร และช่วยให้นิสิตสามารถมาตรวจสอบกิจกรรมที่ตนเองเข้าร่วมได้ โดย องค์กรที่จัดกิจกรรมมีหน้าที่มาเพิ่มโครงการที่ตนเองจัดเข้าสู่ระบบ เมื่อมีการเพิ่มโครงการจากองค์กรต่าง ๆ แล้ว นิสิตสามารถสืบค้น และสมัครเข้าร่วมโครงการที่ตนสนใจได้ผ่านทางระบบ เมื่อนิสิตเข้าร่วมโครงการแล้ว เจ้าหน้าที่องค์กรก็จะต้องมายืนยันสถานะของนิสิตว่าได้ผ่านการเข้าร่วมโครงการแล้ว หลังจากนั้นระบบจะทำ การนับจำนวนหน่วยชั่วโมงกิจกรรมให้กับนิสิตที่เจ้าหน้าที่องค์กรยืนยันแล้วว่าผ่านการเข้าร่วมโครงการ 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิตนี้ แบ่งผู้ใช้งานเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 
ประเภทที่ 1 นิสิต 
- ค้นหาโครงการที่จะจัดขึ้น 
- สมัครเข้าร่วมโครงการผ่านทางเว็บไซต์ได้ 
- ตรวจสอบโครงการที่สมัครแล้ว 
- ตรวจสอบว่านิสิตได้ผ่านการทำกิจกรรมที่สมัครไปแล้วหรือไม่ 
- ตรวจสอบได้ว่านิสิตได้ทำกิจกรรมครบตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนดแล้วหรือไม่ 
ประเภทที่ 2 เจ้าหน้าที่องค์กร 
- ประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่องค์กรของตนเป็นผู้จัดในเว็บไซต์ 
- เพิ่มและแก้ไขโครงการที่องค์กรของตนเป็นผู้จัด 
- ตรวจสอบรายชื่อของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 
- ยืนยันสถานะผ่านหรือไม่ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 
ประเภทที่ 3 ศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ 
- ประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่องค์กรของตนเป็นผู้จัดในเว็บไซต์ 
- เพิ่มและแก้ไขโครงการที่องค์กรของตนเป็นผู้จัด 
- ตรวจสอบรายชื่อของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 
- ยืนยันสถานะผ่านหรือไม่ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 
- ค้นหาใบทรานสคริปกิจกรรมของนิสิตทั้งหมด 
ประเภทที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา 
- ตรวจสอบผลการเข้าร่วมกิจกรรม และทรานสคริปได้ของนิสิต 
- ตรวจสอบข้อมูลส่วนตัวนิสิต 
ประเภทที่ 5 ผู้ดูแลระบบ 
- จัดการข่าวประชาสัมพันธ์ 
- จัดการ เพิ่ม แก้ไข หรือลบ Account 
- จัดการ เพิ่ม แก้ไข หรือลบ หน่วยงานต่างๆ 
- ตรวจสอบโครงการและรายละเอียดโครงการที่จัด 
- ดูรายงานภาพรวมของระบบ
โดยผู้ใช้แต่ละประเภทมีฟังก์ชั่นหลัก ดังรูปที่ 1 
รูปที่ 1 Application work flow
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานในระบบ แสดงในรูปของ context diagram ดังรูปที่ 2 
รูปที่ 2 context diagram 
4. การนำเสนอข้อมูล 
นำเสนอข้อมูลในรูปของตารางที่สรุปรายละเอียดไว้อย่างชัดเจน ประกอบไปด้วย ตารางโครงการทั้งหมด ตารางโครงการในองค์กร ตารางโครงการที่สมัคร ตารางสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรม ตารางสรุป ภาพรวมของระบบ 
5. การสืบค้นข้อมูล 
สามารถสืบค้นข้อมูลโครงการทั้งหมด โครงการที่นิสิตสมัครเข้าร่วม และโครงการของแต่ละองค์กรได้ 
6. การเพิ่ม–การแก้ไข–การลบข้อมูล ผู้ใช้แต่ละประเภทสามารถเพิ่ม แก้ไข ลบ ข้อมูลได้แตกต่างกัน 
6.1 นิสิตสามารถแก้ไขประวัติส่วนตัวของตนเองได้ 
6.2 เจ้าหน้าที่องค์กรและศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ สามารถเพิ่ม แก้ไข โครงการภายใน องค์กรของตนเองได้ 
6.3 ผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่ม แก้ไข ลบ ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละประเภท ข้อมูลโครงการ ข้อมูลองค์กรได้
ผลการทดลองและวิจารณ์ 
สามารถคลิกดูรายละเอียดโครงการใหม่ได้ในหน้าแรกของระบบ 
รูปที่ 3 
นิสิตสามารถเข้าดูและแก้ไขประวัติส่วนตัวของตนเองได้ 
และอาจารย์ที่ปรึกษาสามารถเข้าดูประวัติของนิสิตในความดูแลได้ 
รูปที่ 4
อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถสืบค้นข้อมูลของนิสิตในความดูแลได้ 
รูปที่ 5
สามารถแสดงรายละเอียดโครงการ และสมัครเข้าร่วมโครงการผ่านทางเว็บไซต์ได้ 
รูปที่ 6
สามารถแสดงรายงานสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนิสิตแต่ละคนได้ 
รูปที่ 7
ข้อดีของโปรแกรม 
1. ระบบจัดการข้อมูลมีระเบียบมากยิ่งขึ้น 
2. สะดวกรวดเร็วในการค้นหาข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต 
3. ทำให้บุคคลที่ใช้บริการมองเห็นภาพรวมการดำเนินงานของกิจกรรมนิสิต 
4. นิสิตมีหลักฐานเพื่อใช้อ้างอิงในการทำกิจกรรม 
บทสรุป 
การออกแบบเว็บแอพพลิเคชันระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต แบ่งออกเป็น 5 ระบบย่อย ๆ คือ ระบบ ผู้ดูแลระบบ ระบบเจ้าหน้าที่องค์กร ระบบศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ ระบบนิสิต และระบบ อาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งการพัฒนาระบบได้ใช้หลักการของภาษา PHP ในการเขียนโปรแกรม ส่วนระบบจัดการ ฐานข้อมูลนั้นใช้ MySQL 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต เป็นระบบที่ออกแบบขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการจัดการ ฐานข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต ให้มีความสะดวก ถูกต้องและชัดเจนในด้านของการตรวจสอบนิสิตที่เข้า ร่วมกิจกรรม ซึ่งระบบยังออกแบบให้ครอบคลุมไปยังผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนิสิตทุกกลุ่ม ทั้งเจ้าหน้าที่องค์กร ที่สามารถเข้ามาประชาสัมพันธ์ และรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมได้ผ่านทางระบบ ศูนย์ประสานงาน โครงการบัณฑิตยุคใหม่ที่สามารถตรวจสอบและแก้ไขผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิตแต่ละคนได้ อาจารย์ที่ ปรึกษาสามารถตรวจสอบผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิตในความดูแลได้ นิสิตสามารถสมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ ผ่านทางระบบ และตรวจผลการเข้าร่วมกิจกรรมของตนเองได้ ผู้ดูแลระบบสามารถจัดการข้อมูลต่าง ๆ และ สามารถออกรายงานภาพรวมของระบบได้ 
เอกสารอ้างอิง 
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. 2547. Web Programming ด้วย Dreamweaver MX2004 และ PHP. เคทีพี คอมพ์ 
แอนด์ คอนซัลท์. กรุงเทพมหานคร. 
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. 2547. คัมภีร์ PHP. เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์. กรุงเทพมหานคร. 
มาโนช ลักษณกิจ และ วินัย สุขอารีย์ชัย. 2549. Dreamweaver 8 ฉบับสมบูรณ์. ที.เค. พริ้นติ้ง จำกัด. 
กรุงเทพมหานคร. 
สมศักดิ์ โชคชัยชุติกุล. 2547. อินไซท์ PHP5. โปรวิชั่น . กรุงเทพมหานคร.

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Kitti Thepsuwan
 
ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16exojjang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bamm Thanwarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ Cake
โครงงานคอมพิวเตอร์ Cakeโครงงานคอมพิวเตอร์ Cake
โครงงานคอมพิวเตอร์ CakeWannwimon Kanjan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์supatra2011
 
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCโครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCZnackiie Rn
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมNoppakhun Suebloei
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cin Pichita
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Why'o Manlika
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Peeravit Tipneht
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Kanjanaporn Thompat
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคMontra Songsee
 

What's hot (19)

ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ Cake
โครงงานคอมพิวเตอร์ Cakeโครงงานคอมพิวเตอร์ Cake
โครงงานคอมพิวเตอร์ Cake
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCโครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 

Viewers also liked

CFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTX
CFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTXCFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTX
CFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTXRick Julien CPA, CIA
 
Social Marketing: 2015 Trends
Social Marketing: 2015 TrendsSocial Marketing: 2015 Trends
Social Marketing: 2015 TrendsAnthony May
 
Remove maps galaxy toolbar – uninstall tutorial
Remove maps galaxy toolbar – uninstall tutorialRemove maps galaxy toolbar – uninstall tutorial
Remove maps galaxy toolbar – uninstall tutorialwebpub
 
ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือ
ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือ
ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือAmIndy Thirawut
 
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงAmIndy Thirawut
 
CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.
CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.
CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.ISMAEL FERRAZ
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุAmIndy Thirawut
 
Mob decission making_assignment
Mob decission making_assignmentMob decission making_assignment
Mob decission making_assignmentmirza1990
 
Communication and motivational initiatives by Roberto Daniel
Communication and motivational initiatives by Roberto DanielCommunication and motivational initiatives by Roberto Daniel
Communication and motivational initiatives by Roberto DanielRoberto Daniel
 

Viewers also liked (10)

CFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTX
CFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTXCFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTX
CFMA Midwest Conference 9-2016 1PW.PPTX
 
Social Marketing: 2015 Trends
Social Marketing: 2015 TrendsSocial Marketing: 2015 Trends
Social Marketing: 2015 Trends
 
Giraffa - November 2014
Giraffa - November 2014Giraffa - November 2014
Giraffa - November 2014
 
Remove maps galaxy toolbar – uninstall tutorial
Remove maps galaxy toolbar – uninstall tutorialRemove maps galaxy toolbar – uninstall tutorial
Remove maps galaxy toolbar – uninstall tutorial
 
ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือ
ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือ
ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือ
 
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
 
CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.
CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.
CÉLESTIN FREINET: Contribuições para o Ensino.
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
 
Mob decission making_assignment
Mob decission making_assignmentMob decission making_assignment
Mob decission making_assignment
 
Communication and motivational initiatives by Roberto Daniel
Communication and motivational initiatives by Roberto DanielCommunication and motivational initiatives by Roberto Daniel
Communication and motivational initiatives by Roberto Daniel
 

Similar to ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต

Electronic media presentation system
Electronic media presentation systemElectronic media presentation system
Electronic media presentation systemMeKwang Kreng
 
Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student systemApple Preeya
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์chayanit kaewjankamol
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ lek_za_za
 
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้Apiradee Deekul
 
โครงงานของปณิต
โครงงานของปณิตโครงงานของปณิต
โครงงานของปณิตmaddemon madden
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7Anny Na Sonsawan
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานThank Chiro
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11monoiiza
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54RMUTT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 

Similar to ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต (20)

รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
Electronic media presentation system
Electronic media presentation systemElectronic media presentation system
Electronic media presentation system
 
Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student system
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
 
โครงงานของปณิต
โครงงานของปณิตโครงงานของปณิต
โครงงานของปณิต
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Workshop03
Workshop03Workshop03
Workshop03
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
123
123123
123
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 

More from AmIndy Thirawut

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรีAmIndy Thirawut
 
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรค
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรคระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรค
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรคAmIndy Thirawut
 
ระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย
ระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทยระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย
ระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทยAmIndy Thirawut
 
ฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสาน
ฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสานฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสาน
ฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสานAmIndy Thirawut
 
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...AmIndy Thirawut
 
การพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือ
การพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือการพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือ
การพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือAmIndy Thirawut
 

More from AmIndy Thirawut (6)

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี
 
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรค
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรคระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรค
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ของวัณโรค
 
ระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย
ระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทยระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย
ระบบขัอมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย
 
ฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสาน
ฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสานฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสาน
ฐานข้อมูลดนตรีและศิลปอีสาน
 
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
 
การพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือ
การพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือการพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือ
การพัฒนาข้อมูลเสมือนจิงท่าเรือ
 

ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต

  • 1. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900 Department of Computer Science, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900 ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต Student Extra Curricular Activity Information System อุมาพร ศิรธรานนท์, บรม บุญพรพิมลกิจ และ ภควัต สิทธิวงศ์ Umaporn Sirathranont, Borom Boonpornphmonkit and Pakawat Sitthiwong บทคัดย่อ ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต ได้จัดทำขึ้นเพื่อจัดการฐานข้อมูลต่าง ๆ ของนิสิต ที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนิสิตในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้มีความสะดวก ถูกต้องและรวดเร็วมาก ยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดเวลาในการตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรมอีกด้วย โดยนิสิตสามารถที่จะตรวจสอบและ พิมพ์ใบรายงานสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร หรือ ทรานสคริปกิจกรรมของตนเองได้ ซึ่งระบบยัง ออกแบบให้ครอบคลุมไปยังผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนิสิตทุกกลุ่ม ทั้งเจ้าหน้าที่องค์กร ศูนย์ประสานงาน โครงการบัณฑิตยุคใหม่ และอาจารย์ที่ปรึกษา ระบบนี้สามารถจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก เชื่อถือได้ และรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งพาการเก็บข้อมูลลงกระดาษอีกต่อไป Abstract Student Extra Curricular Activity Information System (SAIS) is designed to manage databases concerning Kasetsart students’ extra curricular activities so as to be more convenience, reliable and faster. The system helps reduce time to check for students’ attendance for each extra curricula activity. Students can check and print out his or her student extra curricular activity transcript. SAIS is also designed to cover all users pertaining to students’ extra curricular activities such as activity’s organizer, staff from Student Affair Division and student’s advisor. The ability of this system to manage information concerning students’ extra curricular activities easily, reliably and quickly can help eliminate paperwork. คำนำ ในปัจจุบันโลกของการเรียนรู้กำลังเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งในอนาคตนิสิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะต้องเผชิญกับกระแสปัจจัยหลายประการที่ส่งผลต่อวิถีการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต ทำให้มหาวิทยาลัยต้อง พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของนิสิต (Learning Design) เพื่อรองรับกับการเปลี่ยนแปลงของวิถีแห่งอนาคต โดย การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่นิสิตของมหาวิทยาลัย ในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งการเรียนรู้จากกิจกรรม เสริมหลักสูตรเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ทางมหาวิทยาลัยจัดให้แก่นิสิต
  • 2. ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต (Student Extra Curricular Activity Information System) จึงเป็น สิ่งจำเป็นที่จะเข้ามารองรับการจัดกิจกรรมของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่จะเกิดขึ้นอีกมากมายใน อนาคต โดยจะช่วยเพิ่มความถูกต้องของข้อมูลมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดเวลาในการตรวจสอบการเข้าร่วม กิจกรรมอีกด้วย ซึ่งระบบนี้จะเข้ามาแทนที่ระบบแบบเดิมที่เป็นการตรวจสอบโดยการเก็บข้อมูลลงในกระดาษ ที่ ทำให้เกิดความล่าช้า และอาจเกิดความผิดพลาดได้มาก อุปกรณ์และวิธีการ Hardware Software Server Intel Pentium IV 3.2 GHz Ram 1.0 GB HDD 150 GB 1. Microsoft WindowsXP SP2 2. Macromedia Dreamweaver 8 3. ระบบฐานข้อมูล MySQL 4. Personal Home Pages (PHP) 5. Microsoft Window Server 2000 6. Microsoft Office 2007 7. Adobe Photoshop CS2 8. Adobe Reader 7.0 Client Intel Pentium IV 3.2 GHz Ram 1.0 GB HDD 80 GB 1. Microsoft WindowsXP SP2 2. Microsoft Office 2007 3. Adobe Reader 7.0 ตารางที่ 1 แสดงเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต มีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้ 1. การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลจากองค์กร ชมรมต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นิสิตที่เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ หนังสือ รวมทั้งเว็บไซต์ต่าง ๆ 2. การจัดกลุ่มข้อมูล นำข้อมูลที่รวบรวมได้จากข้อ 1 มาจัดกลุ่มผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 2.1 นิสิต เป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งต้องบันทึกกิจกรรมที่ตนเองเข้าร่วม 2.2 องค์กร เป็นผู้จัดกิจกรรม และยืนยันการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต 2.3 ศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ เป็นผู้ดูแลกิจกรรมที่องค์กรต่าง ๆ จัด รวมทั้งจัดการ เรื่องทรานสคริปกิจกรรมของนิสิต 2.4 อาจารย์ที่ปรึกษา สามารถเข้ามาดูข้อมูลการทำกิจกรรมของนิสิตในความดูแลได้ 2.5 ผู้ดูแลระบบ เป็นผู้จัดการทุกอย่างเกี่ยวกับระบบ
  • 3. 3. ส่วนประกอบและความสัมพันธ์ในระบบ ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต (Student Extra Curricular Activity Information System : SAIS) เป็นระบบ ที่ช่วยในการบันทึกกิจกรรมขององค์กร และช่วยให้นิสิตสามารถมาตรวจสอบกิจกรรมที่ตนเองเข้าร่วมได้ โดย องค์กรที่จัดกิจกรรมมีหน้าที่มาเพิ่มโครงการที่ตนเองจัดเข้าสู่ระบบ เมื่อมีการเพิ่มโครงการจากองค์กรต่าง ๆ แล้ว นิสิตสามารถสืบค้น และสมัครเข้าร่วมโครงการที่ตนสนใจได้ผ่านทางระบบ เมื่อนิสิตเข้าร่วมโครงการแล้ว เจ้าหน้าที่องค์กรก็จะต้องมายืนยันสถานะของนิสิตว่าได้ผ่านการเข้าร่วมโครงการแล้ว หลังจากนั้นระบบจะทำ การนับจำนวนหน่วยชั่วโมงกิจกรรมให้กับนิสิตที่เจ้าหน้าที่องค์กรยืนยันแล้วว่าผ่านการเข้าร่วมโครงการ ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิตนี้ แบ่งผู้ใช้งานเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 1 นิสิต - ค้นหาโครงการที่จะจัดขึ้น - สมัครเข้าร่วมโครงการผ่านทางเว็บไซต์ได้ - ตรวจสอบโครงการที่สมัครแล้ว - ตรวจสอบว่านิสิตได้ผ่านการทำกิจกรรมที่สมัครไปแล้วหรือไม่ - ตรวจสอบได้ว่านิสิตได้ทำกิจกรรมครบตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนดแล้วหรือไม่ ประเภทที่ 2 เจ้าหน้าที่องค์กร - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่องค์กรของตนเป็นผู้จัดในเว็บไซต์ - เพิ่มและแก้ไขโครงการที่องค์กรของตนเป็นผู้จัด - ตรวจสอบรายชื่อของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ - ยืนยันสถานะผ่านหรือไม่ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ประเภทที่ 3 ศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่องค์กรของตนเป็นผู้จัดในเว็บไซต์ - เพิ่มและแก้ไขโครงการที่องค์กรของตนเป็นผู้จัด - ตรวจสอบรายชื่อของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ - ยืนยันสถานะผ่านหรือไม่ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ - ค้นหาใบทรานสคริปกิจกรรมของนิสิตทั้งหมด ประเภทที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา - ตรวจสอบผลการเข้าร่วมกิจกรรม และทรานสคริปได้ของนิสิต - ตรวจสอบข้อมูลส่วนตัวนิสิต ประเภทที่ 5 ผู้ดูแลระบบ - จัดการข่าวประชาสัมพันธ์ - จัดการ เพิ่ม แก้ไข หรือลบ Account - จัดการ เพิ่ม แก้ไข หรือลบ หน่วยงานต่างๆ - ตรวจสอบโครงการและรายละเอียดโครงการที่จัด - ดูรายงานภาพรวมของระบบ
  • 5. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานในระบบ แสดงในรูปของ context diagram ดังรูปที่ 2 รูปที่ 2 context diagram 4. การนำเสนอข้อมูล นำเสนอข้อมูลในรูปของตารางที่สรุปรายละเอียดไว้อย่างชัดเจน ประกอบไปด้วย ตารางโครงการทั้งหมด ตารางโครงการในองค์กร ตารางโครงการที่สมัคร ตารางสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรม ตารางสรุป ภาพรวมของระบบ 5. การสืบค้นข้อมูล สามารถสืบค้นข้อมูลโครงการทั้งหมด โครงการที่นิสิตสมัครเข้าร่วม และโครงการของแต่ละองค์กรได้ 6. การเพิ่ม–การแก้ไข–การลบข้อมูล ผู้ใช้แต่ละประเภทสามารถเพิ่ม แก้ไข ลบ ข้อมูลได้แตกต่างกัน 6.1 นิสิตสามารถแก้ไขประวัติส่วนตัวของตนเองได้ 6.2 เจ้าหน้าที่องค์กรและศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ สามารถเพิ่ม แก้ไข โครงการภายใน องค์กรของตนเองได้ 6.3 ผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่ม แก้ไข ลบ ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละประเภท ข้อมูลโครงการ ข้อมูลองค์กรได้
  • 6. ผลการทดลองและวิจารณ์ สามารถคลิกดูรายละเอียดโครงการใหม่ได้ในหน้าแรกของระบบ รูปที่ 3 นิสิตสามารถเข้าดูและแก้ไขประวัติส่วนตัวของตนเองได้ และอาจารย์ที่ปรึกษาสามารถเข้าดูประวัติของนิสิตในความดูแลได้ รูปที่ 4
  • 10. ข้อดีของโปรแกรม 1. ระบบจัดการข้อมูลมีระเบียบมากยิ่งขึ้น 2. สะดวกรวดเร็วในการค้นหาข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต 3. ทำให้บุคคลที่ใช้บริการมองเห็นภาพรวมการดำเนินงานของกิจกรรมนิสิต 4. นิสิตมีหลักฐานเพื่อใช้อ้างอิงในการทำกิจกรรม บทสรุป การออกแบบเว็บแอพพลิเคชันระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต แบ่งออกเป็น 5 ระบบย่อย ๆ คือ ระบบ ผู้ดูแลระบบ ระบบเจ้าหน้าที่องค์กร ระบบศูนย์ประสานงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ ระบบนิสิต และระบบ อาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งการพัฒนาระบบได้ใช้หลักการของภาษา PHP ในการเขียนโปรแกรม ส่วนระบบจัดการ ฐานข้อมูลนั้นใช้ MySQL ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต เป็นระบบที่ออกแบบขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการจัดการ ฐานข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต ให้มีความสะดวก ถูกต้องและชัดเจนในด้านของการตรวจสอบนิสิตที่เข้า ร่วมกิจกรรม ซึ่งระบบยังออกแบบให้ครอบคลุมไปยังผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนิสิตทุกกลุ่ม ทั้งเจ้าหน้าที่องค์กร ที่สามารถเข้ามาประชาสัมพันธ์ และรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมได้ผ่านทางระบบ ศูนย์ประสานงาน โครงการบัณฑิตยุคใหม่ที่สามารถตรวจสอบและแก้ไขผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิตแต่ละคนได้ อาจารย์ที่ ปรึกษาสามารถตรวจสอบผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิตในความดูแลได้ นิสิตสามารถสมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ ผ่านทางระบบ และตรวจผลการเข้าร่วมกิจกรรมของตนเองได้ ผู้ดูแลระบบสามารถจัดการข้อมูลต่าง ๆ และ สามารถออกรายงานภาพรวมของระบบได้ เอกสารอ้างอิง กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. 2547. Web Programming ด้วย Dreamweaver MX2004 และ PHP. เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์. กรุงเทพมหานคร. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. 2547. คัมภีร์ PHP. เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์. กรุงเทพมหานคร. มาโนช ลักษณกิจ และ วินัย สุขอารีย์ชัย. 2549. Dreamweaver 8 ฉบับสมบูรณ์. ที.เค. พริ้นติ้ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร. สมศักดิ์ โชคชัยชุติกุล. 2547. อินไซท์ PHP5. โปรวิชั่น . กรุงเทพมหานคร.