SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
1
บทนํา: ผู้นํา กับ ศาสนาอิสลาม
“ผู้นํา” เป็นสถานะของบุคคลทีได้รับอํานาจทังอันชอบและมิชอบโดยแปรตามบริบทของปัจจุยการ
ก่อร่างสังคมและสภาพการณ์ของสังคมนัน ๆ ในทางศาสนาอิสลามการมี “ผู้นํา” ไม่ใช่เป็นเพียงปรากฏการณ์
ทางสังคมรัฐ และอํานาจเท่านันแต่หากยังหมายรวมถึงภาพสะท้อน ความศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้าวัฒนธรรม
จริยศาสตร์ และจิตวิญญาณอีกด้วย “ผู้นํา” ของชาวมุสลิมจึงต้องมีกระบวนทัศน์ทีสัมพันธ์กับบทบัญญัติใน
ศาสนาอิสลามทุกมิติ เมือใดก็ตามทีสังคมเกิดประเด็นปัญหาเกียวกับผู้นํา ผู้คนในสังคมต้องทบทวนทีมาทีไป
ของปัญหานัน ๆ อย่างเป็นสัมพันธภาพ เพราะชาวมุสลิมมิอาจแยกศรัทธาออกจากวิถีฆราวาสได้ดังทีพระผู้
เป็นเจ้าได้ตรัสไว้ในพระคัมภีร์อัลกุรอาน บทบากอเราะห์ วรรคที 208 ว่า
ً‫ﱠﺔ‬ ‫َﺎﻓ‬‫ﻛ‬ ِ‫ﱢﻠْﻢ‬‫ﺴ‬‫اﻟ‬ ‫ِﻲ‬‫ﻓ‬ ‫ا‬ْ‫ُﻮ‬ ‫ْﺧُﻠ‬‫د‬‫ا‬ ‫ا‬ْ‫ُﻮ‬‫ﻨ‬َ‫آﻣ‬ َ‫ْﻦ‬‫ﯾ‬‫ﱠﺬ‬ ‫اﻟ‬ ‫َﺎ‬‫ﮭ‬‫ﱡ‬‫ﯾ‬َ ‫أ‬ ‫َﺎ‬‫ﯾ‬
“บรรดาผู้ศรัทธาทังหลาย จงเข้าอยู่ในบัญญัติแห่งอิสลามโดยทัวทังหมด”
นํามาซึงระบอบการเลือกตังแบบอิสลามทีมีมิติแห่งจรรยาบรรณของสมาชิกในสังคมมุสลิม และมิติ
ทีเป็นจรรยาบรรณของผู้ปกครองหรือผู้ทีอาจเป็นผู้ปกครองตามกระบวนการการเลือกตัง ซึงจะตัดส่วนนีจาก
ระบอบการปกครองของอัลอิสลามมิได้ เพราะจรรยาบรรณของมุสลิมเป็นปัจจัยสําคัญทีจะคําประกันให้การ
เลือกตังมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ ผลตามเป้ าหมายของระบอบอัลอิสลาม
ระบอบการเลือกตังผู้นําและผู้ปกครองแผ่นดินในอัลอิสลามเรียกว่า ชูรอ (‫)ﺷﻮرى‬ โดยรากศัพท์คํา
นีมีความหมายว่า ปรึกษาหารือหรือให้คําแนะนํา ซึงถูกระบุในอัลกุรอานอย่างชัดเจนว่าเป็นระบอบการ
ปกครองของสังคมมุสลิม จนกระทังบรรดาสาวกเรียกซูเราะฮฺทีมีอายะฮฺเกียวกับเรืองระบอบการปกครองว่า
ซูเราะตุชชูรอ ในซูเราะฮฺนีอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ตรัสไว้ว่า
‫ﺎ‬َ‫َﺠ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺳ‬‫ا‬ َ‫ْﻦ‬‫ﯾ‬ِ‫ﱠﺬ‬ ‫اﻟ‬َ‫و‬َ‫ن‬ْ‫ُﻮ‬‫ِﻘ‬‫ﻔ‬ْ‫ُﻨ‬‫ﯾ‬ ْ‫ُﻢ‬‫ھ‬‫َﺎ‬‫ﻨ‬ْ‫َﻗ‬‫ز‬َ‫ر‬ ‫ﻣِﻤﱠﺎ‬َ‫و‬ ْ‫ُﻢ‬‫ﮭ‬َ‫ﻨ‬ْ‫ﯾ‬ َ‫ب‬ ‫رَى‬ْ‫ﺷُﻮ‬ ْ‫ُﻢ‬‫ھ‬ُ‫ﺮ‬ْ‫َﻣ‬ ‫وَأ‬ َ‫ة‬‫ﱠﻼ‬‫ﺼ‬‫اﻟ‬ ‫َﺎﻣُﻮا‬‫ﻗ‬َ ‫أ‬َ‫و‬ ْ‫ﱢﮭِﻢ‬‫ﺑ‬َ‫ِﺮ‬‫ﻟ‬‫ا‬ْ‫ُﻮ‬‫ﺑ‬
“และบรรดาผู้ตอบรับต่อพระเจ้าของพวกเขา และดํารงละหมาด และกิจการของพวกเขา(หมายถึง
เรืองส่วนรวม)มีการปรึกษาหารือระหว่างพวกเขา และเขาบริจาคสิงทีเราได้ให้เครืองปัจจัยยังชีพแก่พวกเขา”
(บทอัชชูรอ วรรคที )
2
คําว่า “ชูรอ” ในระบอบการปกครองของอัลอิสลามไม่ได้หมายถึงให้คําปรึกษาอย่างเดียว แต่มีส่วน
เกียวข้องกับคุณสมบัติของผู้ให้คําปรึกษาและข้อแนะนําเกียวกับการเลือกตังผู้นําและการให้คําปรึกษากับ
ผู้ปกครอง ดังทีมีปรากฏในซูเราะฮฺอาละอิมรอนอัลลอฮฺตรัสไว้ว่า
ِ‫َﻣْﺮ‬ ‫اﻷ‬ ‫ﻓﻲ‬ ْ‫ُﻢ‬‫ھ‬ْ‫ِر‬‫َﺎو‬‫ﺷ‬َ‫و‬ ْ‫ُﻢ‬‫ﮭ‬َ‫ﻟ‬ ْ‫ِﺮ‬‫ﻔ‬ْ‫َﻐ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺳ‬‫ا‬َ‫و‬ ْ‫ُﻢ‬‫ﮭ‬ْ‫َﻨ‬‫ﻋ‬ ُ‫َﺎﻋْﻒ‬‫ﻓ‬
“ดังนันจงอภัยให้แก่พวกเขาเถิดและจงขออภัยให้แก่พวกเขาด้วยและจงปรึกษาหารือกับพวกเขาใน
กิจการทังหลาย” (บทอาละอิมรอน วรรคที )
คําบัญชาทีอัลลอฮฺใช้ให้ท่านนบีปรึกษาสาวกของท่านนัน บ่งชีถึงความสําคัญของการให้คําปรึกษา
(ชูรอ)เพราะถ้าหากท่านนบีได้รับคําสังสอนจากอัลลอฮฺอันเป็นทางนําสําหรับท่านอยู่แล้วคําปรึกษาของมนุษย์
ย่อมไม่มีประโยชน์เลย หรือถ้าหากความคิดของท่านนบีเพียงพอสําหรับท่าน การปรึกษาสาวกจะไร้ประโยชน์
เช่นเดียวกัน เพราะฉะนันการขอคําปรึกษาในระบอบการปกครองของอัลอิสลามเป็นหลักประกันทีต้องเชือฟัง
สําหรับผู้รับคําปรึกษา และนันคือจุดหมายของอธิปไตยทีปฏิบัติกันทัวโลก แต่ในระบอบอัลอิสลามมีข้อ
แตกต่างสําคัญ เพราะในกฎหมายสากล เจ้าของอธิปไตยคือประชาชน ซึงเป็นอํานาจการปกครองทีจะมอบไว้
ให้แก่ผู้ทีถูกเลือกตังตามระบอบประชาธิปไตย แต่อํานาจนีในระบอบอิสลามอยู่ทีพระผู้เป็นเจ้าและพระดํารัส
ของพระองค์ซึงนักปราชญ์อิสลามเรียก อัลฮากิมียะฮฺ ‫ﱠﺔ‬‫ﯿ‬ِ‫ِﻤ‬‫ﻛ‬‫ﺎ‬َ‫اﻟﺤ‬ นันคืออํานาจแห่งการบัญญัติและปกครอง
และพระผู้เป็นเจ้าได้มอบหมายให้มนุษยชาติเป็นผู้ดํารงไว้ซึงพระบัญชาของพระองค์ โดยมีผู้รองรับความ
ถูกต้องในการวินิจฉัยพระดํารัสของอัลลอฮฺคือ สภานักปราชญ์และผู้อาวุโสในประชาชน
ในระบอบอิสลามไม่มีใครมีอํานาจเหนือกว่าพระอํานาจของอัลลอฮฺ หากเป็นอํานาจในการปกครอง
หรือให้คําชีขาดหรือคําปรึกษาใดๆก็ขึนกับพระอนุญาตของอัลลอฮฺ จึงต้องมีคุณสมบัติของผู้มีสิทธิในการ
ปกครองในระบอบอิสลามไม่มีการระบุรายละเอียดทีเกียวกับกระบวนการเลือกตังผู้ปกครอง แต่มีการระบุ
ขอบเขตและกรอบแห่งการเลือกตัง ซึงขึนอยู่กับ ประการดังนี
. อํานาจอยู่ทีชรีอะฮฺ คือ พระบัญญัติแห่งพระผู้เป็นเจ้า
. ความยุติธรรมทีต้องปรากฏ
. คุณสมบัติของผู้เลือกตังผู้ปกครองและผู้ปกครอง
แต่ต้องชีแจงว่านักปราชญ์อิสลามไม่มีความคิดทีแตกต่างกันเกียวกับผู้มีอํานาจเลือกตังผู้ปกครองสูงสุดคือ
สภานักปราชญ์และผู้อาวุโส ทีมีชือในทางนิติศาสตร์อิสลามว่า อะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ ِ‫َﻘْﺪ‬‫ﻌ‬‫اﻟ‬َ‫و‬ ‫ﱢ‬‫ﻞ‬َ‫اﻟﺤ‬ ُ‫ﻞ‬ْ‫ھ‬َ ‫أ‬
หมายถึงผู้มีอํานาจแต่งตังและถอดถอนนักปราชญ์ส่วนมากเห็นว่าอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิเป็นผู้ทีมีอํานาจแท้จริง
3
ในการเลือกผู้นําสูงสุด และมีอํานาจในการถอดถอนด้วย เรียกว่าเป็นอํานาจอันกว้างขวางทีสุด ซึงเทียบได้กับ
อํานาจของสภาผู้แทนราษฎรในระบอบประชาธิปไตย ถือว่าอํานาจของอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิเป็นอํานาจทีไม่มี
ขอบเขตยกเว้นอํานาจของชรีอะฮฺ(คือพระบัญญัติของอัลลอฮฺ)แต่นักปราชญ์บางท่านโดยเฉพาะในยุคปัจจุบัน
เห็นว่าอํานาจของประชาชนเหนือกว่าอํานาจของสภาอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ เพราะประชาชนเป็นผู้เลือกอะฮฺลุล
ฮัลลิวัลอักดิ แต่การเลือกอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดินันในระบอบอิสลามมีข้อแตกต่างจากระบอบประชาธิปไตย
ระบอบอิสลามจะถือว่าผู้มีสิทธิออกเสียงในการเลือกอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิคือผู้ทีมีคุณสมบัติ ประการ
ประการแรกคือคุณสมบัติทางศาสนาและคุณธรรม หมายถึง ต้องเป็นมุสลิม ปฏิบัติศาสนกิจอย่างเคร่งครัด
และมีมารยาทจริยธรรมและคุณธรรม โดยสามารถตรวจสอบได้ว่ามิใช่ผู้กระทําความชัวอย่างเปิดเผยหรือผู้
บกพร่องในการปฏิบัติศาสนกิจประการทีสองต้องเป็นผู้มีอํานาจในสังคมทางวิชาการหรือมีความน่าเชือถือใน
สังคมในฐานะเป็นปัญญาชนทีมีศักยภาพให้คําแนะนําทีเหมาะสมสําหรับปัญหาต่างๆในสังคม
จากคุณสมบัติสองประการนีจะเห็นว่าระบอบอิสลามไม่อนุญาตให้กาฟิร(ผู้ปฏิเสธศรัทธา)หรือฟาสิก
(ผู้กระทําความชัวร้ายอย่างเปิดเผย) มีสิทธิในการเลือกผู้แทนราษฎรหรืออะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ เพราะขาด
คุณสมบัติสําคัญทีจะให้ผู้เลือกตังนันมีความเลือมใสในระบอบอิสลาม เพราะกาฟิรอาจเลือกผู้ทีเห็นชอบกับ
แนวชีวิตของผู้ทีไม่ใช่มุสลิมและฟาสิกอาจเลือกผู้ทีไม่มีอุดมการณ์เคร่งครัดด้านกฎหมายอิสลามจึงอาจส่งผล
ให้ผู้นําสังคมนันจะเป็นคนอ่อนแอในการรักษาอํานาจชรีอะฮฺอันเป็นข้อคําประกันสําคัญทีจะให้ระบอบการ
ปกครองอิสลามคงอยู่อย่างมันคง
สมัยท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ก็มีผู้แทนราษฎรทีได้รับคัดเลือกจากบรรดาเผ่า
หมู่บ้าน และสายตระกูลต่างๆ การเลือกตังผู้แทนราษฎรในขณะนันอาจไม่มีรายละเอียดเหมือนระบบการ
เลือกตังปัจจุบัน แต่ความละเอียดของระบบการเลือกตังสมัยนันอยู่ทีความเคร่งครัดของประชาชนทีจะเลือกผู้
อาวุโสทีมีอุดมการณ์ ความรับผิดชอบและความห่วงใยต่อประชาชนในการบันทึกของอิมามบุคอรียฺมีการระบุ
ถึงตําแหน่ง อัลอะรีฟ ُ‫ْﻒ‬‫ﯾ‬ِ‫َﺮ‬‫ﻌ‬ْ‫اﻟ‬ ซึงเป็นตัวแทนของเผ่าและหมู่บ้านต่างๆ ซึงเปรียบเทียบได้กับปัจจุบันคือ
ตําแหน่งกํานันและผู้ใหญ่บ้าน แต่ข้อแตกต่างคือ อัลอะรีฟนันต้องเป็นคนทีมีความเข้มแข็งทีสุดทางศาสนาใน
หมู่ชนของเขา ก็หมายรวมว่าตัวแทนหมู่บ้านจะต้องเป็นคนทีละหมาด ปฏิบัติศาสนกิจ และมีลักษณะความ
เป็นผู้ใหญ่และมีความรับผิดชอบมากกว่าผู้อืนจากคุณสมบัติเหล่านีจึงไม่มีโอกาสทีสินบนหรือผลประโยชน์จะ
มีอิทธิพลในการเลือกตังอัลอะรีฟ เพราะในระบอบอิสลามมีการป้ องกันเรืองนีมิให้เกิดขึนอยู่แล้ว ซึงจะเห็นได้
ชัดว่าระบอบอิสลามนันมีความเข้มแข็งและเข้มงวดในการเลือกตังตัวแทน เพราะตัวแทนนีแหละทีจะเป็นผู้
เลือกอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ(ทีปรึกษาของผู้นําสูงสุด) ทังนีประชาชนทัวไปยังคงมีอํานาจอยู่ในการปกครองและ
4
ตรวจสอบผู้ปกครองด้วย เพราะการเรียกร้องสู่ความดีปราบปรามความชัวเป็นสิทธิของทุกๆคนในสังคม และ
สิทธิในการทีจะตรวจสอบพฤติกรรมของผู้ปกครองก็เป็นทีประจักษ์ในระบอบอิสลามดังทีอัลลอฮฺซุบฮานะฮูวะ
ตะอาลาได้กล่าวถึงระบอบชูรอทีระบุข้างต้น และดังทีท่านนบี ศ็อลลัลฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวไว้ว่า
ْ‫ﻊ‬ِ‫َﻄ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺴ‬َ‫ﯾ‬ ْ‫َﻢ‬‫ﻟ‬ ْ‫ِن‬ ‫َﺈ‬‫ﻓ‬ ِ‫ه‬ِ‫َﺪ‬‫ﯿ‬ِ ‫ﺑ‬ ُ‫ه‬ْ‫ﱢﺮ‬‫ﯿ‬َ‫ﻐ‬ُ‫ﯿ‬ْ‫َﻠ‬‫ﻓ‬ ً ‫َﺮَا‬‫ﻜ‬ْ‫ﻣُﻨ‬ ْ‫ﻣِﻨْﻜُﻢ‬ ‫َى‬ ‫رَأ‬ ْ‫ﻣَﻦ‬ُ‫َﻒ‬‫ﻌ‬ْ‫َﺿ‬ ‫أ‬ َ‫ﻚ‬ِ‫ﻟ‬َ‫ذ‬َ‫و‬ ِ‫ﮫ‬ِ ‫َﻠْﺒ‬‫ﻘ‬ِ ‫َﺒ‬‫ﻓ‬ ْ‫ﻊ‬ِ‫َﻄ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺴ‬َ‫ﯾ‬ ْ‫َﻢ‬‫ﻟ‬ ْ‫ِن‬ ‫َﺈ‬‫ﻓ‬ ِ‫ﮫ‬ِ‫ﻧ‬‫َﺎ‬‫ﺴ‬ِ‫ﻠ‬ِ ‫َﺒ‬‫ﻓ‬
‫ْﻤَﺎن‬‫ﯾ‬ِ‫اﻹ‬
“ใครก็ตามในหมู่พวกท่านได้เห็นความผิดใดๆ ก็จงเปลียนแปลงด้วยมือ (หมายถึงอํานาจ) หากเขาไม่มี
ความสามารถก็จงเปลียนแปลงด้วยลิน(หมายถึงตักเตือนคัดค้าน)หากเขาไม่มีความสามารถก็จงเปลียนแปลง
ด้วยหัวใจ(หมายถึงการเกลียดความผิดนัน) และนันคืออีมานทีอ่อนแอทีสุด” บันทึกโดยอิมามมุสลิม
ในประวัติศาสตร์ของผู้ปกครองมุสลิม ประชาชนได้ปฏิบัติหน้าทีตรวจสอบพฤติกรรมของผู้ปกครอง
อย่างไม่มีขอบเขต จนกระทังได้มีปรากฏในประวัติศาสตร์อิสลามว่าคนสามัญชนหรือแม้กระทังชาวชนบท
เร่ร่อนได้เข้าไปใกล้บัลลังก์หรือผู้นํามุสลิม เพือตักเตือนคัดค้านในสิงทีไม่ถูกต้องตามหลักศาสนา โดยเฉพาะ
นักปราชญ์หรืออุละมาอฺทีมีชือเสียง ซึงทุกท่านจะมีประสบการณ์ในการตักเตือนผู้ปกครองในรูปแบบหนึง
รูปแบบใดและจะมีบทบัญญัติชัดเจนทีจะกล่าวถึงขอบเขตอํานาจผู้ปกครองดังทีมีในสํานวนหะดีษของท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ดังนี
ِ‫ِﻖ‬‫ﻟ‬‫ﺎ‬َ‫اﻟﺨ‬ ِ‫َﺔ‬‫ﯿ‬ِ‫ْﺼ‬‫ﻌ‬َ‫ﻣ‬ ‫ﻓﻲ‬ ٍ‫ق‬ْ‫ُﻮ‬ ‫ﻠ‬ْ‫ِﻤَﺨ‬‫ﻟ‬ َ‫ﺔ‬َ‫ﻋ‬‫َﺎ‬‫ط‬ ‫ﻻ‬
“ไม่มีการเชือฟังใดๆต่อมนุษย์ในสิงทีเป็นการฝ่าฝืนพระผู้ทรงสร้างมนุษย์”
นันหมายถึงว่าชรีอะฮฺย่อมมีอํานาจเหนือกว่าอํานาจของผู้ปกครอง และนันคือหลักประกันทีจะให้
ประชาชนมีทีพึงและมีอํานาจทีจะใช้ในการคัดค้านการกระทําของผู้ปกครองทีไม่ถูกต้อง
ในยุคปัจจุบันมุสลิมสามารถตังระบบในการตรวจสอบและไต่สวนพฤติกรรมของผู้ปกครองโดยให้
ชรีอะฮฺเป็นกฎเกณฑ์หรือบรรทัดฐานในการตรวจสอบนัน ในอดีตของประชาชาติอิสลาม ผู้มีอํานาจตรวจสอบ
สูงสุดคือศาลชรีอะฮฺ ซึงอํานาจของศาลชรีอะฮฺสามารถไต่สวนและตัดสินต่อผู้นําสูงสุดของประเทศ(คือคอ
ลีฟะฮฺ)ได้ และในประวัติศาสตร์ของบรรดากอฎี(ดาโต๊ะหรือผู้พิพากษา)ก็ปรากฏตัวอย่างมากมายทีคอลีฟะฮฺ
5
หรือผู้นําสูงสุดเป็นคู่กรณีกับประชาชนทัวไป ซึงทังสองฝ่ายยืนต่อหน้าผู้พิพากษาอย่างเสมอภาค และในตํารา
นิติศาสตร์อิสลามก็มีการระบุมารยาทของผู้พิพากษาต่อจําเลยและโจทก์ ทีให้มีความยุติธรรมแม้กระทังใน
ถ้อยคําและการมองหน้าทังสองฝ่าย ดังทีมีสุภาษิตในวงผู้พิพากษาคือ “อัลอัดลุ ฟิลลัฟซิ วัลละฮฺซิ” หมายถึง
“ยุติธรรมตอนพูดและตอนมอง” นีคือรายละเอียดเล็กน้อยทีจะบ่งถึงความแตกต่างระหว่างระบอบอิสลามและ
ระบอบประชาธิปไตยในการรับรองความเข้มแข็งของผู้ปกครองให้เป็นผู้ปกครองทีมีอุดมการณ์ทางคุณธรรม
และความยุติธรรม (เชคเชคริฎอ อะหมัด สมะดี ,ออนไลน์ 5 ธันวาคม 2557)
การเลือกตังในระบอบอิสลามโดยทัวไปจึงเป็นการเลือกจากการหารือของสภาผู้นําทีได้รับการ
ยอมรับและได้รับเลือกโดยจากการโหวตหรือวิธีการอืนใดจากผู้ใต้การปกครองแล้ว ทังนีอิสลามไม่มีรูปแบบ
หนึงสิทธิ หนึงเสียงหรือรูปแบบอืนใดทีตายตัวขึนอยู่กับการยอมรับของผู้คนในสังคมโดยไม่ขัดกับหลักการทาง
ศาสนาเพือเป็นการลดครหาและให้เกียรติการตัดสินใจของผู้นําทีถูกเลือกแล้วจากผู้ใต้ปกครองเองดังแผนผัง
มโนทัศน์ต่อไปนี
ผู้นําสูงสุด
(หนึงในตัวแทนปะชาชนทังสาม)
สภาปรึกษาและยอมรับกันเลือกผู้นํา
สภานักปราชญ์ / ผู้อาวุโสทีทรงคุณธรรม
ตัวแทนประชาชนสังคม 1 ตัวแทนประชาชนสังคม 2 ตัวแทนประชาชนสังคม 3
ประชาชนสังคม
เลือกผู้แทนตัวเอง
ทีเป็นทียอมรับยอมรับ
ประชาชนสังคม 2
เลือกผู้แทนตัวเอง
ทีเป็นทียอมรับยอมรับ
ประชาชนสังคม
เลือกผู้แทนตัวเอง
ทีเป็นทียอมรับยอมรับ
6
พัฒนาการขุนนาง “จุฬาราชมนตรี” : ผู้นําจาก “สายตระกูล” ภายใต้สมบูรณาญาสิทธิราชย์
ภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในอาณาจักรอยุธยา ผู้นําอิสลามไม่ได้ถูกสถาปนามาเพือการ
เป็นผู้นําทางจิตวิญญาณ หากแต่ถูกสถาปนามาเพือดํารงพืนทีทางเศรฐกิจ เอือและจัดสรรประโยชน์ระหว่าง
กลุ่มชาวต่างชาติทีมาค้าขายและชนชันสูงในราชสํานักโดยประกอบสร้างในตําแหน่งขุนนางกรมท่าขวาซึงเป็น
ชาวมุสลิมนิกายชีอะฮ์ ในสายตระกูลเฉกอะหมัดมีหน้าทีรับผิดชอบทางด้านการค้าการเดินเรือพาณิชย์แลละ
การต่างประเทศ ควบคุมประชาคมต่างชาติทีประกอบไปด้วยมุสลิม ฮินดู อาร์เมเนีย และพวกเข้ารีต ถึงแม้ขุน
นางกรมท่าขวาส่วนใหญ่จะเป็นมุสลิม แต่ยังมีขุนนางและผู้ชํานาญการต่างประเทศอืนๆ ทีรับราชการใน
หน่วยงานนี เช่น ชาวโปรตุเกส ชาวอินเดียทีนับถือศาสนาฮินดู และชาวอาร์เมเนียเป็นต้น ขุนนางชาว
ต่างประเทศเหล่านีส่วนใหญ่คือกลุ่มทีมาจากฝังตะวันตกของสยาม หรือเกียวข้องกับพวกตะวันตกได้แก่พวก
เข้ารีต ทีนับถือศาสนาคริสต์ นอกจากนีกรมท่าขวายังติดต่อค้าขายอยู่กับมุสลิมจากรัฐอิสลามในเอเซีย
ตะวันออกฉียงใต้คือ มลายู จาม และรัฐในหมู่เกาะอินโดนีเซีย โดยมีขุนนางมุสลิมทีปรากฏราชทินนามว่า
“จุฬาราชมนตรี” (เอกสารเก่าก่อนสมัยรัชกาลที 5 เขียนว่าจุลาราชมนตรี)
จุฬาราชมนตรี เป็นราชทินนามของเจ้ากรมท่าขวา ถือศักดินา 1,400 เท่ากับ ขุนนางราชทินนาม
โชดึก หรือโชดึกราชเศรษฐี เจ้ากรมท่าซ้ยฝ่ายจีนสันนิษฐานว่า “จุลา”คงมาจากคําว่า “จุละ”ในภาษาอาหรับ
ซึงแปลว่า “คณะราชมนตรีทีปรึกษา” สอดคล้องกับคําว่าจุฬาราชมนตรี ในราชทินนามของฝ่ ายไทย
จุฬาราชมนตรีมีหน้าทีกํากับดูแลกิจการในกรมท่าขวาประกอบไปด้วยการค้าและการทูตกับอินเดีย อาหรับ
อิหร่านตลอดจนประเทศมุสลิมอืนๆต่อมาจึงรวมชาวตะวันตกทีค้าขายอยู่บริเวณฝังตะวันตกคืออังกฤษเข้าไว้
ด้วยจุฬาราชมนตรียังมีหน้าทีติดต่อกับชาวต่างชาติโดยทําหน้าทีล่ามหลวงหรือทูตให้กับพระมหากษัตริย์และ
ยังมีหน้าทีควบคุมประชาคมต่างชาติจากภูมิภาคฝังตะวันตกจุฬาราชมนตรีจึงมีหน้าทีคล้ายกับเจ้าพนักกงาน
ในตําแหน่ง “ซาห์บันดาร์” หรือเจ้าท่าซึงเป็นเจ้าพนักงานประจําเมืองท่าการค้าของรัฐมุสลิมทําหน้าทีดูแล
การค้า การเดินเรือ งานด้านศุลกากรและความสงบเรียบร้อยในประชาคมต่างชาติ
จุฬาราชมนตรียังมีฐานะเป็น“มุลละ”หรือผู้นําประชาคมมุสลิมนิกายชีอะฮ์มีหน้าทีควบคุมศาสนิกชน
ให้ปฏิบัติตามชาริอะหมายถึงกฏของพระเจ้าซึงบันทึกอยู่ในพระคัมภีร์อัลกุรอานและอิมามะห์หรือแนวทางคํา
สอนของอิหม่ามมุลละยังมีหน้าทีเป็นหัวหน้าตุลาการตัดสินคดีของมุสลิมและคนในบังคับอันเป็นไปตามระบบ
ตุลาการของสยามทีเจ้าหมู่มูลนายมีหน้าทีเป็นพนักงานในคณะตุลาการ จุฬาราชมนตรีจึงเกียวกับงานด้านการ
7
ศาล แม้จะมีการยกเลิกหน่วยงานของกรมท่าทังหมดไปในสมัยรัชกาลที 5 จุฬาราชมนตรีก็ยังคงมีตําแหน่งที
ปรึกษาอยู่ในศาลต่างประเทศสังกัดกระทรวงยุติธรรม
ขุนนางผู้ใหญ่ทีมีตําแหน่งสูงในกรมท่าขวาตังแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเรือยมาจนถึงรัชกาลที7
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ล้สนสืบสายตระกูลมาจามุสลิมเชือสายอินโด-อิหร่าน สายตระกูลเฉก อะหมัด หากบิดา
ดํารงตําแหน่งเจ้ากรมท่าขวาว่าที “จุฬาราชมนตรี” น้องชายคนแรกหรือบุตรชายคนโตก็มักจะได้รับแต่งตังให้
ดํารงตําแหน่งรองเจ้ากรมหรือว่าที “ราชเศรษฐี” ส่วนบุตรชายหรือน้องคนรองลงมาก็จะดํารงตําแหน่งลดหลัน
กันลงไป ตังแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเป็นต้นมาขุนนางมุสลิมนิกายชีอะฮ์ในสายตระกูลเฉกอะหมัด
จะได้รับแต่งตังให้ดํารงตําแหน่งจุฬาราชมนตรีสืบต่อมาจนถึงสมัยเปลียนแปลงการปกครองในสมัยรัชกาลที 7
ดังนี (จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์,2553)
เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)
เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) เป็นมุสลิมชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ (สิบสองอิมาม) เกิดเมือ
พ.ศ. ณตําบลปาอีเนะชาฮารในเมืองกุมซึงเป็นเมืองศูนย์กลางของศาสนาอิสลามตังอยู่บนทีราบตําทาง
ตอนเหนือของเตหะราน ในประเทศอิหร่านในยุคสมัยทีท่านเฉกอะหมัดเดินทางเข้ามากรุงศรีอยุธยานันเป็นยุค
ทีโปรตุเกสเรืองอํานาจทางทะเลในแถบมหาสมุทรอินเดีย ทําให้พ่อค้าชาวพืนเมืองต้องใช้เส้นทางขนส่งสินค้า
ทางบกเป็นช่วงๆ เส้นทางทีเป็นไปได้ในการเดินทางจากอิหร่านเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาในสมัยนัน คือเดินเท้าจาก
เมืองแอสตะราบาดเข้าสู่แคว้นคุชราตในอินเดียตะวันตก จากนัน เดินเท้าตัดข้ามประเทศอินเดียมายังฝัง
ตะวันออกทางด้านโจฬมณฑลจากนันลงเรือข้ามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามันมายังเมืองตะนาวศรีหรือเมือง
มะริด แล้วจึงเข้าสู่กรุงศรีอยุธยา
ปลายแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เฉกอะหมัดและบริวารได้เข้ามายังกรุงศรีอยุธยา ตัง
บ้านเรือนและห้างร้านค้าขายอยู่ทีตําบลท่ากายีท่านค้าขายจนกระทังมีฐานะเป็นเศรษฐีใหญ่ในกรุงศรีอยุธยา
ท่านสมรสกับท่านเชย มีบุตร คนและธิดา คน
ปลายแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ท่านเฉกอะหมัดได้ช่วยปรับปรุงราชการกรมท่า จนได้ผลดี จึง
โปรดเกล้าฯให้เป็นพระยาเฉกอะหมัดรัตนราชเศรษฐีเจ้ากรมท่าขวาและ จุฬาราชมนตรี นับได้ว่าท่านเป็นปฐม
จุฬาราชมนตรีและเป็นผู้นําพาศาสนาอิสลามนิกายชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ มาสู่ประเทศไทยต่อมาท่านเฉกอะ
หมัดพร้อมด้วยมิตรสหาย ร่วมใจกันปราบปรามชาวต่างชาติกลุ่มหนึง ทีก่อการจลาจล และจะยึด
8
พระบรมมหาราชวัง จึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็น เจ้าพระยาเฉกอะหมัด รัตนาธิบดี สมุหนายกอัครมหาเสนาบดีฝ่าย
เหนือ
พระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว)
พระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว) เกิดเมือปีใดไม่ปรากฏ บิดาคือพระยาศรีเนาวรัตน์ (อากามะหะหมัด)
มารดาชือท่านชี เป็นน้องชายของเจ้าพระยาศรีไสยหาญณรงค์ (ยี) มีศักดิ เป็นหลานตาของเจ้าพระยาบวรราช
นายก (เฉกอะหมัด) เริมรับราชการโดยถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนได้เป็น
หลวงศรียศ (แก้ว) ท่านได้รับการแต่งตังให้เป็นจุฬาราชมนตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงสมัย
สมเด็จพระเพทราชา ไม่ทราบว่าเสียชีวิตเมือใด
พระยาจุฬาราชมนตรี (สน)
พระยาจุฬาราชมนตรี (สน) เกิดเมือปีใดไม่ปรากฏ บิดาคือพระยาศรีไสยหาญณรงค์ (ยี) มารดาชือ
คุณหญิงแสงมีศักดิ เป็นหลานของพระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว)เข้ารับราชการในกรมท่าขวาเป็นหลวงศรียศใน
รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จนได้รับตําแหน่งพระยาจุฬาราชมนตรี ไม่ปรากฏว่าเสียชีวิตเมือใด
พระยาจุฬาราชมนตรี (เซน)
พระยาจุฬาราชมนตรี (เซน) เป็นบุตรของพระยาเพชรพิชัย (ใจ)กับคุณหญิงแฉ่ง เกิดเมือปีใดไม่
ปรากฏ บิดาและน้องชายของท่านเปลียนไปนับถือศาสนาพุทธในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ส่วนท่าน
ยังนับถือศาสนาอิสลาม นิกายชีอะหฺต่อมา เข้ารับราชการในกรมท่าขวาและกองอาสาจามจนได้รับตําแหน่ง
จุฬาราชมนตรี ได้รับพระราชทานเกียรติยศเสมอเจ้าพระยาพระคลังแต่มิได้ตังให้เป็นเจ้าพระยา ไม่ทราบว่า
เสียชีวิตเมือใด
พระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว)
พระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (เซน)และคุณหญิงก้อนทอง รับ
ราชการเป็นมหาดเล็กตังแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ ตอนปลายกรุงศรีอยุธยาจนเสียกรุงเมือ พ.ศ.
เมือเสียกรุงได้หลบหนีข้าศึกมารับราชการกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาได้เป็นขุนป้ องพลขันธ์ และ
หลวงศรีเนาวรัตน์ตามลําดับ ได้ร่วมรบกับข้าศึกจนผลัดแผ่นดินเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที โปรดเกล้าฯ
แต่งตังให้เป็นพระยาจุฬาราชมนตรี มีหน้าทีกํากับราชการกรมท่าขวาและดูแลมุสลิมทัวราชอาณาจักร ถือเป็น
จุฬาราชมนตรีท่านแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ ท่านถึงแก่อนิจกรรมในสมัยรัชกาลที เมืออายุได้ ปี ศพของ
ท่านฝังอยู่ทีมัสยิดต้นสน
9
พระยาจุฬาราชมนตรี (อากายี)
พระยาจุฬาราชมนตรี (อากายี) หรืออากาหยี เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (เซน) และเป็ น
น้องชายของพระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) ได้เป็นจุฬาราชมนตรีต่อจากพีชายจนกระทังถึงแก่อนิจกรรมใน
สมัยรัชกาลที มีบุตรธิดารวม คน บุตรของท่านคนหนึงชือ กลิน ได้เป็นหลวงโกชาอิศหากในสมัย
พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที ส่วนบุตรอีกคนชือน้อย ได้เป็นจุฬาราชมนตรี
พระยาจุฬาราชมนตรี (น้อย)
พระยาจุฬาราชมนตรี (น้อย)เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (อากายี)มารดาชือคุณหญิงสะมีชือ
ทางศาสนาว่ามูหะหมัดบาเกรเกิดเมือปีใดไม่ปรากฏเริมรับราชการในกรมท่าขวาสมัยรัชกาลที ได้เป็นหลวง
ศรีเนาวรัตน์ ท่านเป็นจุฬาราชมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมเมือ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
พระยาจุฬาราชมนตรี (นาม)
พระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (เถือน) มารดาคือคุณหญิงนก เกิด
ในสมัยรัชกาลที แต่ไม่ทราบปี เข้ารับราชการในกรมท่าขวาในสมัยรัชกาลที เป็นพระราชเศรษฐี ได้ว่าการ
คลังวิเศษในกรมท่าหลวง และกํากับชําระตัวเฮียชําระฝินและได้เลือนเป็นจางวางคลังวิเศษกํากับราชการกรม
พระคลังนอก คลังพิเศษ คลังในซ้าย พระคลังใน คลังคํานวณ กํากับภาษีร้อยชักสาม ในสมัยรัชกาลที
นอกจากนัน ท่านยังมีส่วนร่วมในการปราบจลาจลภาคใต้ และวางระเบียบปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ และเป็น
ข้าหลวงตรวจการภาคใต้จนเหตุการณ์สงบ จนกระทังพระยาจุฬาราชมนตรี (น้อย) ถึงแก่อนิจกรรมใน พ.ศ.
ท่านจึงได้รับแต่งตังให้เป็นจุฬาราชมนตรีสืบแทนจนถึงแก่อนิจกรรมใน พ.ศ. ศพของท่านฝังอยู่ที
มัสยิดต้นสน
พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา)
พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) กับคุณหญิงกลิน
เกิดเมือ พ.ศ. เข้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กตังแต่อายุ ปี เข้ารับราชการ มียศเป็นนายฉลองไนยนารถ ใน
สมัยรัชกาลที ย้ายมากรมท่าขวา ได้เป็นหลวงราชเศรษฐี เมือบิดาถึงแก่กรรมจึงได้รับแต่งตังให้เป็นพระยา
จุฬาราชมนตรี เมือ พฤศจิกายน พ.ศ. นอกจากนันยังเป็นผู้พิพากษาศาลคดีต่างประเทศในกระทรวง
ยุติธรรมอีกตําแหน่งหนึง ท่านเป็นข้าราชการทีสนิทชิดเชิอกับรัชกาลที เป็นพิเศษ ได้รับพระราชทาน
เครืองราชอิสริยาภรณ์และพานทองเทียบชันเจ้าพระยาพานทองเมือท่านเจ็บป่วย โปรดให้แพทย์หลวงมาดูแล
รักษา ถึงแก่กรรมเมือ มิถุนายน พ.ศ. รวมอายุ ปี รัชกาลที โปรดให้มีการแห่ศพทางนําอย่าง
สมเกียรติ พระราชทานไม้นิซ่านปักทีหลุมศพของท่านและทรงเป็นประธานในพิธีฝังศพด้วยพระองค์เอง
10
นอกจากนีท่านยังมีธิดาคนหนึง ซึงได้ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ
"เจ้าจอมลม้าย อหะหมัดจุฬา"
พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา)
พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) มีชือ
ทางศาสนาว่า มิซซา อาลีระชา เกิดเมือ พ.ศ. เริมรับราชการเป็นมหาดเล็กในสมัยรัชกาลที ได้เป็นปลัด
กรมท่าขวาตําแหน่งหลวงราชาเศรษฐี เมือ พ.ศ. ต่อมาย้ายไปรับราชการกระทรวงยุติธรรมฝ่ายการเงิน
แล้วเลือนขึนเป็นจ่าศาลต่างประเทศโปรดเกล้าฯแต่งตังให้เป็นพระยาจุฬาราชมนตรีเมือพ.ศ. นอกจากนี
ยังเป็นทีปรึกษาในด้านศาสนาอิสลามให้กับรัชกาลที จนได้รับพระราชทานนามสกุล "อหะหมัดจุฬา" เมือ
กรกฎาคม พ.ศ. มีบุตรหลายคน ถึงแก่อนิจกรรมเมือ เมษายน พ.ศ. รวมอายุได้ ปี พระเจ้า
บรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ เสด็จมาเป็นประธานในพิธีฝังศพแทนพระองค์ด้วย
พระยาจุฬาราชมนตรี (เกษม อหะหมัดจุฬา)
พระจุฬาราชมนตรี (เกษมอหะหมัดจุฬา)เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) กับนาง
แดง อหะหมัดจุฬา มีชือทางศาสนาว่า มุฮัมมัดระชา เกิดเมือ พฤศจิกายน พ.ศ. เริมรับราชการเป็น
มหาดเล็ก ในสมัยรัชกาลที ต่อมาได้รับราชการในกระทรวงยุติธรรมสังกัดกรมกองแสตมป์ มีบรรดาศักดิ เป็น
หลวงศรีเนาวรัตน์ โปรดเกล้าฯ แต่งตังเป็นจุฬาราชมนตรีเมือ พ.ศ. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยดํารงตําแหน่งเจ้ากรมกองแสตมป์ สังกัดกระทรวงยุติธรรมด้วย ถึงแก่กรรมเมือ
กรกฎาคม พ.ศ. รวมอายุได้ ปี
พระยาจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา)
พระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) กับ
คุณหญิงถนอมเกิดเมือวันที กรกฎาคมพ.ศ. เข้ารับราชการในกรมท่าขวา ได้เป็นหลวงราชเศรษฐีเมือ
พ.ศ. ได้รับการแต่งตังเป็ นจุฬาราชมนตรีเมือ พ.ศ. ถือเป็นจุฬาราชมนตรีคนสุดท้ายในสมัย
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ถึงแก่กรรมเมือ พฤศจิกายนพ.ศ.2479หลังจากทียามได้เปลียนแปลงการปกครอง
แผ่นดินจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบราชาธิปไตย ภายใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเมือ24
มิถุนายน 2475 ภายใต้การนําของคณะราษฎร เพียง 4 ปี
นับเป็นการปิดฉากของจุฬาราขมนตรี ผู้นําชาวมุสลิมนิกายชีอะฮ์ทีดํารงตําแหน่งผ่านสายตระกูลมา
ตลอดหลายร้อยปี ศพของจุฬาราชมนตรีท่านสุดท้ายถูกนําไปฝังไว้ ณ สุสานต้นสน หากคลองบางกอกใหญ่
11
เช่นเดียวกับบรรพบุรุษอดีตจุฬาราชมนตรีทีล่วงหน้าไปสถิตอยู่ ณ สุสานแห่งนีถึง 6 คน (สุพจน์ ด่านตระกูล,
2547 :10) นับเป็นเวลายาวนานถึง 350 กว่าปีทีตําแหน่งขุนนางมุสลิมนีครอบครองพืนทีทางเศรษฐกิจในวัง
หลวง และได้รับการอุดหนุน คุ้มครอง ดูแลจากชนชันเจ้านายเป็นอย่างดี แม้แต่ในช่วงผลัดแผ่นดินระหว่างรัช
สมัยพระบาทสมเด็จพระทีนังสุริยาศอมรินทร์ ต่อกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาที 4หรือพระเจ้าตากสิน ที
การเมืองในราชสํานักแปรปรวน เสนาอํามาตย์และขุนนางชันผู้ใหญ่หลายท่านได้รับพิษภัยทางการเมืองใน
ช่วงเวลานัน หากแต่พระยาจุฬาราชมนตรีก้อนแก้ว มหาดเล็กในพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งกรุงศรี
อยุธยาก็แคล้วคลาดปลอดภัยมาจนได้รับราชการในแผ่นดินรัตนโกสินทร์
แช่ม พรหมยงค์ : จุฬาราชมนตรีคนแรก หลังปลียนแปลงการปกครอง
หลังจากการถึงแก่อนิจกรรมของพระยาจุฬาราชมนตรี (สอน) ในปี พ.ศ. 2479 แล้ว ตําแหน่ง
จุฬาราชมนตรีก็ว่างลงหลายปี จนถึงปี พ.ศ. 2488 ภายหลังสงครามโลกครังที 2 ซึงในขณะนัน
นายปรีดีพนมยงค์ดํารงตําแหน่งเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ จึงได้รือฟืนตําแหน่งจุฬาราชมนตรีขึนมาอีก
ครังหนึง เพือแก้ปัญหาความยุ่งยากทางเมือง อันเป็นผลเนืองมาจากการประกาศสงครามกับอังกฤษของ
รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมือ 25 มกราคม 2485 ซึงทําให้สยามประเทศเกือบจะต้องสูญเสียดินแดน
ทางปักษ์ใต้ ทีในสมัยบาณเรียกว่า มณฑลปัตตานี อันประกอบด้วยสามจังหวัดในปัจจุบันคือ ปัตตานี ยะลา
และนราธิวาส ให้กับอังกฤษ
นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ผู้มีสายตายาวไกล ได้รับทราบปัญหานีมาก่อนหน้าที
สงครามโลกครังที 2 จะยุติ กล่าวคือในระหว่างสงครามท่านได้รับทราบมาว่า ทายาทของต่วนกูอับดุลกาเด
อดีตราชาแห่งรัตปัตตานี ชือ ต่วนกู มัยยิดดิน ได้ไปปรากฏตัวทีอินเดีย และได้มีชาวอังกฤษกลุ่มหนึงจัดการ
เลียงต้อนรับเป็นเกียรติแก่ตวนกูผู้นี ได้มีการกล่าวคําปราศัยต้อนรับโดยจบลงด้วยคําอวยพรว่าLongLivethe
King of Pattani
จากการเลียงต้อนรับของชาวอังกฤษกลุ่มนันและดิมอวยพรเช่นนี ทําให้นายปรีดีย์ พนมยงค์
ตระหนักว่าภายหลังสงครามยุติลงสยามจะต้องประสบปัญหาชายแดนปักษ์ใต้อย่างแน่นอนเพราะในระหว่าง
สงครามนัน ไทยได้รับมอบจากญีปุ่นซึงดินแดนทีไทยเสียให้แก่อังกฤษในยุคล่าอาณานิคม มีปะลิด กลันตัน
ไทรบุรี และตรังกานู กลับคืนมา อันยังความโกรธแค้นให้กับอังกฤษเจ้าอาณานิคมเดิม ดังนันภายหลังสงคราม
ซึงไทยจะต้องคืนดินแดน 4 รัฐทีรับมอบมาจากญีปุ่นในระหว่างสงคราม คืนกลับให้อังกฤษ เจ้าอาณานิคมเดิม
12
อย่างแน่นอน และอาจสูญเสียสามจังหวัดชายแดนปักษ์ใต้อดีตมณฑลปัตตานีรวมไปด้วย เพราะคําอวยพร
Long Live the King of Pattani มีความหมายเป็นนัยอยู่แล้ว
ในการแก้ปัญหาความยุ่งยากทางการเมืองดังกล่าว อยู่หนทางเดียวเท่านันทีจะนําไปสู่ความสําเร็จ
คือความเป็นเอกภาพของชาติและความผาสุกของประชาชนถ้วนหน้า นันคือหาทางแห่งประชาธิปไตย แต่
จะต้องเป็นประชาธิปไตยของประชาชนคือเป็นการปกครองของประชาชนโดยประชาชนเพือประชาชนอันเป็น
ประชาธิปไตยรอบด้านไม่ใช่ประชาธิปไตยเจ้าสมบัติแต่ประชาชนถูกจํากัดประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจภารกิจ
สําคัญของนายปรีดี พนมยงค์ จึงเป็นการทําความเข้าใจกับพีน้องประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ใน
การนีนายปรีดี พนมยงค์จึงเลือกสรรนายแช่ม พรหมยงค์ สหายผู้ร่วมขบวนการเปลียนแปลงการปกครอง
แผ่นดิน เมือ 24 มิถุนายน 2475 ซึงนายปรีดี พนมยงค์เล็งเห็นว่าเป็ นผู้ซือสัตย์ สุจริต ศรัทธาในระบอบ
ประชาธิปไตยทีแท้จริง
นายแช่มพรหมลงค์จึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ดํารงตําแหน่งจุฬาราชมนตรีโดยพระบรมราช
โองการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (สุพจน์ ด่านตระกูล, 2547:11-13) พ.ศ. 2488 เป็น
จุฬาราชมนตรี นิกายซุนนี ซึงเป็นนิกายทีมีชาวมุสลิมนับถือมากทีสุดคนแรกตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการ
ศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. 2488 โดยในมาตราที 3 นันมีใจความให้ จุฬาราชมนตรี มีหน้าทีปฏิบัติราชการ
ส่วนพระองค์ จะเห็นได้ว่า จุฬาราชมนตรีแช่ม พรหมยงค์ ถูกสถาปนาขึนมามาเพือนัยทางการเมืองทีนายปรีดี
พนมยงค์เองในฐานะผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ต้องการคนในสังกัดจากศาสนาอิสลามดํารงตัวตนเกียวพัน
กับสถาบันกษัตริย์ นายแช่มพรหมยงค์จึงถือว่าเป็น จุฬาราชมนตรีแบบสถาปนาตนเองเพือผลประโยชน์ทาง
การเมืองในสมัยนันเป็นสําคัญ ไม่ได้ผ่านกระบวนการเลือกตังจากกรรมการกลางอิสลามอย่างในสมัยถัดมา
หลังเหตุการณ์รัฐประหารในปี พ.ศ. นายแช่ม ต้องลีภัยการเมืองไปพร้อมกับ นายปรีดี พนม
ยงค์ ยังสิงคโปร์และสหรัฐอเมริกา และท้ายสุดไปอยู่ทีรัฐกลันตัน มาเลเซียซึงขณะนันเป็นดินแดนในอารักขา
ของอังกฤษและซาอุดิอาระเบียตามลําดับก่อนจุฬาราชมนตรีจะถูกลดบทบาทให้เป็นทีปรึกษาราชการชันกรม
เท่านันหลังประกาศพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. โดยเปลียนแปลงวิธีการ
ได้มาของจุฬาราชมนตรีเป็นเลือกตังจากกรรมการอิสลามจนกระทังเดือนมิถุนายนพ.ศ. ได้เดินทางกลับ
สู่ประเทศไทย เมือทางรัฐบาลขณะนันอภัยโทษให้ และมาใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย จนกระทังถึงแก่กรรมเมือวันที
กรกฎาคม พ.ศ. ด้วยวัย ปี
13
สถานการณ์ “จุฬาราชมนตรี” ภายใต้ความเห็นต่างและหลากหน้ามิติแห่งรัฐและศาสนา
จุฬาราชมนตรีต่วน สุวรรณศาสน์ กับรัฐบาลสร้างชาติด้วยความเป็ นไทย
ตําแหน่งจุฬาราชมนตรีเปลียนแปลงไปจากแต่ก่อน หลังประกาศพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการ
ศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. 2491 ซึงเป็นปีแรกของการรับตําแหน่งของจุฬาราชมนตรี ต่วน สุวรรณศาสน์
สถานภาพจุฬาราชมนตรีก็ถูกลดบทบาทลงจากข้าราชการในองค์พระมหากษัตริย์เป็นเพียงทีปรึกษากรมการ
ศาสนา ซึงเป็นจุดเปลียนสถานะอํานาจทีสําคัญของจุฬาราชมนตรีในประวัติศาสตร์ อันเนืองมาจากรัฐบาล
ทีมาจากคณะทหารแห่งชาติในสมัยนันต้องการลดทอนอํานาจจุฬาราชมนตรีซึงแต่เดิมมีตําแหน่งใกล้ชิด
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเป็นเป็นคนสนิทของหลวงประดิษฐมนูธรรม อีกทังในเวลานันวาทกรรมการ
สร้างชาติด้วยวัฒนธรรมไทยส่วนกลางทีหวังจะหลอมรวมคนในชาติด้วยไทยแบบพุทธศาสนาทีดําเนินอย่าง
เข้มแข็งมาตังแต่รัฐบาลจอมพลป.พิบูลสงครามนันทรงพลานุภาพมากมีผลกระบทต่อความรู้สึกนึกคิดวิธีคิด
ของชาวมุสลิมท้องถินในประเทศไทยสมัยนัน ทําให้จุฬาราชมนตรีต่วน สุวรรณศาสน์ต้องตกอยู่ในภาวะคน
กลางในขณะทีอํานาจต่อกรและต่อรองทังกับฝ่ายเจ้านายและผู้บริหารประเทศมีน้อยลง หากแต่ปรากฏการณ์
การขับเบียดความเป็นมุสลิมจากรัฐบาลกลางมีมากขึน
จุฬาราชมนตรีกับมิติใหม่
ไม่ใช่แต่มิติทางอํานาจแห่งรัฐเท่านัน ในมิติของบทบาททางศาสนาเองก็เปลียนไปด้วยเช่นกัน
นับตังแต่จุฬาราชมนตรีประเสริฐ มะหะหมัด ความเป็นจุฬาราชมนตรีก็ถุกท้าทายจากโลกมิติใหม่ อัน
เนืองมาจากในปัจจุบันอิสลามมิกชนได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันทังทางโลกและทางธรรมมากขึน
จุฬาราชมนตรี ซึงเดิมเป็นตําแหน่งมีเกิดมาเพือผลประโยชน์เป็นสําคัญ จึงถูกเพ่งเล็งและตรวจสอบมากขึนแม้
ในปัจจุบันจุฬาราชมนตรีจะไม่มีส่วนได้เสียกับราชสํานักหรือการเมืองส่วนกลางแล้วก็ตาม แต่ผลพวงของการ
รวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางในอดีตและสภาวการณ์การเป็นผู้นําทีนักวิชาการศาสนาไม่เห็นด้วยกับการได้มาซึง
จุฬาราชมนตรี แม้จะมีการเลือกตังจากมัสยิดท้องถิน สู่กรรมการกลางอิสลามประจําจังหวัด สู่กรรมการกลาง
อิสลามแห่งประเทศไทยหากแต่ก็ไม่ได้เป็นไปตามหลักการศาสนาโดยบริสุทธิ นักวิชาการทางศาสนาหลายคน
เชือว่าตําแหน่งจุฬาราชมนตรียังคงดํารงบนพืนทีผลประโยชน์ทางธุรกิจ การเมือง แม้จะไม่ได้เกิดขึนในราช
สํานักเยียงอดีตก็ตาม แต่ก็ทําให้นัยและเจตนารมณ์ของ “ความเป็นผู้นํา” ในสังคมมุสลิมผิดรูปผิดรอยไป
14
แนวความคิดในการปฏิบัติศาสนกิจทีไม่ตรงกันของชาวมุสลิมในประเทศไทย ทีมีความเห็นต่าง
เกียวกับรูปแบบรายละเอียดในการดูดวงจันทร์เพือประกาศวันตรุษสําคัญทางศาสนา รูปแบบการปฏิบัติ
ศาสนกิจอืนๆ ของชาวมุสลิมก็เป็นปรากฏการณ์สําคัญทีชีบอก สถานภาพของจุฬาราชมนตรีทีเปลียนไป
ประกอบกับข้อคิดเห็นของนักวิชาการศาสนาบางส่วนทีมองตําแหน่งจุฬาราชมนตรี เป็นตําแหน่งทีดํารงได้ด้วย
ผลประโยชน์ทางโลกมากกว่าจิตวิญญาณ จึงทําให้ชาวมุสลิมบางคนไม่ยอมรับหรือไม่ปฏิบัติตาม “ผู้นํา” ใน
ตําแหน่ง “จุฬาราชมนตรี” ตามทีมีชาวมุสลิมในจังหวัดยะลาให้สัมภาษณ์ว่า
“จากรายอฮัจยี*วันก่อนทีไม่ทําตามประกาศของจุฬาราชมนตรี เพราะจุฬาฯไม่ได้ทําตามซุนนะห์น
บี** คือ ตามหลักการถ้าวุกุฟ*** วันที วันถัดไปเราต้องออกอีดตามซุนนะห์นบี จุฬาฯ เองต้องเป็นตัวแทนของ
ชาวมุสลิม มีหน้าทีตรวจสอบความถูกต้องตามหลักศาสนา เป็นทีปรึกษาเมือเกิดความขัดแย้งกันในสังคม
มุสลิม”
(ผู้ให้สัมภาษณ์คนที 2 , 25 พฤศจิกายน 2557)
อย่างไรก็ตามไม่ว่าสถานภาพของจุฬาราชมนตรีจะเปลียนไปอย่างไรทังกับชาวมุสลิมด้วยกันและศา
สนิกชนอืน สถาบันจุฬาราชมนตรีก็ยังคงดํารงตัวตนโดยเกียวพันกับสถาบันกษัตริย์อย่างปฏิเสธไม่ได้ แต่นัย
ของการปฏิสัมพันธ์กับสถาบันกษัตริย์ของจุฬาราชมนตรีอาจไม่ใช่เพือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในราชสํานัก
หรือทางการเมืองอย่างเข้มข้นเยียงอดีตทีผ่านมา แต่เปลียนเป็นปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบประเพณี พิธีกรรม
ประดิษฐ์แทน มุสลิมบางกลุ่มก็ไม่ยอมรับสถานภาพผู้นํา “จุฬาราชมนตรี” อันเนืองมาจากเหตุหนึงทีสถาบัน
จุฬามักประกอบพิธีกรรมประดิษฐ์ซึงขัดกับหลักการศาสนาบางประการ ล้วนแต่เป็นประเพณีประดิษฐ์ทีต้อง
เกียวข้องกับสถาบันกษัตริย์ทังสิน อาทิ การจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ซึงนักวิชาการศาสานา
บางส่วนตัดสินว่ากระทําไม่ได้เพราะขัดกับหลักการศาสนาซึงเป็นงานฉลองวันคล้ายวันประสูติของนบีมูฮํานัด
องค์อัครศาสนทูตทางสํานักจุฬาราชมนตรีจะกราบทูลเชิญเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์หรือผู้แทนพระองค์มาเป็น
องค์ประธานในพิธี เหล่านีเกียวพันกับสถาบันกษัตริย์ในฐานะทีสถาบันกษัตริย์เองก็ต้องดํารงพระองค์ในฐานะ
องค์อัครศาสนูปถัมภกอย่างหลีกเลียงไม่ได้
___________________________________
*วันตรุษสําคัญทางศาสนา เป็นการฉลองการประกอบพิธีฮัจญ์ ตรงกับวันที 10 เดือน 12 ตามปฏิทินอาหรับ หรือ ออกอีดก็ว่า
**ดํารัส หรือจริยวัตรอืนใดอันแบบอย่างของท่าศาสนทูตมูฮํามัด
***ขันตอนหนึงของการประกอบพิธีฮัจญ์ คือ การพักสงบทีทุ่งอารอฟะฮ์ทีประเทศซาอุดิอารเบียในวันที 9 เดือน 12 ตามปฏิบัติอาหรับ
15
บทสรุป : ขุนนางกับความเป็นไทยแบบกษัตริย์นิยมในสังคมมุสลิม
ไม่ว่ากาลเวลาจะเปลียนไปเพียงใด ปรากฏการณ์ความเป็นจุฬาราชมนตรี ยังคงเกียวพันกับสถาบัน
กษัตริย์ทังบนพืนทีของการเมืองราชสํานักและบนพืนทีของการเมืองกับอัตลักษณ์มุสลิม ทังหลายล้วนแต่ถูก
ประกอบสร้างขึนมาจากความเป็นไทยภายใต้รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์สยาม โดยหากจะพูดถึงจุดเริมต้นของ
ความเป็นไทยตามนัยแห่งรัฐ ก็ต้องย้อนกลับไปนับตังแต่สมัยของการรวมศูนย์อํานาจเข้ามาสู้การเป็นรัฐสมัย
ใหม่ในสมัยรัชกาลที ๕ ทีมีหัวหอกสําคัญคือกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซึงเริมขึนนับตังแต่ปี พ.ศ. 2435 อัน
เป็นจุดเริมต้นทีมีการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินจากระบบหัวเมืองประเทศราชให้เป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล
ซึงมีลักษณะสําคัญคือ การยกเลิกความเป็นเอกเทศ (autonomy) ของหัวเมืองประเทศราชเดิม ทีมีความเป็น
อิสระ มีอํานาจในการจัดการเป็นของตัวเองและมีความสําพันธ์กับกรุงเทพฯ ในลักษณะหลวมๆ ให้กลายเป็น
เพียงจังหวัดต่าง ๆ ทีรวมตัวกันเป็นมณฑลหนึงๆ ของสยาม อยู่ภายใต้อํานาจการจัดการและระบบกฎหมาย
ส่วนกลางโดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลซึงได้รับแต่งตังจากกรุงเทพฯเป็นผู้มีอํานาจในฐานะตัวแทนจากส่วนกลาง
ซึงสมัยนันนักวิชาการส่วนหนึงมองว่านีคือการพยายามสลายอัตลักษณ์ของท้องถินให้กลายเป็นส่วนหนึงของ
สยามส่วนกลาง โดยการบังคับการเรียนการสอนในโรงเรียนให้เป็นภาษาไทยกลาง และการพยยามลดทอน
ความสําคัญของอัตลักษณ์ท้องถินลงในขณะทีสถาปนาความสําคัญของวัฒนธรรมแห่งชาติ อันเป็นหนึงเดียว
ขึนมา นักวิชาการอีกส่วนหนึงก็ได้เสนอว่าการรวมชาติให้เป็นหนึงเดียวนี มิได้รวมถึงในเชิงวัฒนธรรมด้วย
โดยอัตลักษณ์ทางด้าน “ชาติพันธุ์”ของท้องถินยังมิได้ถุกรบกวนมากนักแต่ต้องเป็นไปภายใต้เงือนไขทีว่าผู้คน
ในอาณาเขตของสยามจะต้องถือว่าตนเองรับเอา “สัญชาติ” ไทยมาเป็นอัตลักษณ์แห่งชาติของตนเอง มีความ
จงรักภักดีต่อพระมหากษัติริย์สยามมีความรู้ในภาษาไทยและมีความสามัคคีกันแม้จะมีความพยายามในการ
ลดทอนความสําคัญของอัตลักษณ์ท้องถินแต่ก็มิได้ทําลายความหลากหลายไปเสียทีเดียวสิงทีชนชันปกครอง
ของสยามใช้ในการสร้างชาติคือ การอาศัยเอาพระมหากษัตริย์และภาษาไทยกลางอันเป็นภาษาทีชนชันนําใช้
มาเป็นศูนย์กลางความเป็นชาติเท่านัน (อนุธีร์ เดชเทวพร ,2012 :94) ผลพวงจากการรวมศูนย์กลาง และ
ทางการนิยมเป็นปรากฏการณ์ทีเกิดขึนในสังคมมุสลิมในรัฐสยามมาจนถึงรัฐไทยหลังเปลียนแปลงการปกครอง
โดยเฉพาะอย่างยิง สถานภาพของ “จุฬาราชนตรี” ทีต้องทําหน้าทีใน “ทีนังลําบาก” เป็นตัวผสานระหว่างกลุ่ม
ชนมุสลิมทีถูกรุกรานอัตลักษณ์จากรัฐบาลส่วนกลางโดยเฉพาะอย่างยิงในสมัย จุฬาราชมนตรี ต่วน สุวรรณ
ศาสน์ ทีดํารงตําแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2491 – 2524 โดยในช่วงแรกของการดํารงตําแหน่งอยู่นัน ภายใต้รัฐบาล
ปฏิวัติ ของจอมพลสฤษดิ ธนะรัชต์ นอกจากจะได้พยายามส่งเสริมพุทธศาสนาในฐานะบ่อเกิดของศีลธรรม
16
จริยธรรมแบบอนุรักษ์นิยมอันมีคุณค่าของไทยดังเดิมแล้ว ยังได้มีความพยายามฟืนฟูบทบาทของสถาบัน
พระมหากษัตริย์กลับขึนมาอีกด้วย มีการพยายามสถาปนาพิธีกรรมพุทธศาสนาราชสํานักให้เป็น “ค่านิยมที
สําคัญของคนไทย”ซึงในความเป็นจริงรายละเอียดของวัฒนธรรมท้องถินศาสนาอันละเอียดอ่อนนันยากทีจะ
เปลียนได้ โดยเฉพาะศาสนาอิสลามซึงวัตรปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ความเชือ หลักการศาสนาแทบจะแยกจาก
กันไม่ได้ ทําให้ในสมัยดังกล่าวเป็นช่วงเวลาทีเกิดการขับเบียดอัตลัษณ์อิสลามทีเด่นชัดเรือยมา โดยเฉพาะชาว
มุสลิมในพืนทีจังหวัดชายแดนภาคใต้ทีมีประชากรมุสลิมมากกว่าประชากรพุทธ
จนถึงสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร โดยปรากฏการณ์ครังสําคัญทีมีนัยขับเบียดอัตลักษณ์มุสลิม
ได้แก่ การทีทางราชการจังหวัดนราธิวาสร่วมกับคณะสงฆ์ เสนอรายงานขอให้ ฯพณฯ พลเอกประภาส จารุ
เสถียร รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนัน (พ.ศ. 2509) ช่วยอุปถัมภ์สร้าง
พระพุทธรูป “พระพุทธทักษิณมิงมงคล” องค์ใหญ่ในพืนทีทีมีประชากรทัวไปเป็นอิสลามิกชน ประกอบ ฯพณฯ
พลเอกประภาส ท่านดําริอยู่แล้วทีจะก่อสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ ให้เป็นศรีสง่าและเป็นมิงขวัญประจํา
ภาคใต้ไว้เป็นศรีสง่า และเป็นมิงขวัญชาวพุทธประจําภาคใต้ตลอดไป ทําให้เกิดกระแสต่อต้านคนจากทาง
ราชการส่วนกลางของชาวมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึงหนึงในนันก็คือ จุฬาราชมนตรี ทีดํารงตําแหน่ง
คนจากส่วนกลาง ในฐานะทีปรึกษากรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ตามประกาศทางราชการ (พ.ศ.2491 –
2540) ก่อนทีจะจัดตังพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม เป็นเอกเทศใน พ.ศ. 2540 ดังที
นักวิชาการท่านหนึงในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาได้ให้สัมภาษณ์ว่า
“จุฬาราชมนตรีเป็นประมุขของศาสนาอิสลาม(ใช้คําว่าประมุขเป็นมากกว่าผู้นําธรรมดา)คนในสาม
จังหวัดมีกระแสความคิดเกียวกับจุฬาราชมนตรี กระแส คือ ยอมรับและไม่ค่อยยอมรับ คนส่วนหนึงในสาม
จังหวัดส่วนหนึงมีกระแสไม่ค่อยยอมรับจุฬาราชมนตรีส่วนกลางเพราะมีความรู้สึกว่าถูกแต่งตังจากส่วนกลาง
เช่น สมัยต่วน (คนทีเคยเป็นจุฬา ฯ จํานามสกุลไม่ได้) หนังสือของเค้าไม่ได้รับการยอมรับ ...”
(ผู้ให้สัมภาษณ์คนที 1 , 25 พฤศจิกายน 2557)
จุฬาราชมนตรีจึงเป็นตําแหน่งทีแสดงให้เห็นถึงพัฒนาของขุนนาง ทีบ่งชีว่าไม่ว่าจะดํารงตัวตนอยู่ใน
ยุคสมัยไหน มีบทบาทบนพืนทีของสิงใดก็ตามทังราชสํานัก ธุรกิจ การเมือง ศิลปวัฒธรรม ความเชือ ศาสนา
จุฬาราชมนตรียังคงถูกประกอบสร้างจากความเป็นไทยแบบกษัตริย์นิยมอยู่อย่างมันคงแม้ในปัจจุบันตําแหน่ง
จุฬาราชมนตรี จะหลุดพ้นจากส่วนได้เสียในราชสํานักแล้วก็ตามหากแต่บนพืนทีของการเมืองวัฒนธรรมและ
17
ประเพณีประดิษฐ์ทางความเชือและศาสนา จุฬาราชมนตรีก็ยังคงดํารงอย่างเกียวพันกับสถาบันกษัตริย์ทังทีมี
นัยสําคัญและไม่มีนัยสําคัญอย่างเป็นปกติวิสัย
บรรณานุกรม
จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์. (2553). มุสลิมเชือสายอินโด – อิหร่านนิกาชีอะฮ์ในประเทศไทย : พัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์และบทบาทในสังคมไทย.หลากมุมมอง:มุสลิมในแผ่นดินไทย,66–93.กรุงเทพฯ
: ศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มห่วิทยาลัย.
เชคริฎอ อะหมัด สมะดี.(3 เมษายน 2552). การเลือกตังผู้นํามุสลิมตามระบอบอิสลาม. สืบค้นเมือ 5 ธันวาคม
2557, จาก http://www.islaminthailand.org/dp /node/ .
ผู้ให้สัมภาษณ์คนที . ( , พฤศจิกายน). อาจารย์ประจํา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. กรุงเทพฯ:
สัมภาษณ์.
ผู้ให้สัมภาษณ์คนที 2. ( 7, 25 พฤศจิกายน). แม่บ้านชาวยะลา. กรุงเทพฯ: สัมภาษณ์.
พิทยา บุนนาค. (2548). มุสลิมผู้นํา “ปฐมจุฬาราชมนตรี” คนแรกในสยาม การเดินทางของท่านเฉกอะหมัด
จากเปอร์เซีย (อิหร่าน) ถึงสยาม (กรุงศรีอยุธยา). (พิมพ์ครังที 1). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มติชน.
รัชนี สาดเปรม. ( ). บทบาทของชาวมุสลิมในภาคกลางและภาคใต้ของประเทศไทย
ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตังแต่ พ.ศ. – . วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สง่า วิไลวรรณ และคณะ. (2526). จุฬาราชมนตรีต่วน สุวรรณศาสน์ และความเป็นมาของ
ตําแหน่งจุฬาราชมนตรี. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์เรือนอักษร.
สุพจน์ ด่านตระกูล. (2547). อดีตจุฬาราชมนตรีแช่ม พรหมยงค์ (ซําซุดดิน มุสตาฟา) กับ 4 จังหวัดภาคใต้.
(พิมพ์ครังที 1). นนทบุรี : สถาบันวิทยาศาสตร์สังคม (ประเทศไทย).
อนุธีร์ เดชเทวพร. (2555, กันยายน – ธันวาคม). “ความเป็นไทย” หลายหน้า: การแย่งชิงและแบ่งปัยพืนที
นิยาม. Veridian E-Journal, 5(3): 87-105.
อับดุลรอชีด เจะมะ. (2542). สังคมอิสลาม. (ฉบับแก้ไขปรับปรุงครังที 3). ปัตตานี : วิทยาลัยอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
จุฬาราชมนตรี
จุฬาราชมนตรี
จุฬาราชมนตรี

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Saba Software
 

Featured (20)

Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 

จุฬาราชมนตรี

  • 1. 1 บทนํา: ผู้นํา กับ ศาสนาอิสลาม “ผู้นํา” เป็นสถานะของบุคคลทีได้รับอํานาจทังอันชอบและมิชอบโดยแปรตามบริบทของปัจจุยการ ก่อร่างสังคมและสภาพการณ์ของสังคมนัน ๆ ในทางศาสนาอิสลามการมี “ผู้นํา” ไม่ใช่เป็นเพียงปรากฏการณ์ ทางสังคมรัฐ และอํานาจเท่านันแต่หากยังหมายรวมถึงภาพสะท้อน ความศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้าวัฒนธรรม จริยศาสตร์ และจิตวิญญาณอีกด้วย “ผู้นํา” ของชาวมุสลิมจึงต้องมีกระบวนทัศน์ทีสัมพันธ์กับบทบัญญัติใน ศาสนาอิสลามทุกมิติ เมือใดก็ตามทีสังคมเกิดประเด็นปัญหาเกียวกับผู้นํา ผู้คนในสังคมต้องทบทวนทีมาทีไป ของปัญหานัน ๆ อย่างเป็นสัมพันธภาพ เพราะชาวมุสลิมมิอาจแยกศรัทธาออกจากวิถีฆราวาสได้ดังทีพระผู้ เป็นเจ้าได้ตรัสไว้ในพระคัมภีร์อัลกุรอาน บทบากอเราะห์ วรรคที 208 ว่า ً‫ﱠﺔ‬ ‫َﺎﻓ‬‫ﻛ‬ ِ‫ﱢﻠْﻢ‬‫ﺴ‬‫اﻟ‬ ‫ِﻲ‬‫ﻓ‬ ‫ا‬ْ‫ُﻮ‬ ‫ْﺧُﻠ‬‫د‬‫ا‬ ‫ا‬ْ‫ُﻮ‬‫ﻨ‬َ‫آﻣ‬ َ‫ْﻦ‬‫ﯾ‬‫ﱠﺬ‬ ‫اﻟ‬ ‫َﺎ‬‫ﮭ‬‫ﱡ‬‫ﯾ‬َ ‫أ‬ ‫َﺎ‬‫ﯾ‬ “บรรดาผู้ศรัทธาทังหลาย จงเข้าอยู่ในบัญญัติแห่งอิสลามโดยทัวทังหมด” นํามาซึงระบอบการเลือกตังแบบอิสลามทีมีมิติแห่งจรรยาบรรณของสมาชิกในสังคมมุสลิม และมิติ ทีเป็นจรรยาบรรณของผู้ปกครองหรือผู้ทีอาจเป็นผู้ปกครองตามกระบวนการการเลือกตัง ซึงจะตัดส่วนนีจาก ระบอบการปกครองของอัลอิสลามมิได้ เพราะจรรยาบรรณของมุสลิมเป็นปัจจัยสําคัญทีจะคําประกันให้การ เลือกตังมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ ผลตามเป้ าหมายของระบอบอัลอิสลาม ระบอบการเลือกตังผู้นําและผู้ปกครองแผ่นดินในอัลอิสลามเรียกว่า ชูรอ (‫)ﺷﻮرى‬ โดยรากศัพท์คํา นีมีความหมายว่า ปรึกษาหารือหรือให้คําแนะนํา ซึงถูกระบุในอัลกุรอานอย่างชัดเจนว่าเป็นระบอบการ ปกครองของสังคมมุสลิม จนกระทังบรรดาสาวกเรียกซูเราะฮฺทีมีอายะฮฺเกียวกับเรืองระบอบการปกครองว่า ซูเราะตุชชูรอ ในซูเราะฮฺนีอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ตรัสไว้ว่า ‫ﺎ‬َ‫َﺠ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺳ‬‫ا‬ َ‫ْﻦ‬‫ﯾ‬ِ‫ﱠﺬ‬ ‫اﻟ‬َ‫و‬َ‫ن‬ْ‫ُﻮ‬‫ِﻘ‬‫ﻔ‬ْ‫ُﻨ‬‫ﯾ‬ ْ‫ُﻢ‬‫ھ‬‫َﺎ‬‫ﻨ‬ْ‫َﻗ‬‫ز‬َ‫ر‬ ‫ﻣِﻤﱠﺎ‬َ‫و‬ ْ‫ُﻢ‬‫ﮭ‬َ‫ﻨ‬ْ‫ﯾ‬ َ‫ب‬ ‫رَى‬ْ‫ﺷُﻮ‬ ْ‫ُﻢ‬‫ھ‬ُ‫ﺮ‬ْ‫َﻣ‬ ‫وَأ‬ َ‫ة‬‫ﱠﻼ‬‫ﺼ‬‫اﻟ‬ ‫َﺎﻣُﻮا‬‫ﻗ‬َ ‫أ‬َ‫و‬ ْ‫ﱢﮭِﻢ‬‫ﺑ‬َ‫ِﺮ‬‫ﻟ‬‫ا‬ْ‫ُﻮ‬‫ﺑ‬ “และบรรดาผู้ตอบรับต่อพระเจ้าของพวกเขา และดํารงละหมาด และกิจการของพวกเขา(หมายถึง เรืองส่วนรวม)มีการปรึกษาหารือระหว่างพวกเขา และเขาบริจาคสิงทีเราได้ให้เครืองปัจจัยยังชีพแก่พวกเขา” (บทอัชชูรอ วรรคที )
  • 2. 2 คําว่า “ชูรอ” ในระบอบการปกครองของอัลอิสลามไม่ได้หมายถึงให้คําปรึกษาอย่างเดียว แต่มีส่วน เกียวข้องกับคุณสมบัติของผู้ให้คําปรึกษาและข้อแนะนําเกียวกับการเลือกตังผู้นําและการให้คําปรึกษากับ ผู้ปกครอง ดังทีมีปรากฏในซูเราะฮฺอาละอิมรอนอัลลอฮฺตรัสไว้ว่า ِ‫َﻣْﺮ‬ ‫اﻷ‬ ‫ﻓﻲ‬ ْ‫ُﻢ‬‫ھ‬ْ‫ِر‬‫َﺎو‬‫ﺷ‬َ‫و‬ ْ‫ُﻢ‬‫ﮭ‬َ‫ﻟ‬ ْ‫ِﺮ‬‫ﻔ‬ْ‫َﻐ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺳ‬‫ا‬َ‫و‬ ْ‫ُﻢ‬‫ﮭ‬ْ‫َﻨ‬‫ﻋ‬ ُ‫َﺎﻋْﻒ‬‫ﻓ‬ “ดังนันจงอภัยให้แก่พวกเขาเถิดและจงขออภัยให้แก่พวกเขาด้วยและจงปรึกษาหารือกับพวกเขาใน กิจการทังหลาย” (บทอาละอิมรอน วรรคที ) คําบัญชาทีอัลลอฮฺใช้ให้ท่านนบีปรึกษาสาวกของท่านนัน บ่งชีถึงความสําคัญของการให้คําปรึกษา (ชูรอ)เพราะถ้าหากท่านนบีได้รับคําสังสอนจากอัลลอฮฺอันเป็นทางนําสําหรับท่านอยู่แล้วคําปรึกษาของมนุษย์ ย่อมไม่มีประโยชน์เลย หรือถ้าหากความคิดของท่านนบีเพียงพอสําหรับท่าน การปรึกษาสาวกจะไร้ประโยชน์ เช่นเดียวกัน เพราะฉะนันการขอคําปรึกษาในระบอบการปกครองของอัลอิสลามเป็นหลักประกันทีต้องเชือฟัง สําหรับผู้รับคําปรึกษา และนันคือจุดหมายของอธิปไตยทีปฏิบัติกันทัวโลก แต่ในระบอบอัลอิสลามมีข้อ แตกต่างสําคัญ เพราะในกฎหมายสากล เจ้าของอธิปไตยคือประชาชน ซึงเป็นอํานาจการปกครองทีจะมอบไว้ ให้แก่ผู้ทีถูกเลือกตังตามระบอบประชาธิปไตย แต่อํานาจนีในระบอบอิสลามอยู่ทีพระผู้เป็นเจ้าและพระดํารัส ของพระองค์ซึงนักปราชญ์อิสลามเรียก อัลฮากิมียะฮฺ ‫ﱠﺔ‬‫ﯿ‬ِ‫ِﻤ‬‫ﻛ‬‫ﺎ‬َ‫اﻟﺤ‬ นันคืออํานาจแห่งการบัญญัติและปกครอง และพระผู้เป็นเจ้าได้มอบหมายให้มนุษยชาติเป็นผู้ดํารงไว้ซึงพระบัญชาของพระองค์ โดยมีผู้รองรับความ ถูกต้องในการวินิจฉัยพระดํารัสของอัลลอฮฺคือ สภานักปราชญ์และผู้อาวุโสในประชาชน ในระบอบอิสลามไม่มีใครมีอํานาจเหนือกว่าพระอํานาจของอัลลอฮฺ หากเป็นอํานาจในการปกครอง หรือให้คําชีขาดหรือคําปรึกษาใดๆก็ขึนกับพระอนุญาตของอัลลอฮฺ จึงต้องมีคุณสมบัติของผู้มีสิทธิในการ ปกครองในระบอบอิสลามไม่มีการระบุรายละเอียดทีเกียวกับกระบวนการเลือกตังผู้ปกครอง แต่มีการระบุ ขอบเขตและกรอบแห่งการเลือกตัง ซึงขึนอยู่กับ ประการดังนี . อํานาจอยู่ทีชรีอะฮฺ คือ พระบัญญัติแห่งพระผู้เป็นเจ้า . ความยุติธรรมทีต้องปรากฏ . คุณสมบัติของผู้เลือกตังผู้ปกครองและผู้ปกครอง แต่ต้องชีแจงว่านักปราชญ์อิสลามไม่มีความคิดทีแตกต่างกันเกียวกับผู้มีอํานาจเลือกตังผู้ปกครองสูงสุดคือ สภานักปราชญ์และผู้อาวุโส ทีมีชือในทางนิติศาสตร์อิสลามว่า อะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ ِ‫َﻘْﺪ‬‫ﻌ‬‫اﻟ‬َ‫و‬ ‫ﱢ‬‫ﻞ‬َ‫اﻟﺤ‬ ُ‫ﻞ‬ْ‫ھ‬َ ‫أ‬ หมายถึงผู้มีอํานาจแต่งตังและถอดถอนนักปราชญ์ส่วนมากเห็นว่าอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิเป็นผู้ทีมีอํานาจแท้จริง
  • 3. 3 ในการเลือกผู้นําสูงสุด และมีอํานาจในการถอดถอนด้วย เรียกว่าเป็นอํานาจอันกว้างขวางทีสุด ซึงเทียบได้กับ อํานาจของสภาผู้แทนราษฎรในระบอบประชาธิปไตย ถือว่าอํานาจของอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิเป็นอํานาจทีไม่มี ขอบเขตยกเว้นอํานาจของชรีอะฮฺ(คือพระบัญญัติของอัลลอฮฺ)แต่นักปราชญ์บางท่านโดยเฉพาะในยุคปัจจุบัน เห็นว่าอํานาจของประชาชนเหนือกว่าอํานาจของสภาอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ เพราะประชาชนเป็นผู้เลือกอะฮฺลุล ฮัลลิวัลอักดิ แต่การเลือกอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดินันในระบอบอิสลามมีข้อแตกต่างจากระบอบประชาธิปไตย ระบอบอิสลามจะถือว่าผู้มีสิทธิออกเสียงในการเลือกอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิคือผู้ทีมีคุณสมบัติ ประการ ประการแรกคือคุณสมบัติทางศาสนาและคุณธรรม หมายถึง ต้องเป็นมุสลิม ปฏิบัติศาสนกิจอย่างเคร่งครัด และมีมารยาทจริยธรรมและคุณธรรม โดยสามารถตรวจสอบได้ว่ามิใช่ผู้กระทําความชัวอย่างเปิดเผยหรือผู้ บกพร่องในการปฏิบัติศาสนกิจประการทีสองต้องเป็นผู้มีอํานาจในสังคมทางวิชาการหรือมีความน่าเชือถือใน สังคมในฐานะเป็นปัญญาชนทีมีศักยภาพให้คําแนะนําทีเหมาะสมสําหรับปัญหาต่างๆในสังคม จากคุณสมบัติสองประการนีจะเห็นว่าระบอบอิสลามไม่อนุญาตให้กาฟิร(ผู้ปฏิเสธศรัทธา)หรือฟาสิก (ผู้กระทําความชัวร้ายอย่างเปิดเผย) มีสิทธิในการเลือกผู้แทนราษฎรหรืออะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ เพราะขาด คุณสมบัติสําคัญทีจะให้ผู้เลือกตังนันมีความเลือมใสในระบอบอิสลาม เพราะกาฟิรอาจเลือกผู้ทีเห็นชอบกับ แนวชีวิตของผู้ทีไม่ใช่มุสลิมและฟาสิกอาจเลือกผู้ทีไม่มีอุดมการณ์เคร่งครัดด้านกฎหมายอิสลามจึงอาจส่งผล ให้ผู้นําสังคมนันจะเป็นคนอ่อนแอในการรักษาอํานาจชรีอะฮฺอันเป็นข้อคําประกันสําคัญทีจะให้ระบอบการ ปกครองอิสลามคงอยู่อย่างมันคง สมัยท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ก็มีผู้แทนราษฎรทีได้รับคัดเลือกจากบรรดาเผ่า หมู่บ้าน และสายตระกูลต่างๆ การเลือกตังผู้แทนราษฎรในขณะนันอาจไม่มีรายละเอียดเหมือนระบบการ เลือกตังปัจจุบัน แต่ความละเอียดของระบบการเลือกตังสมัยนันอยู่ทีความเคร่งครัดของประชาชนทีจะเลือกผู้ อาวุโสทีมีอุดมการณ์ ความรับผิดชอบและความห่วงใยต่อประชาชนในการบันทึกของอิมามบุคอรียฺมีการระบุ ถึงตําแหน่ง อัลอะรีฟ ُ‫ْﻒ‬‫ﯾ‬ِ‫َﺮ‬‫ﻌ‬ْ‫اﻟ‬ ซึงเป็นตัวแทนของเผ่าและหมู่บ้านต่างๆ ซึงเปรียบเทียบได้กับปัจจุบันคือ ตําแหน่งกํานันและผู้ใหญ่บ้าน แต่ข้อแตกต่างคือ อัลอะรีฟนันต้องเป็นคนทีมีความเข้มแข็งทีสุดทางศาสนาใน หมู่ชนของเขา ก็หมายรวมว่าตัวแทนหมู่บ้านจะต้องเป็นคนทีละหมาด ปฏิบัติศาสนกิจ และมีลักษณะความ เป็นผู้ใหญ่และมีความรับผิดชอบมากกว่าผู้อืนจากคุณสมบัติเหล่านีจึงไม่มีโอกาสทีสินบนหรือผลประโยชน์จะ มีอิทธิพลในการเลือกตังอัลอะรีฟ เพราะในระบอบอิสลามมีการป้ องกันเรืองนีมิให้เกิดขึนอยู่แล้ว ซึงจะเห็นได้ ชัดว่าระบอบอิสลามนันมีความเข้มแข็งและเข้มงวดในการเลือกตังตัวแทน เพราะตัวแทนนีแหละทีจะเป็นผู้ เลือกอะฮฺลุลฮัลลิวัลอักดิ(ทีปรึกษาของผู้นําสูงสุด) ทังนีประชาชนทัวไปยังคงมีอํานาจอยู่ในการปกครองและ
  • 4. 4 ตรวจสอบผู้ปกครองด้วย เพราะการเรียกร้องสู่ความดีปราบปรามความชัวเป็นสิทธิของทุกๆคนในสังคม และ สิทธิในการทีจะตรวจสอบพฤติกรรมของผู้ปกครองก็เป็นทีประจักษ์ในระบอบอิสลามดังทีอัลลอฮฺซุบฮานะฮูวะ ตะอาลาได้กล่าวถึงระบอบชูรอทีระบุข้างต้น และดังทีท่านนบี ศ็อลลัลฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวไว้ว่า ْ‫ﻊ‬ِ‫َﻄ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺴ‬َ‫ﯾ‬ ْ‫َﻢ‬‫ﻟ‬ ْ‫ِن‬ ‫َﺈ‬‫ﻓ‬ ِ‫ه‬ِ‫َﺪ‬‫ﯿ‬ِ ‫ﺑ‬ ُ‫ه‬ْ‫ﱢﺮ‬‫ﯿ‬َ‫ﻐ‬ُ‫ﯿ‬ْ‫َﻠ‬‫ﻓ‬ ً ‫َﺮَا‬‫ﻜ‬ْ‫ﻣُﻨ‬ ْ‫ﻣِﻨْﻜُﻢ‬ ‫َى‬ ‫رَأ‬ ْ‫ﻣَﻦ‬ُ‫َﻒ‬‫ﻌ‬ْ‫َﺿ‬ ‫أ‬ َ‫ﻚ‬ِ‫ﻟ‬َ‫ذ‬َ‫و‬ ِ‫ﮫ‬ِ ‫َﻠْﺒ‬‫ﻘ‬ِ ‫َﺒ‬‫ﻓ‬ ْ‫ﻊ‬ِ‫َﻄ‬‫ﺘ‬ْ‫ﺴ‬َ‫ﯾ‬ ْ‫َﻢ‬‫ﻟ‬ ْ‫ِن‬ ‫َﺈ‬‫ﻓ‬ ِ‫ﮫ‬ِ‫ﻧ‬‫َﺎ‬‫ﺴ‬ِ‫ﻠ‬ِ ‫َﺒ‬‫ﻓ‬ ‫ْﻤَﺎن‬‫ﯾ‬ِ‫اﻹ‬ “ใครก็ตามในหมู่พวกท่านได้เห็นความผิดใดๆ ก็จงเปลียนแปลงด้วยมือ (หมายถึงอํานาจ) หากเขาไม่มี ความสามารถก็จงเปลียนแปลงด้วยลิน(หมายถึงตักเตือนคัดค้าน)หากเขาไม่มีความสามารถก็จงเปลียนแปลง ด้วยหัวใจ(หมายถึงการเกลียดความผิดนัน) และนันคืออีมานทีอ่อนแอทีสุด” บันทึกโดยอิมามมุสลิม ในประวัติศาสตร์ของผู้ปกครองมุสลิม ประชาชนได้ปฏิบัติหน้าทีตรวจสอบพฤติกรรมของผู้ปกครอง อย่างไม่มีขอบเขต จนกระทังได้มีปรากฏในประวัติศาสตร์อิสลามว่าคนสามัญชนหรือแม้กระทังชาวชนบท เร่ร่อนได้เข้าไปใกล้บัลลังก์หรือผู้นํามุสลิม เพือตักเตือนคัดค้านในสิงทีไม่ถูกต้องตามหลักศาสนา โดยเฉพาะ นักปราชญ์หรืออุละมาอฺทีมีชือเสียง ซึงทุกท่านจะมีประสบการณ์ในการตักเตือนผู้ปกครองในรูปแบบหนึง รูปแบบใดและจะมีบทบัญญัติชัดเจนทีจะกล่าวถึงขอบเขตอํานาจผู้ปกครองดังทีมีในสํานวนหะดีษของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ดังนี ِ‫ِﻖ‬‫ﻟ‬‫ﺎ‬َ‫اﻟﺨ‬ ِ‫َﺔ‬‫ﯿ‬ِ‫ْﺼ‬‫ﻌ‬َ‫ﻣ‬ ‫ﻓﻲ‬ ٍ‫ق‬ْ‫ُﻮ‬ ‫ﻠ‬ْ‫ِﻤَﺨ‬‫ﻟ‬ َ‫ﺔ‬َ‫ﻋ‬‫َﺎ‬‫ط‬ ‫ﻻ‬ “ไม่มีการเชือฟังใดๆต่อมนุษย์ในสิงทีเป็นการฝ่าฝืนพระผู้ทรงสร้างมนุษย์” นันหมายถึงว่าชรีอะฮฺย่อมมีอํานาจเหนือกว่าอํานาจของผู้ปกครอง และนันคือหลักประกันทีจะให้ ประชาชนมีทีพึงและมีอํานาจทีจะใช้ในการคัดค้านการกระทําของผู้ปกครองทีไม่ถูกต้อง ในยุคปัจจุบันมุสลิมสามารถตังระบบในการตรวจสอบและไต่สวนพฤติกรรมของผู้ปกครองโดยให้ ชรีอะฮฺเป็นกฎเกณฑ์หรือบรรทัดฐานในการตรวจสอบนัน ในอดีตของประชาชาติอิสลาม ผู้มีอํานาจตรวจสอบ สูงสุดคือศาลชรีอะฮฺ ซึงอํานาจของศาลชรีอะฮฺสามารถไต่สวนและตัดสินต่อผู้นําสูงสุดของประเทศ(คือคอ ลีฟะฮฺ)ได้ และในประวัติศาสตร์ของบรรดากอฎี(ดาโต๊ะหรือผู้พิพากษา)ก็ปรากฏตัวอย่างมากมายทีคอลีฟะฮฺ
  • 5. 5 หรือผู้นําสูงสุดเป็นคู่กรณีกับประชาชนทัวไป ซึงทังสองฝ่ายยืนต่อหน้าผู้พิพากษาอย่างเสมอภาค และในตํารา นิติศาสตร์อิสลามก็มีการระบุมารยาทของผู้พิพากษาต่อจําเลยและโจทก์ ทีให้มีความยุติธรรมแม้กระทังใน ถ้อยคําและการมองหน้าทังสองฝ่าย ดังทีมีสุภาษิตในวงผู้พิพากษาคือ “อัลอัดลุ ฟิลลัฟซิ วัลละฮฺซิ” หมายถึง “ยุติธรรมตอนพูดและตอนมอง” นีคือรายละเอียดเล็กน้อยทีจะบ่งถึงความแตกต่างระหว่างระบอบอิสลามและ ระบอบประชาธิปไตยในการรับรองความเข้มแข็งของผู้ปกครองให้เป็นผู้ปกครองทีมีอุดมการณ์ทางคุณธรรม และความยุติธรรม (เชคเชคริฎอ อะหมัด สมะดี ,ออนไลน์ 5 ธันวาคม 2557) การเลือกตังในระบอบอิสลามโดยทัวไปจึงเป็นการเลือกจากการหารือของสภาผู้นําทีได้รับการ ยอมรับและได้รับเลือกโดยจากการโหวตหรือวิธีการอืนใดจากผู้ใต้การปกครองแล้ว ทังนีอิสลามไม่มีรูปแบบ หนึงสิทธิ หนึงเสียงหรือรูปแบบอืนใดทีตายตัวขึนอยู่กับการยอมรับของผู้คนในสังคมโดยไม่ขัดกับหลักการทาง ศาสนาเพือเป็นการลดครหาและให้เกียรติการตัดสินใจของผู้นําทีถูกเลือกแล้วจากผู้ใต้ปกครองเองดังแผนผัง มโนทัศน์ต่อไปนี ผู้นําสูงสุด (หนึงในตัวแทนปะชาชนทังสาม) สภาปรึกษาและยอมรับกันเลือกผู้นํา สภานักปราชญ์ / ผู้อาวุโสทีทรงคุณธรรม ตัวแทนประชาชนสังคม 1 ตัวแทนประชาชนสังคม 2 ตัวแทนประชาชนสังคม 3 ประชาชนสังคม เลือกผู้แทนตัวเอง ทีเป็นทียอมรับยอมรับ ประชาชนสังคม 2 เลือกผู้แทนตัวเอง ทีเป็นทียอมรับยอมรับ ประชาชนสังคม เลือกผู้แทนตัวเอง ทีเป็นทียอมรับยอมรับ
  • 6. 6 พัฒนาการขุนนาง “จุฬาราชมนตรี” : ผู้นําจาก “สายตระกูล” ภายใต้สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในอาณาจักรอยุธยา ผู้นําอิสลามไม่ได้ถูกสถาปนามาเพือการ เป็นผู้นําทางจิตวิญญาณ หากแต่ถูกสถาปนามาเพือดํารงพืนทีทางเศรฐกิจ เอือและจัดสรรประโยชน์ระหว่าง กลุ่มชาวต่างชาติทีมาค้าขายและชนชันสูงในราชสํานักโดยประกอบสร้างในตําแหน่งขุนนางกรมท่าขวาซึงเป็น ชาวมุสลิมนิกายชีอะฮ์ ในสายตระกูลเฉกอะหมัดมีหน้าทีรับผิดชอบทางด้านการค้าการเดินเรือพาณิชย์แลละ การต่างประเทศ ควบคุมประชาคมต่างชาติทีประกอบไปด้วยมุสลิม ฮินดู อาร์เมเนีย และพวกเข้ารีต ถึงแม้ขุน นางกรมท่าขวาส่วนใหญ่จะเป็นมุสลิม แต่ยังมีขุนนางและผู้ชํานาญการต่างประเทศอืนๆ ทีรับราชการใน หน่วยงานนี เช่น ชาวโปรตุเกส ชาวอินเดียทีนับถือศาสนาฮินดู และชาวอาร์เมเนียเป็นต้น ขุนนางชาว ต่างประเทศเหล่านีส่วนใหญ่คือกลุ่มทีมาจากฝังตะวันตกของสยาม หรือเกียวข้องกับพวกตะวันตกได้แก่พวก เข้ารีต ทีนับถือศาสนาคริสต์ นอกจากนีกรมท่าขวายังติดต่อค้าขายอยู่กับมุสลิมจากรัฐอิสลามในเอเซีย ตะวันออกฉียงใต้คือ มลายู จาม และรัฐในหมู่เกาะอินโดนีเซีย โดยมีขุนนางมุสลิมทีปรากฏราชทินนามว่า “จุฬาราชมนตรี” (เอกสารเก่าก่อนสมัยรัชกาลที 5 เขียนว่าจุลาราชมนตรี) จุฬาราชมนตรี เป็นราชทินนามของเจ้ากรมท่าขวา ถือศักดินา 1,400 เท่ากับ ขุนนางราชทินนาม โชดึก หรือโชดึกราชเศรษฐี เจ้ากรมท่าซ้ยฝ่ายจีนสันนิษฐานว่า “จุลา”คงมาจากคําว่า “จุละ”ในภาษาอาหรับ ซึงแปลว่า “คณะราชมนตรีทีปรึกษา” สอดคล้องกับคําว่าจุฬาราชมนตรี ในราชทินนามของฝ่ ายไทย จุฬาราชมนตรีมีหน้าทีกํากับดูแลกิจการในกรมท่าขวาประกอบไปด้วยการค้าและการทูตกับอินเดีย อาหรับ อิหร่านตลอดจนประเทศมุสลิมอืนๆต่อมาจึงรวมชาวตะวันตกทีค้าขายอยู่บริเวณฝังตะวันตกคืออังกฤษเข้าไว้ ด้วยจุฬาราชมนตรียังมีหน้าทีติดต่อกับชาวต่างชาติโดยทําหน้าทีล่ามหลวงหรือทูตให้กับพระมหากษัตริย์และ ยังมีหน้าทีควบคุมประชาคมต่างชาติจากภูมิภาคฝังตะวันตกจุฬาราชมนตรีจึงมีหน้าทีคล้ายกับเจ้าพนักกงาน ในตําแหน่ง “ซาห์บันดาร์” หรือเจ้าท่าซึงเป็นเจ้าพนักงานประจําเมืองท่าการค้าของรัฐมุสลิมทําหน้าทีดูแล การค้า การเดินเรือ งานด้านศุลกากรและความสงบเรียบร้อยในประชาคมต่างชาติ จุฬาราชมนตรียังมีฐานะเป็น“มุลละ”หรือผู้นําประชาคมมุสลิมนิกายชีอะฮ์มีหน้าทีควบคุมศาสนิกชน ให้ปฏิบัติตามชาริอะหมายถึงกฏของพระเจ้าซึงบันทึกอยู่ในพระคัมภีร์อัลกุรอานและอิมามะห์หรือแนวทางคํา สอนของอิหม่ามมุลละยังมีหน้าทีเป็นหัวหน้าตุลาการตัดสินคดีของมุสลิมและคนในบังคับอันเป็นไปตามระบบ ตุลาการของสยามทีเจ้าหมู่มูลนายมีหน้าทีเป็นพนักงานในคณะตุลาการ จุฬาราชมนตรีจึงเกียวกับงานด้านการ
  • 7. 7 ศาล แม้จะมีการยกเลิกหน่วยงานของกรมท่าทังหมดไปในสมัยรัชกาลที 5 จุฬาราชมนตรีก็ยังคงมีตําแหน่งที ปรึกษาอยู่ในศาลต่างประเทศสังกัดกระทรวงยุติธรรม ขุนนางผู้ใหญ่ทีมีตําแหน่งสูงในกรมท่าขวาตังแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเรือยมาจนถึงรัชกาลที7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ล้สนสืบสายตระกูลมาจามุสลิมเชือสายอินโด-อิหร่าน สายตระกูลเฉก อะหมัด หากบิดา ดํารงตําแหน่งเจ้ากรมท่าขวาว่าที “จุฬาราชมนตรี” น้องชายคนแรกหรือบุตรชายคนโตก็มักจะได้รับแต่งตังให้ ดํารงตําแหน่งรองเจ้ากรมหรือว่าที “ราชเศรษฐี” ส่วนบุตรชายหรือน้องคนรองลงมาก็จะดํารงตําแหน่งลดหลัน กันลงไป ตังแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเป็นต้นมาขุนนางมุสลิมนิกายชีอะฮ์ในสายตระกูลเฉกอะหมัด จะได้รับแต่งตังให้ดํารงตําแหน่งจุฬาราชมนตรีสืบต่อมาจนถึงสมัยเปลียนแปลงการปกครองในสมัยรัชกาลที 7 ดังนี (จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์,2553) เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) เป็นมุสลิมชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ (สิบสองอิมาม) เกิดเมือ พ.ศ. ณตําบลปาอีเนะชาฮารในเมืองกุมซึงเป็นเมืองศูนย์กลางของศาสนาอิสลามตังอยู่บนทีราบตําทาง ตอนเหนือของเตหะราน ในประเทศอิหร่านในยุคสมัยทีท่านเฉกอะหมัดเดินทางเข้ามากรุงศรีอยุธยานันเป็นยุค ทีโปรตุเกสเรืองอํานาจทางทะเลในแถบมหาสมุทรอินเดีย ทําให้พ่อค้าชาวพืนเมืองต้องใช้เส้นทางขนส่งสินค้า ทางบกเป็นช่วงๆ เส้นทางทีเป็นไปได้ในการเดินทางจากอิหร่านเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาในสมัยนัน คือเดินเท้าจาก เมืองแอสตะราบาดเข้าสู่แคว้นคุชราตในอินเดียตะวันตก จากนัน เดินเท้าตัดข้ามประเทศอินเดียมายังฝัง ตะวันออกทางด้านโจฬมณฑลจากนันลงเรือข้ามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามันมายังเมืองตะนาวศรีหรือเมือง มะริด แล้วจึงเข้าสู่กรุงศรีอยุธยา ปลายแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เฉกอะหมัดและบริวารได้เข้ามายังกรุงศรีอยุธยา ตัง บ้านเรือนและห้างร้านค้าขายอยู่ทีตําบลท่ากายีท่านค้าขายจนกระทังมีฐานะเป็นเศรษฐีใหญ่ในกรุงศรีอยุธยา ท่านสมรสกับท่านเชย มีบุตร คนและธิดา คน ปลายแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ท่านเฉกอะหมัดได้ช่วยปรับปรุงราชการกรมท่า จนได้ผลดี จึง โปรดเกล้าฯให้เป็นพระยาเฉกอะหมัดรัตนราชเศรษฐีเจ้ากรมท่าขวาและ จุฬาราชมนตรี นับได้ว่าท่านเป็นปฐม จุฬาราชมนตรีและเป็นผู้นําพาศาสนาอิสลามนิกายชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ มาสู่ประเทศไทยต่อมาท่านเฉกอะ หมัดพร้อมด้วยมิตรสหาย ร่วมใจกันปราบปรามชาวต่างชาติกลุ่มหนึง ทีก่อการจลาจล และจะยึด
  • 8. 8 พระบรมมหาราชวัง จึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็น เจ้าพระยาเฉกอะหมัด รัตนาธิบดี สมุหนายกอัครมหาเสนาบดีฝ่าย เหนือ พระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว) พระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว) เกิดเมือปีใดไม่ปรากฏ บิดาคือพระยาศรีเนาวรัตน์ (อากามะหะหมัด) มารดาชือท่านชี เป็นน้องชายของเจ้าพระยาศรีไสยหาญณรงค์ (ยี) มีศักดิ เป็นหลานตาของเจ้าพระยาบวรราช นายก (เฉกอะหมัด) เริมรับราชการโดยถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนได้เป็น หลวงศรียศ (แก้ว) ท่านได้รับการแต่งตังให้เป็นจุฬาราชมนตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงสมัย สมเด็จพระเพทราชา ไม่ทราบว่าเสียชีวิตเมือใด พระยาจุฬาราชมนตรี (สน) พระยาจุฬาราชมนตรี (สน) เกิดเมือปีใดไม่ปรากฏ บิดาคือพระยาศรีไสยหาญณรงค์ (ยี) มารดาชือ คุณหญิงแสงมีศักดิ เป็นหลานของพระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว)เข้ารับราชการในกรมท่าขวาเป็นหลวงศรียศใน รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จนได้รับตําแหน่งพระยาจุฬาราชมนตรี ไม่ปรากฏว่าเสียชีวิตเมือใด พระยาจุฬาราชมนตรี (เซน) พระยาจุฬาราชมนตรี (เซน) เป็นบุตรของพระยาเพชรพิชัย (ใจ)กับคุณหญิงแฉ่ง เกิดเมือปีใดไม่ ปรากฏ บิดาและน้องชายของท่านเปลียนไปนับถือศาสนาพุทธในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ส่วนท่าน ยังนับถือศาสนาอิสลาม นิกายชีอะหฺต่อมา เข้ารับราชการในกรมท่าขวาและกองอาสาจามจนได้รับตําแหน่ง จุฬาราชมนตรี ได้รับพระราชทานเกียรติยศเสมอเจ้าพระยาพระคลังแต่มิได้ตังให้เป็นเจ้าพระยา ไม่ทราบว่า เสียชีวิตเมือใด พระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) พระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (เซน)และคุณหญิงก้อนทอง รับ ราชการเป็นมหาดเล็กตังแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ ตอนปลายกรุงศรีอยุธยาจนเสียกรุงเมือ พ.ศ. เมือเสียกรุงได้หลบหนีข้าศึกมารับราชการกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาได้เป็นขุนป้ องพลขันธ์ และ หลวงศรีเนาวรัตน์ตามลําดับ ได้ร่วมรบกับข้าศึกจนผลัดแผ่นดินเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที โปรดเกล้าฯ แต่งตังให้เป็นพระยาจุฬาราชมนตรี มีหน้าทีกํากับราชการกรมท่าขวาและดูแลมุสลิมทัวราชอาณาจักร ถือเป็น จุฬาราชมนตรีท่านแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ ท่านถึงแก่อนิจกรรมในสมัยรัชกาลที เมืออายุได้ ปี ศพของ ท่านฝังอยู่ทีมัสยิดต้นสน
  • 9. 9 พระยาจุฬาราชมนตรี (อากายี) พระยาจุฬาราชมนตรี (อากายี) หรืออากาหยี เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (เซน) และเป็ น น้องชายของพระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) ได้เป็นจุฬาราชมนตรีต่อจากพีชายจนกระทังถึงแก่อนิจกรรมใน สมัยรัชกาลที มีบุตรธิดารวม คน บุตรของท่านคนหนึงชือ กลิน ได้เป็นหลวงโกชาอิศหากในสมัย พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที ส่วนบุตรอีกคนชือน้อย ได้เป็นจุฬาราชมนตรี พระยาจุฬาราชมนตรี (น้อย) พระยาจุฬาราชมนตรี (น้อย)เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (อากายี)มารดาชือคุณหญิงสะมีชือ ทางศาสนาว่ามูหะหมัดบาเกรเกิดเมือปีใดไม่ปรากฏเริมรับราชการในกรมท่าขวาสมัยรัชกาลที ได้เป็นหลวง ศรีเนาวรัตน์ ท่านเป็นจุฬาราชมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมเมือ กุมภาพันธ์ พ.ศ. พระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) พระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (เถือน) มารดาคือคุณหญิงนก เกิด ในสมัยรัชกาลที แต่ไม่ทราบปี เข้ารับราชการในกรมท่าขวาในสมัยรัชกาลที เป็นพระราชเศรษฐี ได้ว่าการ คลังวิเศษในกรมท่าหลวง และกํากับชําระตัวเฮียชําระฝินและได้เลือนเป็นจางวางคลังวิเศษกํากับราชการกรม พระคลังนอก คลังพิเศษ คลังในซ้าย พระคลังใน คลังคํานวณ กํากับภาษีร้อยชักสาม ในสมัยรัชกาลที นอกจากนัน ท่านยังมีส่วนร่วมในการปราบจลาจลภาคใต้ และวางระเบียบปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ และเป็น ข้าหลวงตรวจการภาคใต้จนเหตุการณ์สงบ จนกระทังพระยาจุฬาราชมนตรี (น้อย) ถึงแก่อนิจกรรมใน พ.ศ. ท่านจึงได้รับแต่งตังให้เป็นจุฬาราชมนตรีสืบแทนจนถึงแก่อนิจกรรมใน พ.ศ. ศพของท่านฝังอยู่ที มัสยิดต้นสน พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) กับคุณหญิงกลิน เกิดเมือ พ.ศ. เข้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กตังแต่อายุ ปี เข้ารับราชการ มียศเป็นนายฉลองไนยนารถ ใน สมัยรัชกาลที ย้ายมากรมท่าขวา ได้เป็นหลวงราชเศรษฐี เมือบิดาถึงแก่กรรมจึงได้รับแต่งตังให้เป็นพระยา จุฬาราชมนตรี เมือ พฤศจิกายน พ.ศ. นอกจากนันยังเป็นผู้พิพากษาศาลคดีต่างประเทศในกระทรวง ยุติธรรมอีกตําแหน่งหนึง ท่านเป็นข้าราชการทีสนิทชิดเชิอกับรัชกาลที เป็นพิเศษ ได้รับพระราชทาน เครืองราชอิสริยาภรณ์และพานทองเทียบชันเจ้าพระยาพานทองเมือท่านเจ็บป่วย โปรดให้แพทย์หลวงมาดูแล รักษา ถึงแก่กรรมเมือ มิถุนายน พ.ศ. รวมอายุ ปี รัชกาลที โปรดให้มีการแห่ศพทางนําอย่าง สมเกียรติ พระราชทานไม้นิซ่านปักทีหลุมศพของท่านและทรงเป็นประธานในพิธีฝังศพด้วยพระองค์เอง
  • 10. 10 นอกจากนีท่านยังมีธิดาคนหนึง ซึงได้ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ "เจ้าจอมลม้าย อหะหมัดจุฬา" พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) มีชือ ทางศาสนาว่า มิซซา อาลีระชา เกิดเมือ พ.ศ. เริมรับราชการเป็นมหาดเล็กในสมัยรัชกาลที ได้เป็นปลัด กรมท่าขวาตําแหน่งหลวงราชาเศรษฐี เมือ พ.ศ. ต่อมาย้ายไปรับราชการกระทรวงยุติธรรมฝ่ายการเงิน แล้วเลือนขึนเป็นจ่าศาลต่างประเทศโปรดเกล้าฯแต่งตังให้เป็นพระยาจุฬาราชมนตรีเมือพ.ศ. นอกจากนี ยังเป็นทีปรึกษาในด้านศาสนาอิสลามให้กับรัชกาลที จนได้รับพระราชทานนามสกุล "อหะหมัดจุฬา" เมือ กรกฎาคม พ.ศ. มีบุตรหลายคน ถึงแก่อนิจกรรมเมือ เมษายน พ.ศ. รวมอายุได้ ปี พระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ เสด็จมาเป็นประธานในพิธีฝังศพแทนพระองค์ด้วย พระยาจุฬาราชมนตรี (เกษม อหะหมัดจุฬา) พระจุฬาราชมนตรี (เกษมอหะหมัดจุฬา)เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) กับนาง แดง อหะหมัดจุฬา มีชือทางศาสนาว่า มุฮัมมัดระชา เกิดเมือ พฤศจิกายน พ.ศ. เริมรับราชการเป็น มหาดเล็ก ในสมัยรัชกาลที ต่อมาได้รับราชการในกระทรวงยุติธรรมสังกัดกรมกองแสตมป์ มีบรรดาศักดิ เป็น หลวงศรีเนาวรัตน์ โปรดเกล้าฯ แต่งตังเป็นจุฬาราชมนตรีเมือ พ.ศ. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยดํารงตําแหน่งเจ้ากรมกองแสตมป์ สังกัดกระทรวงยุติธรรมด้วย ถึงแก่กรรมเมือ กรกฎาคม พ.ศ. รวมอายุได้ ปี พระยาจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) พระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) กับ คุณหญิงถนอมเกิดเมือวันที กรกฎาคมพ.ศ. เข้ารับราชการในกรมท่าขวา ได้เป็นหลวงราชเศรษฐีเมือ พ.ศ. ได้รับการแต่งตังเป็ นจุฬาราชมนตรีเมือ พ.ศ. ถือเป็นจุฬาราชมนตรีคนสุดท้ายในสมัย สมบูรณาญาสิทธิราชย์ถึงแก่กรรมเมือ พฤศจิกายนพ.ศ.2479หลังจากทียามได้เปลียนแปลงการปกครอง แผ่นดินจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบราชาธิปไตย ภายใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเมือ24 มิถุนายน 2475 ภายใต้การนําของคณะราษฎร เพียง 4 ปี นับเป็นการปิดฉากของจุฬาราขมนตรี ผู้นําชาวมุสลิมนิกายชีอะฮ์ทีดํารงตําแหน่งผ่านสายตระกูลมา ตลอดหลายร้อยปี ศพของจุฬาราชมนตรีท่านสุดท้ายถูกนําไปฝังไว้ ณ สุสานต้นสน หากคลองบางกอกใหญ่
  • 11. 11 เช่นเดียวกับบรรพบุรุษอดีตจุฬาราชมนตรีทีล่วงหน้าไปสถิตอยู่ ณ สุสานแห่งนีถึง 6 คน (สุพจน์ ด่านตระกูล, 2547 :10) นับเป็นเวลายาวนานถึง 350 กว่าปีทีตําแหน่งขุนนางมุสลิมนีครอบครองพืนทีทางเศรษฐกิจในวัง หลวง และได้รับการอุดหนุน คุ้มครอง ดูแลจากชนชันเจ้านายเป็นอย่างดี แม้แต่ในช่วงผลัดแผ่นดินระหว่างรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระทีนังสุริยาศอมรินทร์ ต่อกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาที 4หรือพระเจ้าตากสิน ที การเมืองในราชสํานักแปรปรวน เสนาอํามาตย์และขุนนางชันผู้ใหญ่หลายท่านได้รับพิษภัยทางการเมืองใน ช่วงเวลานัน หากแต่พระยาจุฬาราชมนตรีก้อนแก้ว มหาดเล็กในพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งกรุงศรี อยุธยาก็แคล้วคลาดปลอดภัยมาจนได้รับราชการในแผ่นดินรัตนโกสินทร์ แช่ม พรหมยงค์ : จุฬาราชมนตรีคนแรก หลังปลียนแปลงการปกครอง หลังจากการถึงแก่อนิจกรรมของพระยาจุฬาราชมนตรี (สอน) ในปี พ.ศ. 2479 แล้ว ตําแหน่ง จุฬาราชมนตรีก็ว่างลงหลายปี จนถึงปี พ.ศ. 2488 ภายหลังสงครามโลกครังที 2 ซึงในขณะนัน นายปรีดีพนมยงค์ดํารงตําแหน่งเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ จึงได้รือฟืนตําแหน่งจุฬาราชมนตรีขึนมาอีก ครังหนึง เพือแก้ปัญหาความยุ่งยากทางเมือง อันเป็นผลเนืองมาจากการประกาศสงครามกับอังกฤษของ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมือ 25 มกราคม 2485 ซึงทําให้สยามประเทศเกือบจะต้องสูญเสียดินแดน ทางปักษ์ใต้ ทีในสมัยบาณเรียกว่า มณฑลปัตตานี อันประกอบด้วยสามจังหวัดในปัจจุบันคือ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ให้กับอังกฤษ นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ผู้มีสายตายาวไกล ได้รับทราบปัญหานีมาก่อนหน้าที สงครามโลกครังที 2 จะยุติ กล่าวคือในระหว่างสงครามท่านได้รับทราบมาว่า ทายาทของต่วนกูอับดุลกาเด อดีตราชาแห่งรัตปัตตานี ชือ ต่วนกู มัยยิดดิน ได้ไปปรากฏตัวทีอินเดีย และได้มีชาวอังกฤษกลุ่มหนึงจัดการ เลียงต้อนรับเป็นเกียรติแก่ตวนกูผู้นี ได้มีการกล่าวคําปราศัยต้อนรับโดยจบลงด้วยคําอวยพรว่าLongLivethe King of Pattani จากการเลียงต้อนรับของชาวอังกฤษกลุ่มนันและดิมอวยพรเช่นนี ทําให้นายปรีดีย์ พนมยงค์ ตระหนักว่าภายหลังสงครามยุติลงสยามจะต้องประสบปัญหาชายแดนปักษ์ใต้อย่างแน่นอนเพราะในระหว่าง สงครามนัน ไทยได้รับมอบจากญีปุ่นซึงดินแดนทีไทยเสียให้แก่อังกฤษในยุคล่าอาณานิคม มีปะลิด กลันตัน ไทรบุรี และตรังกานู กลับคืนมา อันยังความโกรธแค้นให้กับอังกฤษเจ้าอาณานิคมเดิม ดังนันภายหลังสงคราม ซึงไทยจะต้องคืนดินแดน 4 รัฐทีรับมอบมาจากญีปุ่นในระหว่างสงคราม คืนกลับให้อังกฤษ เจ้าอาณานิคมเดิม
  • 12. 12 อย่างแน่นอน และอาจสูญเสียสามจังหวัดชายแดนปักษ์ใต้อดีตมณฑลปัตตานีรวมไปด้วย เพราะคําอวยพร Long Live the King of Pattani มีความหมายเป็นนัยอยู่แล้ว ในการแก้ปัญหาความยุ่งยากทางการเมืองดังกล่าว อยู่หนทางเดียวเท่านันทีจะนําไปสู่ความสําเร็จ คือความเป็นเอกภาพของชาติและความผาสุกของประชาชนถ้วนหน้า นันคือหาทางแห่งประชาธิปไตย แต่ จะต้องเป็นประชาธิปไตยของประชาชนคือเป็นการปกครองของประชาชนโดยประชาชนเพือประชาชนอันเป็น ประชาธิปไตยรอบด้านไม่ใช่ประชาธิปไตยเจ้าสมบัติแต่ประชาชนถูกจํากัดประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจภารกิจ สําคัญของนายปรีดี พนมยงค์ จึงเป็นการทําความเข้าใจกับพีน้องประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ใน การนีนายปรีดี พนมยงค์จึงเลือกสรรนายแช่ม พรหมยงค์ สหายผู้ร่วมขบวนการเปลียนแปลงการปกครอง แผ่นดิน เมือ 24 มิถุนายน 2475 ซึงนายปรีดี พนมยงค์เล็งเห็นว่าเป็ นผู้ซือสัตย์ สุจริต ศรัทธาในระบอบ ประชาธิปไตยทีแท้จริง นายแช่มพรหมลงค์จึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ดํารงตําแหน่งจุฬาราชมนตรีโดยพระบรมราช โองการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (สุพจน์ ด่านตระกูล, 2547:11-13) พ.ศ. 2488 เป็น จุฬาราชมนตรี นิกายซุนนี ซึงเป็นนิกายทีมีชาวมุสลิมนับถือมากทีสุดคนแรกตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการ ศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. 2488 โดยในมาตราที 3 นันมีใจความให้ จุฬาราชมนตรี มีหน้าทีปฏิบัติราชการ ส่วนพระองค์ จะเห็นได้ว่า จุฬาราชมนตรีแช่ม พรหมยงค์ ถูกสถาปนาขึนมามาเพือนัยทางการเมืองทีนายปรีดี พนมยงค์เองในฐานะผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ต้องการคนในสังกัดจากศาสนาอิสลามดํารงตัวตนเกียวพัน กับสถาบันกษัตริย์ นายแช่มพรหมยงค์จึงถือว่าเป็น จุฬาราชมนตรีแบบสถาปนาตนเองเพือผลประโยชน์ทาง การเมืองในสมัยนันเป็นสําคัญ ไม่ได้ผ่านกระบวนการเลือกตังจากกรรมการกลางอิสลามอย่างในสมัยถัดมา หลังเหตุการณ์รัฐประหารในปี พ.ศ. นายแช่ม ต้องลีภัยการเมืองไปพร้อมกับ นายปรีดี พนม ยงค์ ยังสิงคโปร์และสหรัฐอเมริกา และท้ายสุดไปอยู่ทีรัฐกลันตัน มาเลเซียซึงขณะนันเป็นดินแดนในอารักขา ของอังกฤษและซาอุดิอาระเบียตามลําดับก่อนจุฬาราชมนตรีจะถูกลดบทบาทให้เป็นทีปรึกษาราชการชันกรม เท่านันหลังประกาศพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. โดยเปลียนแปลงวิธีการ ได้มาของจุฬาราชมนตรีเป็นเลือกตังจากกรรมการอิสลามจนกระทังเดือนมิถุนายนพ.ศ. ได้เดินทางกลับ สู่ประเทศไทย เมือทางรัฐบาลขณะนันอภัยโทษให้ และมาใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย จนกระทังถึงแก่กรรมเมือวันที กรกฎาคม พ.ศ. ด้วยวัย ปี
  • 13. 13 สถานการณ์ “จุฬาราชมนตรี” ภายใต้ความเห็นต่างและหลากหน้ามิติแห่งรัฐและศาสนา จุฬาราชมนตรีต่วน สุวรรณศาสน์ กับรัฐบาลสร้างชาติด้วยความเป็ นไทย ตําแหน่งจุฬาราชมนตรีเปลียนแปลงไปจากแต่ก่อน หลังประกาศพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการ ศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. 2491 ซึงเป็นปีแรกของการรับตําแหน่งของจุฬาราชมนตรี ต่วน สุวรรณศาสน์ สถานภาพจุฬาราชมนตรีก็ถูกลดบทบาทลงจากข้าราชการในองค์พระมหากษัตริย์เป็นเพียงทีปรึกษากรมการ ศาสนา ซึงเป็นจุดเปลียนสถานะอํานาจทีสําคัญของจุฬาราชมนตรีในประวัติศาสตร์ อันเนืองมาจากรัฐบาล ทีมาจากคณะทหารแห่งชาติในสมัยนันต้องการลดทอนอํานาจจุฬาราชมนตรีซึงแต่เดิมมีตําแหน่งใกล้ชิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเป็นเป็นคนสนิทของหลวงประดิษฐมนูธรรม อีกทังในเวลานันวาทกรรมการ สร้างชาติด้วยวัฒนธรรมไทยส่วนกลางทีหวังจะหลอมรวมคนในชาติด้วยไทยแบบพุทธศาสนาทีดําเนินอย่าง เข้มแข็งมาตังแต่รัฐบาลจอมพลป.พิบูลสงครามนันทรงพลานุภาพมากมีผลกระบทต่อความรู้สึกนึกคิดวิธีคิด ของชาวมุสลิมท้องถินในประเทศไทยสมัยนัน ทําให้จุฬาราชมนตรีต่วน สุวรรณศาสน์ต้องตกอยู่ในภาวะคน กลางในขณะทีอํานาจต่อกรและต่อรองทังกับฝ่ายเจ้านายและผู้บริหารประเทศมีน้อยลง หากแต่ปรากฏการณ์ การขับเบียดความเป็นมุสลิมจากรัฐบาลกลางมีมากขึน จุฬาราชมนตรีกับมิติใหม่ ไม่ใช่แต่มิติทางอํานาจแห่งรัฐเท่านัน ในมิติของบทบาททางศาสนาเองก็เปลียนไปด้วยเช่นกัน นับตังแต่จุฬาราชมนตรีประเสริฐ มะหะหมัด ความเป็นจุฬาราชมนตรีก็ถุกท้าทายจากโลกมิติใหม่ อัน เนืองมาจากในปัจจุบันอิสลามมิกชนได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันทังทางโลกและทางธรรมมากขึน จุฬาราชมนตรี ซึงเดิมเป็นตําแหน่งมีเกิดมาเพือผลประโยชน์เป็นสําคัญ จึงถูกเพ่งเล็งและตรวจสอบมากขึนแม้ ในปัจจุบันจุฬาราชมนตรีจะไม่มีส่วนได้เสียกับราชสํานักหรือการเมืองส่วนกลางแล้วก็ตาม แต่ผลพวงของการ รวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางในอดีตและสภาวการณ์การเป็นผู้นําทีนักวิชาการศาสนาไม่เห็นด้วยกับการได้มาซึง จุฬาราชมนตรี แม้จะมีการเลือกตังจากมัสยิดท้องถิน สู่กรรมการกลางอิสลามประจําจังหวัด สู่กรรมการกลาง อิสลามแห่งประเทศไทยหากแต่ก็ไม่ได้เป็นไปตามหลักการศาสนาโดยบริสุทธิ นักวิชาการทางศาสนาหลายคน เชือว่าตําแหน่งจุฬาราชมนตรียังคงดํารงบนพืนทีผลประโยชน์ทางธุรกิจ การเมือง แม้จะไม่ได้เกิดขึนในราช สํานักเยียงอดีตก็ตาม แต่ก็ทําให้นัยและเจตนารมณ์ของ “ความเป็นผู้นํา” ในสังคมมุสลิมผิดรูปผิดรอยไป
  • 14. 14 แนวความคิดในการปฏิบัติศาสนกิจทีไม่ตรงกันของชาวมุสลิมในประเทศไทย ทีมีความเห็นต่าง เกียวกับรูปแบบรายละเอียดในการดูดวงจันทร์เพือประกาศวันตรุษสําคัญทางศาสนา รูปแบบการปฏิบัติ ศาสนกิจอืนๆ ของชาวมุสลิมก็เป็นปรากฏการณ์สําคัญทีชีบอก สถานภาพของจุฬาราชมนตรีทีเปลียนไป ประกอบกับข้อคิดเห็นของนักวิชาการศาสนาบางส่วนทีมองตําแหน่งจุฬาราชมนตรี เป็นตําแหน่งทีดํารงได้ด้วย ผลประโยชน์ทางโลกมากกว่าจิตวิญญาณ จึงทําให้ชาวมุสลิมบางคนไม่ยอมรับหรือไม่ปฏิบัติตาม “ผู้นํา” ใน ตําแหน่ง “จุฬาราชมนตรี” ตามทีมีชาวมุสลิมในจังหวัดยะลาให้สัมภาษณ์ว่า “จากรายอฮัจยี*วันก่อนทีไม่ทําตามประกาศของจุฬาราชมนตรี เพราะจุฬาฯไม่ได้ทําตามซุนนะห์น บี** คือ ตามหลักการถ้าวุกุฟ*** วันที วันถัดไปเราต้องออกอีดตามซุนนะห์นบี จุฬาฯ เองต้องเป็นตัวแทนของ ชาวมุสลิม มีหน้าทีตรวจสอบความถูกต้องตามหลักศาสนา เป็นทีปรึกษาเมือเกิดความขัดแย้งกันในสังคม มุสลิม” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที 2 , 25 พฤศจิกายน 2557) อย่างไรก็ตามไม่ว่าสถานภาพของจุฬาราชมนตรีจะเปลียนไปอย่างไรทังกับชาวมุสลิมด้วยกันและศา สนิกชนอืน สถาบันจุฬาราชมนตรีก็ยังคงดํารงตัวตนโดยเกียวพันกับสถาบันกษัตริย์อย่างปฏิเสธไม่ได้ แต่นัย ของการปฏิสัมพันธ์กับสถาบันกษัตริย์ของจุฬาราชมนตรีอาจไม่ใช่เพือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในราชสํานัก หรือทางการเมืองอย่างเข้มข้นเยียงอดีตทีผ่านมา แต่เปลียนเป็นปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบประเพณี พิธีกรรม ประดิษฐ์แทน มุสลิมบางกลุ่มก็ไม่ยอมรับสถานภาพผู้นํา “จุฬาราชมนตรี” อันเนืองมาจากเหตุหนึงทีสถาบัน จุฬามักประกอบพิธีกรรมประดิษฐ์ซึงขัดกับหลักการศาสนาบางประการ ล้วนแต่เป็นประเพณีประดิษฐ์ทีต้อง เกียวข้องกับสถาบันกษัตริย์ทังสิน อาทิ การจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ซึงนักวิชาการศาสานา บางส่วนตัดสินว่ากระทําไม่ได้เพราะขัดกับหลักการศาสนาซึงเป็นงานฉลองวันคล้ายวันประสูติของนบีมูฮํานัด องค์อัครศาสนทูตทางสํานักจุฬาราชมนตรีจะกราบทูลเชิญเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์หรือผู้แทนพระองค์มาเป็น องค์ประธานในพิธี เหล่านีเกียวพันกับสถาบันกษัตริย์ในฐานะทีสถาบันกษัตริย์เองก็ต้องดํารงพระองค์ในฐานะ องค์อัครศาสนูปถัมภกอย่างหลีกเลียงไม่ได้ ___________________________________ *วันตรุษสําคัญทางศาสนา เป็นการฉลองการประกอบพิธีฮัจญ์ ตรงกับวันที 10 เดือน 12 ตามปฏิทินอาหรับ หรือ ออกอีดก็ว่า **ดํารัส หรือจริยวัตรอืนใดอันแบบอย่างของท่าศาสนทูตมูฮํามัด ***ขันตอนหนึงของการประกอบพิธีฮัจญ์ คือ การพักสงบทีทุ่งอารอฟะฮ์ทีประเทศซาอุดิอารเบียในวันที 9 เดือน 12 ตามปฏิบัติอาหรับ
  • 15. 15 บทสรุป : ขุนนางกับความเป็นไทยแบบกษัตริย์นิยมในสังคมมุสลิม ไม่ว่ากาลเวลาจะเปลียนไปเพียงใด ปรากฏการณ์ความเป็นจุฬาราชมนตรี ยังคงเกียวพันกับสถาบัน กษัตริย์ทังบนพืนทีของการเมืองราชสํานักและบนพืนทีของการเมืองกับอัตลักษณ์มุสลิม ทังหลายล้วนแต่ถูก ประกอบสร้างขึนมาจากความเป็นไทยภายใต้รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์สยาม โดยหากจะพูดถึงจุดเริมต้นของ ความเป็นไทยตามนัยแห่งรัฐ ก็ต้องย้อนกลับไปนับตังแต่สมัยของการรวมศูนย์อํานาจเข้ามาสู้การเป็นรัฐสมัย ใหม่ในสมัยรัชกาลที ๕ ทีมีหัวหอกสําคัญคือกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซึงเริมขึนนับตังแต่ปี พ.ศ. 2435 อัน เป็นจุดเริมต้นทีมีการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินจากระบบหัวเมืองประเทศราชให้เป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล ซึงมีลักษณะสําคัญคือ การยกเลิกความเป็นเอกเทศ (autonomy) ของหัวเมืองประเทศราชเดิม ทีมีความเป็น อิสระ มีอํานาจในการจัดการเป็นของตัวเองและมีความสําพันธ์กับกรุงเทพฯ ในลักษณะหลวมๆ ให้กลายเป็น เพียงจังหวัดต่าง ๆ ทีรวมตัวกันเป็นมณฑลหนึงๆ ของสยาม อยู่ภายใต้อํานาจการจัดการและระบบกฎหมาย ส่วนกลางโดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลซึงได้รับแต่งตังจากกรุงเทพฯเป็นผู้มีอํานาจในฐานะตัวแทนจากส่วนกลาง ซึงสมัยนันนักวิชาการส่วนหนึงมองว่านีคือการพยายามสลายอัตลักษณ์ของท้องถินให้กลายเป็นส่วนหนึงของ สยามส่วนกลาง โดยการบังคับการเรียนการสอนในโรงเรียนให้เป็นภาษาไทยกลาง และการพยยามลดทอน ความสําคัญของอัตลักษณ์ท้องถินลงในขณะทีสถาปนาความสําคัญของวัฒนธรรมแห่งชาติ อันเป็นหนึงเดียว ขึนมา นักวิชาการอีกส่วนหนึงก็ได้เสนอว่าการรวมชาติให้เป็นหนึงเดียวนี มิได้รวมถึงในเชิงวัฒนธรรมด้วย โดยอัตลักษณ์ทางด้าน “ชาติพันธุ์”ของท้องถินยังมิได้ถุกรบกวนมากนักแต่ต้องเป็นไปภายใต้เงือนไขทีว่าผู้คน ในอาณาเขตของสยามจะต้องถือว่าตนเองรับเอา “สัญชาติ” ไทยมาเป็นอัตลักษณ์แห่งชาติของตนเอง มีความ จงรักภักดีต่อพระมหากษัติริย์สยามมีความรู้ในภาษาไทยและมีความสามัคคีกันแม้จะมีความพยายามในการ ลดทอนความสําคัญของอัตลักษณ์ท้องถินแต่ก็มิได้ทําลายความหลากหลายไปเสียทีเดียวสิงทีชนชันปกครอง ของสยามใช้ในการสร้างชาติคือ การอาศัยเอาพระมหากษัตริย์และภาษาไทยกลางอันเป็นภาษาทีชนชันนําใช้ มาเป็นศูนย์กลางความเป็นชาติเท่านัน (อนุธีร์ เดชเทวพร ,2012 :94) ผลพวงจากการรวมศูนย์กลาง และ ทางการนิยมเป็นปรากฏการณ์ทีเกิดขึนในสังคมมุสลิมในรัฐสยามมาจนถึงรัฐไทยหลังเปลียนแปลงการปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิง สถานภาพของ “จุฬาราชนตรี” ทีต้องทําหน้าทีใน “ทีนังลําบาก” เป็นตัวผสานระหว่างกลุ่ม ชนมุสลิมทีถูกรุกรานอัตลักษณ์จากรัฐบาลส่วนกลางโดยเฉพาะอย่างยิงในสมัย จุฬาราชมนตรี ต่วน สุวรรณ ศาสน์ ทีดํารงตําแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2491 – 2524 โดยในช่วงแรกของการดํารงตําแหน่งอยู่นัน ภายใต้รัฐบาล ปฏิวัติ ของจอมพลสฤษดิ ธนะรัชต์ นอกจากจะได้พยายามส่งเสริมพุทธศาสนาในฐานะบ่อเกิดของศีลธรรม
  • 16. 16 จริยธรรมแบบอนุรักษ์นิยมอันมีคุณค่าของไทยดังเดิมแล้ว ยังได้มีความพยายามฟืนฟูบทบาทของสถาบัน พระมหากษัตริย์กลับขึนมาอีกด้วย มีการพยายามสถาปนาพิธีกรรมพุทธศาสนาราชสํานักให้เป็น “ค่านิยมที สําคัญของคนไทย”ซึงในความเป็นจริงรายละเอียดของวัฒนธรรมท้องถินศาสนาอันละเอียดอ่อนนันยากทีจะ เปลียนได้ โดยเฉพาะศาสนาอิสลามซึงวัตรปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ความเชือ หลักการศาสนาแทบจะแยกจาก กันไม่ได้ ทําให้ในสมัยดังกล่าวเป็นช่วงเวลาทีเกิดการขับเบียดอัตลัษณ์อิสลามทีเด่นชัดเรือยมา โดยเฉพาะชาว มุสลิมในพืนทีจังหวัดชายแดนภาคใต้ทีมีประชากรมุสลิมมากกว่าประชากรพุทธ จนถึงสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร โดยปรากฏการณ์ครังสําคัญทีมีนัยขับเบียดอัตลักษณ์มุสลิม ได้แก่ การทีทางราชการจังหวัดนราธิวาสร่วมกับคณะสงฆ์ เสนอรายงานขอให้ ฯพณฯ พลเอกประภาส จารุ เสถียร รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนัน (พ.ศ. 2509) ช่วยอุปถัมภ์สร้าง พระพุทธรูป “พระพุทธทักษิณมิงมงคล” องค์ใหญ่ในพืนทีทีมีประชากรทัวไปเป็นอิสลามิกชน ประกอบ ฯพณฯ พลเอกประภาส ท่านดําริอยู่แล้วทีจะก่อสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ ให้เป็นศรีสง่าและเป็นมิงขวัญประจํา ภาคใต้ไว้เป็นศรีสง่า และเป็นมิงขวัญชาวพุทธประจําภาคใต้ตลอดไป ทําให้เกิดกระแสต่อต้านคนจากทาง ราชการส่วนกลางของชาวมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึงหนึงในนันก็คือ จุฬาราชมนตรี ทีดํารงตําแหน่ง คนจากส่วนกลาง ในฐานะทีปรึกษากรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ตามประกาศทางราชการ (พ.ศ.2491 – 2540) ก่อนทีจะจัดตังพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม เป็นเอกเทศใน พ.ศ. 2540 ดังที นักวิชาการท่านหนึงในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาได้ให้สัมภาษณ์ว่า “จุฬาราชมนตรีเป็นประมุขของศาสนาอิสลาม(ใช้คําว่าประมุขเป็นมากกว่าผู้นําธรรมดา)คนในสาม จังหวัดมีกระแสความคิดเกียวกับจุฬาราชมนตรี กระแส คือ ยอมรับและไม่ค่อยยอมรับ คนส่วนหนึงในสาม จังหวัดส่วนหนึงมีกระแสไม่ค่อยยอมรับจุฬาราชมนตรีส่วนกลางเพราะมีความรู้สึกว่าถูกแต่งตังจากส่วนกลาง เช่น สมัยต่วน (คนทีเคยเป็นจุฬา ฯ จํานามสกุลไม่ได้) หนังสือของเค้าไม่ได้รับการยอมรับ ...” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที 1 , 25 พฤศจิกายน 2557) จุฬาราชมนตรีจึงเป็นตําแหน่งทีแสดงให้เห็นถึงพัฒนาของขุนนาง ทีบ่งชีว่าไม่ว่าจะดํารงตัวตนอยู่ใน ยุคสมัยไหน มีบทบาทบนพืนทีของสิงใดก็ตามทังราชสํานัก ธุรกิจ การเมือง ศิลปวัฒธรรม ความเชือ ศาสนา จุฬาราชมนตรียังคงถูกประกอบสร้างจากความเป็นไทยแบบกษัตริย์นิยมอยู่อย่างมันคงแม้ในปัจจุบันตําแหน่ง จุฬาราชมนตรี จะหลุดพ้นจากส่วนได้เสียในราชสํานักแล้วก็ตามหากแต่บนพืนทีของการเมืองวัฒนธรรมและ
  • 17. 17 ประเพณีประดิษฐ์ทางความเชือและศาสนา จุฬาราชมนตรีก็ยังคงดํารงอย่างเกียวพันกับสถาบันกษัตริย์ทังทีมี นัยสําคัญและไม่มีนัยสําคัญอย่างเป็นปกติวิสัย บรรณานุกรม จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์. (2553). มุสลิมเชือสายอินโด – อิหร่านนิกาชีอะฮ์ในประเทศไทย : พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์และบทบาทในสังคมไทย.หลากมุมมอง:มุสลิมในแผ่นดินไทย,66–93.กรุงเทพฯ : ศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มห่วิทยาลัย. เชคริฎอ อะหมัด สมะดี.(3 เมษายน 2552). การเลือกตังผู้นํามุสลิมตามระบอบอิสลาม. สืบค้นเมือ 5 ธันวาคม 2557, จาก http://www.islaminthailand.org/dp /node/ . ผู้ให้สัมภาษณ์คนที . ( , พฤศจิกายน). อาจารย์ประจํา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. กรุงเทพฯ: สัมภาษณ์. ผู้ให้สัมภาษณ์คนที 2. ( 7, 25 พฤศจิกายน). แม่บ้านชาวยะลา. กรุงเทพฯ: สัมภาษณ์. พิทยา บุนนาค. (2548). มุสลิมผู้นํา “ปฐมจุฬาราชมนตรี” คนแรกในสยาม การเดินทางของท่านเฉกอะหมัด จากเปอร์เซีย (อิหร่าน) ถึงสยาม (กรุงศรีอยุธยา). (พิมพ์ครังที 1). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มติชน. รัชนี สาดเปรม. ( ). บทบาทของชาวมุสลิมในภาคกลางและภาคใต้ของประเทศไทย ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตังแต่ พ.ศ. – . วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร. สง่า วิไลวรรณ และคณะ. (2526). จุฬาราชมนตรีต่วน สุวรรณศาสน์ และความเป็นมาของ ตําแหน่งจุฬาราชมนตรี. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์เรือนอักษร. สุพจน์ ด่านตระกูล. (2547). อดีตจุฬาราชมนตรีแช่ม พรหมยงค์ (ซําซุดดิน มุสตาฟา) กับ 4 จังหวัดภาคใต้. (พิมพ์ครังที 1). นนทบุรี : สถาบันวิทยาศาสตร์สังคม (ประเทศไทย). อนุธีร์ เดชเทวพร. (2555, กันยายน – ธันวาคม). “ความเป็นไทย” หลายหน้า: การแย่งชิงและแบ่งปัยพืนที นิยาม. Veridian E-Journal, 5(3): 87-105. อับดุลรอชีด เจะมะ. (2542). สังคมอิสลาม. (ฉบับแก้ไขปรับปรุงครังที 3). ปัตตานี : วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.