SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ความปลอดภัยของข้อมูลบนสมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ 
Information Security on Android-Smartphone 
ประมูล สุขสกาวผอ่ง ศิรปัฐช์ บุญครอง 
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
บทคัดย่อ 
ด้วยการเพิ่มของจาํนวนผูใ้ชส้มาร์ทโฟนมากขึ้นทาํให้ตอ้งคาํนึงถึงเรื่องความปลอดภยัมากขึ้น ระบบปฏิบตัิการ 
แอนดรอยดจ์ะมีสดัส่วนเพิ่มขึ้นของผใู้ชม้ากที่สุด ทาํใหช้่องโหวเ่รื่องความปลอดภยัก็มีมากขึ้นตามไปดว้ยและสมาร์ทโฟน 
ในปัจจุบนัมีประสิทธิภาพมากขึ้นความสามารถในการทาํงานใกลเ้คียงกบัคอมพิวเตอร์ ทาํใหผู้โ้จมตีระบบคอมพิวเตอร์เดิม 
หนัมาโจมตีสมาร์ทโฟนมากขึ้นโดยเฉพาะมลัแวร์(Malware) ในบทความนี้ไดน้าํเสนอกลไกการการทาํงานของระบบรักษา 
ความปลอดภยัของแอนดรอยด์รวมถึงช่องโหว่ด้านความปลอดภยั ไดศึ้กษาถึงงานวิจยัดา้นการพฒันากลไกรักษาความ 
ปลอดภยัและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ง พร้อมทั้งขอ้เสนอแนะแนวทางสำหรับผูใ้ช้งานให้ใช้สมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ไดอ้ย่าง 
ปลอดภยัและแนวทางสาํหรับนกัพฒันาแอพพลิเคชนั่ 
คาํสำคญั : ความปลอดภยัของขอ้มูล, แอนดรอยด,์ มลัแวร์ 
Abstract 
Since Android is the most popular smartphone platform, the volume of malware affecting 
Google's Android mobile operating system is also on the rise. Smartphones are becoming smaller, yet 
more powerful, with greater storage capacities. Traditional threats affecting computers such as malware 
now also affect these devices, leading to the need to protect data. This paper presents the current state of 
Android security mechanisms and their limitations. It also analyzes research on Android security and 
recommends the best practices for security. 
Keywords : Data security, Android, Malware 
1. บทนำ 
ดว้ยความสามารถของโทรศพัท์มือถือที่เรียกว่า 
สมาร์ทโฟน (Smartphone) และแท็บเลต็ (Tablet) ที่เกือบ 
เทียบเท่าไดก้บัคอมพิวเตอร์และมีผูใ้ชจ้าํนวนมากจึงทาํให้ 
ผู้ที่เคยโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เดิม ได้หันมาโจมตี 
อุปกรณ์สมาร์ทโฟนมากขึ้น และสมาร์ทโฟนใช้งานง่าย 
ไม่จาํเป็นตอ้งมีทกัษะเหมือนการใชค้อมพิวเตอร์ [1] ทาํให้ 
มีผใู้ชห้ลากหลาย ต้งัแต่เด็กจนถึงผูสู้งอายุก็สามารถ ใชง้าน 
ได้ จากสถิติจาํนวนโทรศัพท์มือถือที่จดทะเบียนทั่วโลก 
ประมาณเกือบ 7,000 ลา้นเครื่องทวั่โลก และมีอตัราการ 
เติบโตต่อเนื่องโดยเฉพาะสมาร์ทโฟน ส่วนการติดตั้ง 
แอพพลิเคชนั่ผูใ้ชง้านจะเป็นผูก้าํหนดเรื่องความปลอดภยั 
และความเป็นส่วนตวัดว้ยตวัเอง [2] โดยเป็นผูเ้ลือกว่าจะ 
ยอมรับหรือไม่ยอมรับเงื่อนไขต่างๆ ในข้นัตอนการติดต้งั 
แอพพลิเคชนั่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเลือกยอมรับโดยไม่ไดอ้่าน
8 วิศวสารลาดกระบงั ปีที่ 30 ฉบบัที่ 3 กันยายน 2556 
รายละเอียดขอ้ตกลง เพราะถ้าเลือกไม่ยอมรับก็จะติดตั้ง 
แอพพลิเคชั่นไม่ได้ น อกจากนี้บางส่วน ยังติดตั้ง 
แอพพลิเคชั่นจากร้านค้าครั้งละปริมาณมากๆ โดยไม่ได้ 
เลือกเอง ซึ่งจะติดตั้งแอพพลิเคชั่นที่ไม่รู้จักมาด้วยซึ่ง 
อาจจะเป็นแอพพลิเคชั่นที่แฝงโปรแกรมประเภทมลัแวร์ 
นอกจากนี้ยงัมีการนาํสมาร์ทโฟนมาใช้ในองค์กรหรือใน 
บริษทัมากขึ้น เพื่อใชง้านอินเตอร์เน็ตและรับส่งอีเมล ์การ 
เขา้ใชง้านระบบเครือข่ายในองคก์รผ่านสมาร์ทโฟนทาํให้ 
ผบู้ริหารดา้นไอทีไม่สามารถควบคุมการติดต้งัในส่วนของ 
แอพพลิเคชั่นต่างๆได้เหมือนกับควบคุมการติดตั้งบน 
เครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะเครื่องสมาร์ทโฟนส่วนใหญ่จะ 
เป็นเครื่องใชส้่วนตวั ทาํใหก้ารควบคุมทาํไดย้าก จึงมีความ 
เสี่ยงที่จะเป็นช่องโหว่ใหแ้ฮคเกอร์ (Hacker) เจาะเขา้ระบบ 
เครือข่ายขององคก์รได้ 
รูปที่ 1 ปริมาณยอดขายมือถือแยกตามระบบปฏิบตัิการ [3] 
2. แอพพลเิคชั่นบนแอนดรอยด์ 
จากรูปที่ 1 จะเห็นได้ว่าสมาร์ทโฟนในระบบ 
ปฏิบตัิการแอนดรอยด์ (Android) มียอดขายที่สูงขึ้นอยา่ง 
กา้วกระโดด และระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) เป็น 
อนัดบัสอง ส่วนระบบปฏิบตัิการวินโดวส์มีแนวโนม้ที่จะ 
อยู่ในอันดับสาม เนื่องจากจำนวนผู้ใช้เครื่องเดิมที่เป็น 
ระบบปฏิบตัิการวินโดวส์มีจาํนวนมาก จึงคาดการณ์ไดว้่า 
จะทาํใหย้อดของวนิโดวส์สโตร์เติบโตขึ้นดว้ย 
800,000 
700,000 
600,000 
500,000 
400,000 
300,000 
200,000 
100,000 
0 
Operating system-native platforms 
Available apps Installed base (Million) Download count (Billion) 
รูปที่ 2 Apps from Operating system-native platforms [4] 
ส่วนโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่ๆ จะมีลักษณะการ 
ทาํงานคลา้ยกบัเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือที่เรียกว่า 
สมาร์ทโฟน และมีโปรแกรมที่ใช้งานอยู่บนสมาร์ทโฟน 
คือแอพพลิเคชนั่โปรแกรม หรือเรียกวา่แอพ (Apps) สถิติ 
จาํนวนแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน ที่มีอยู่สิ้นปี พ.ศ. 
2555 ประมาณ 1,800,000 Apps จากผูผ้ลิตมากกว่า 
500,000 ราย นบัเป็นปรากฏการณ์ที่เปลี่ยนโลกไปสู่ยุคของ 
การใชง้านสมาร์ทโฟนอย่างแท้จริง แหล่งในการซื้อขาย 
แอพพลิเคชั่นจะเรียกว่า แอพพลิเคชนั่สโตร์ (Application 
Store) โดยจะแยกเป็นสองประเภทคือ จากผูผ้ลิตโดยตรง 
(Operating system-native platforms) ดงัรูปที่ 2 และจาก 
คนกลาง (Third-Party platforms) 
2.1. ศูนย์จาํหน่ายแอพพลเิคชั่นจากผู้ผลติ (Applications 
from Operating system-native platforms) 
แหล่งในการซื้อขายหรือติดต้งัแอพพลิเคชนั่ใน 
สามาร์ทโฟน จะมีศูนย์จำหน่ายแอพพลิเคชั่นจากผูผ้ลิต 
โดยตรง คือเป็นผูผ้ลิตระบบปฏิบัติการโดยตรง ผูใ้ช้งาน 
เมื่อซื้อเครื่องแลว้ตอ้งสมคัรสมาชิกเพื่อติดตั้งแอพพลิเคชั่น 
เช่น แอพสโตร์ (App Store) ของบริษทัแอปเปิล และกูเกิล 
เพลย ์(Google Play) ของบริษทักูเกิล จาํนวนแอพพลิเคชนั่ 
ของแอนดรอยด์ในกูเกิลเพลยเ์มื่อสิ้นปี พ.ศ. 2555 จะอยู่ที่ 
700,000 กว่าแอพพลิเคชนั่ ดงัรูปที่ 2 และกาํลงัเพิ่มขึ้น 
อยา่งต่อเนื่อง 
Thousands of Units
Ladkrabang Engineering Journal, Vol. 30, No. 3, September 2013 9 
2.2. ศูนย์จาํหน่ายแอพพลเิคชั่นจากคนกลาง 
(Applications from Third-Party platforms) 
นอกจากนี้ยงัมีผูข้ายแอพพลิเคชนั่จากบริษทัอื่นๆ 
ที่ไม่ไดเ้ป็นเจา้ของระบบปฏิบตัิการหรือเจา้ของผลิตภนัฑ์ 
สามาร์ทโฟน แต่ก็สามารถเปิดสถานที่ให้มีการซื้อขาย 
แอพพลิเคชั่นบนสามาร์ทโฟนได้ ดังภาพที่ 3 โดยส่วน 
ใหญ่เป็นแอพพลิเคชั่น บนระบบปฏิบตัิการแอนดรอยด์ 
หรือรวมกับระบบปฏิบัติการอื่นด้วย เมื่อรวมกับจำนวน 
แอพพลิเคชนั่บนกูเกิลเพลยแ์ลว้แอพพลิเคชนั่แอนดรอยด์ 
จะมีจาํนวนมากที่สุด 
รูปที่ 3 Apps from Third-Party platforms [4] 
3. ความปลอดภัยของแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ 
จากรูปที่ 2 และ 3 จะเห็นไดว้า่แอพพลิเคชนั่ของ 
ระบบปฏิบตัิการแอนดรอยด์จะมีจาํนวนมากที่สุดและมา 
จากหลายแหล่ง ทาํให้เกิดช่องโหวใ่นเรื่องความปลอดภยั 
ในการใช้งาน เมื่อเทียบกับระบบปฎิบัติการอื่นๆ เช่น 
ระบบปฎิบตัิการของแบล็กเบอร์รี่โอเอส (Blackberry OS) 
เป็นระบบปิด มีการควบคุมการเขา้รหสัท้งัหมด การซื้อขาย 
และติดต้งัแอพพลิเคชนั่ ก็ตอ้งทาํผา่นแอพสโตร์ของบริษทั 
เท่านั้น และเครื่องไอโฟน (iPhone) ของบริษทัแอปเปิล 
(Apple Inc.) ก็เป็นระบบปิ ดแต่ก็สามารถเปิ ดได้ แต่ 
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ จะเป็นระบบเปิดทั้งหมด มี 
ขอ้พิจารณาดงันี้ 
3.1 แอนดรอยเ์ป็นระบบปฏิบตัิการแบบโอเพ่น 
ซอร์ส (Open Source) ที่หลายคนมีส่วนร่วมพฒันาและ 
เขา้ถึงรหัสตน้ฉบับ (Source Code) ต่างๆ ได้ 
3.2 เปิดให้ทุกคนมีสิทธิพฒันาแอพพลิเคชนั่ได้ 
(Open Developer) 
3.3 เปิดโอกาสให้บริษทัผลิตสมาร์ทโฟนต่างๆ 
ใชร้ะบบปฏิบตัิการแอนดรอยดไ์ด้(Open Device) 
3.4 เปิดโอกาสให้บริษัทอื่นๆ เปิดเซิร์ฟเวอร์ 
สาํหรับดาวน์โหลดแอพพลิเคชนั่ได้(Open Apps Store) 
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าระบบ 
ปฏิบัติการแอนดรอยด์มีความหลากหลายท้งัผูผ้ลิต ผูจั้ด 
จาํหน่ายและผูพ้ฒันาแอพพลิเคชนั่ ดงัน้นัจึงมีความจาํเป็น 
ที่ตอ้งพิจารณาเรื่องความปลอดภยัของขอ้มูลกนัมากขึ้น 
4. กลไกการรักษาความปลอดภัยบนแอนดรอยด์ 
ระบบปฎิบัติการแอนดรอยด์เป็นโอเพนซอร์ส 
(Open Source) ที่พฒันามาจากระบบปฏิบัติการลินุกซ์ 
(Linux) โครงสร้างเป็นช้นัๆ (Layer) ช้นัล่างสุดคือลินุกซ์ 
คอร์เนล (Linux Kernel) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อกบัฮาร์ดแวร์ 
(Hardware) ช้นัต่อมาเป็นไลบารี่ (Library) ที่เขียนด้วย 
ภาษาซี และมีส่วนที่เป็นรันไทม์ (Runtime) ประกอบไป 
ด้วยดาลวิคเวอร์ชวลแมชชีน (Dalvik Virtual Machine) 
สาํหรับการทาํงานโปรแกรมคาํสั่งต่างๆ และแอพพลิเคชนั่ 
จะทาํงานที่ช้นับนสุด 
Applications 
Home Contact Phone Browser ... 
Applications Framework 
Libraries Android Runtime 
LINUX Kernel 
Activity 
Manager 
Windows 
Manager 
Content 
Providers 
View 
System 
Notification 
Manger 
Package 
Manger 
Telephony 
Manger 
Resource 
Manger 
Location 
Manger 
XMPP 
Service 
Surface 
Manger 
Media 
Framework SQLite 
OpenGL|ES FreeType Webkit 
SGL SSL libc 
Core 
Libraries 
Dalvik Virtual 
Machine 
Display 
Driver 
Camera 
Driver 
Bluetooth 
Driver 
Flash Memory 
Driver 
Binder (IPC) 
Driver 
USB 
Driver 
Keypad 
Driver 
Wifi 
Driver 
Audio 
Drivers 
Power 
Management 
รูปที่ 4 สถาปัตยกรรมของแอนดรอยด ์[5] 
4.1 กลไกแซนบ็อก (Sandboxing Mechanism) 
กลไกนี้จะให้แต่ละแอพพลิเคชนั่แยกเป็นอิสระ 
จากกนัป้องกัน [10] ไม่ให้แอพพลิเคชั่นเขา้ถึงส่วนอื่นๆ 
ของระบบปฏิบตัิการ หรือเขา้ถึงแอพพลิเคชันซึ่งกันและ 
กัน มีพื้นที่จัดเก็บข้อมูลแยกส่วนกันและมีโปรเซส 
(Process) เป็นของตวัเอง การติดต้งัจะมีเลขที่ลาํดบัเฉพาะที่
10 วิศวสารลาดกระบงั ปีที่ 30 ฉบบัที่ 3 กันยายน 2556 
ไม่ซ้าํกัน (UID : Unique user ID) ทาํให้ป้องกนัการลง 
แอพพลิเคชนั่ซ้ำในเครื่องเดียวกัน ถา้ตอ้งการใช้โปรเซส 
หรือขอ้อนุญาตระหวา่งโปรเซสร่วมกนั ก็ตอ้งทาํผ่านทาง 
sharedUserID ทาํให้ตอ้งใช้ UID ร่วมกนั 
4.2 กลไกการอนุญาตแอพพลเิคชั่น (Application 
Permission Mechanism) 
จะใช้Package Manager ในการกาํหนดสิทธิ 
หรือการอนุญาตว่าแอพพลิเคชนั่จะสามารถทาํอะไรไดบ้า้ง 
การกาํหนดสิทธิจะทาํเพียงครั้งเดียวในข้นัตอนการติดต้งั 
โดยแอพพลิเคชั่นสามารถขอสิทธิการใช้ เช่น การเข้า 
อินเตอร์เน็ต (INTERNET) ส่งขอ้ความ (WRITE_SMS) 
หรือใชก้ลอ้งถ่ายรูป (CAMERA) ซึ่งจะเป็นขอ้ความหรือ 
ข้อตกลงถามผู้ใช้งานให้เป็นคนตัดสินใจว่าจะอนุญาต 
หรือไม่ ถ้าไม่อนุญาตทั้งหมดตามที่ขอก็จะไม่ติดตั้งเลย 
(all-or-nothing) เมื่อติดต้งัไปแลว้ ผูใ้ชง้านจะไม่สามารถ 
ไปยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง การกาํหนดสิทธิไดภ้ายหลงั 
5. กลไกรักษาความปลอดภัยของข้อมูลบนสมาร์ท 
โฟนแอนดรอยด์ 
5.1 ด้านกลไกการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 
ในเรื่องกลไกการรักษาความปลอดภัยมีการทำ 
วิจัยกันมากเพราะกลไกที่มีอยู่เดิมมีช่องโหว่ โดยเฉพาะ 
กลไกการอนุญาตให้ให้ผู้ใช้งานเป็นคนตัดสินใจว่าจะ 
อนุญาตใหแ้อพพลิเคชนั่จะมีสิทธิเขา้ถึงอะไรหรือทาํอะไร 
ได้บ้างในข้นัตอนการติดต้งัเท่าน้นั ถา้ไม่อนุญาติท้งัหมด 
ตามที่แอพพลิเคชั่นร้องขอ ก็จะยกเลิกการติดตั้งท้งัหมด 
เช่นการติดตั้งแอพพลิเคชั่นเครือข่ายสังคมออนไลน์ใน 
ระหว่างการติดต้งัมีการร้องขออนุญาตให้ใช้อินเตอร์เน็ต 
ดว้ย หากมีการอนุญาตในขณะติดต้งัแลว้ แอพพลิเคชนั่ก็ 
สามารถเปิดบราวเซอร์อินเตอร์เน็ตได้ทาํให้ผูใ้ชอ้าจเผลอ 
คลิกเขา้เวบที่เชื่อมโยงจากแอพพลิเคชนั่ได้ 
คิริน (kirin) William Enck [6] เป็นกลไกแรกๆที่ 
มีการพูดถึงการทาํวิจยัเรื่องกลไกการรักษาความปลอดภยั 
โดยมีการแกไ้ขกลไกในส่วนข้นัตอนการติดต้งั ให้มีการ 
ตรวจสอบความปลอดภยัก่อนการติดต้งั 
New 
Application 
Kirin 
Security 
Service 
Kirin 
Security 
Rules 
Optional Extension 
Display risk ratings 
to the user and 
Prompt for overide. 
(1) Attempt 
Installation (2) (3) Pass/Fail 
Android Application Installer 
(4) 
รูปที่ 5 กลไกการรักษาความปลอดภยัของคิริน [6] 
โดยกลไกการรักษาความปลอดภยัจะกระทาํใน 
ข้นัตอนการติดต้งัแอพพลิเคชนั่ โดยในระหวา่งการติดต้งั 
จะตรวจสอบขอ้มูลดา้นความปลอดภยัเทียบกบัฐานขอ้มูล 
หากเห็นวา่มีอนัตรายต่อความปลอดภยั ก็จะแจง้ให้ผูติ้ดต้งั 
ไดท้ราบและยกเลิกการติดต้งัไป แต่ก็ยงัมีจุดอ่อนตรงที่การ 
จะทราบว่าแอพพลิเคชนั่ไหนที่ไม่ปลอดภัยตอ้งอา้งอิงกับ 
ฐานข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ทันสมัย และมีการตรวจสอบ 
เฉพาะข้นัตอนการติดต้งัเท่าน้นั 
สแกนดรอยด์ (SCanDroid) Adam P. Fuchs [7] 
เป็นกลไกที่ตรวจสอบการทาํงานของแอพพลิเคชนั่วา่มีการ 
เรียกใชข้อ้มูลหรือส่วนประกอบอะไรบา้งหรือมีการร้องขอ 
อนุญาตอะไรบ้าง แต่ก็ยงัมีข้อเสียคือการตรวจสอบต้อง 
อาศยัฐานขอ้มูลเดิมและกระทาํในข้นัตอนการติดต้งัเท่าน้นั 
Hammad Banuri [8] ได้ศึกษารูปแบบในการ 
ทาํงานของแอพพลิเคชนั่วา่มีพฤติกรรม (behavior) ในการ 
ทาํงานของแอพพลิเคชนั่วา่มีการไปใชสิ้ทธิหรือมีลกัษณะ 
ที่เป็นภยัคุกคามที่เป็นอนัตรายหรือไม่ โดยมีการกาํหนด 
เป็นโครงสร้าง Security Enhanced Android Framework 
(SEAF) และใช้ตรวจสอบการทาํงานของแอพพลิเคชั่น 
ในช่วงการทาํงาน แต่ขอ้เสียคือหากนาํไปใชง้านจริงตอ้ง 
ทดสอบว่าไปรบกวนการทำงานของระบบหรือไม่ หรือ 
อาจทาํใหบ้างแอพพลิเคชนั่ไม่สามารถทาํงานได้ 
5.2 ด้านความปลอดภัยของข้อมูลบน SSL 
Sascha Fahl [9] ไดศึ้กษาถึงความปลอดภยัของ 
การรับส่งขอ้มูลผ่านโปรโตคอล SSL/TLS โดยไดท้าํการ 
สร้างเครื่องมือที่เรียกว่า MalloDroid ในการตรวจสอบการ 
ทาํงานของ SSL/TLS จากแอพพลิเคชนั่ที่ดาวโหลดมาจาก 
กูเกิลเพลย์ (Google Play) ประมาณ 13,500 แอพ ซึ่งก็ 
พบว่ามีจำนวนหนึ่งที่มีการใช้ SSL ไม่ถูกตอ้งประมาณ 
100 กวา่แอพพลิเคชนั่ มีการใช้SSL ที่ไม่ถูกตอ้ง จากการ 
กาํหนดใบอนุญาตดา้นความปลอดภยั (CAs : Certificate
Ladkrabang Engineering Journal, Vol. 30, No. 3, September 2013 11 
Authorities) โดยที่ไม่มีการระบุเฉพาะเจาะจงของแหล่ง 
ใบอนุญาตดา้นความปลอดภยั 
5.3 งานวจิยัด้านพฤตกิรรมผู้บริโภค 
การที่ระบบปฎิบตัิการให้สิทธิผูบ้ริโภคเป็นคน 
ตดัสินใจเองในเรื่องความปลอดภัยและสิทธิต่างๆ ทาํให้ 
เกิดคาํถามตามมาวา่ผบู้ริโภคไดต้ระหนกัถึงภยัคุกคามที่จะ 
ตามมาหรือเปล่า Alexios Mylonas [2] ไดท้าํการวิจยัเชิง 
สำรวจถึงความตระหนักในเรื่องความปลอดภยัในการใช้ 
สมาร์ทโฟนของผู้บริโภค โดยทำการสำรวจ จากผู้ใช้ 
แอพพลิเคชนั่ที่ดาวโหลดแอพพลิเคชนั่จากผูผ้ลิตโดยตรง 
เช่น แอพสโตร์ กูเกิลเพลย ์เพื่อเปรียบเทียบวา่ ผูใ้ชง้านได้ 
ระวงัเรื่องความปลอดภยัของขอ้มูลหรือไม่ พบวา่ส่วนใหญ่ 
จะเชื่อถือวา่ไดด้าวโหลดแอพพลิเคชนั่จากแหล่งที่มีความ 
น่าเชื่อถือแลว้ จึงไม่ไดร้ะมดัระวงัเรื่องความปลอดภยัของ 
ขอ้มูล และไม่มีติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสเหมือนกับ 
การใชง้านเครื่องคอมพิวเตอร์ 
6. ข้อแนะนำความปลอดภัยสำหรับแอพพลเิคชั่น 
บนสมาร์ทโฟน 
ขอ้แนะนาํเพื่อความปลอดภยัของแอพพลิเคชั่น 
บนสมาร์ทโฟนโดย Andrew Hoog [11] จะประกอบไป 
ด้วยหลายส่วนคือ แอพพลิเคชั่นตวัเครื่อง และผูพ้ฒันา 
แอพพลิเคชั่น นอกจากนี้ยงัสามารถใช้ตัวกลางที่คอย 
ตรวจสอบความปลอดภยัของแอพพลิเคชนั่ได้ 
6.1 ตัวเครื่อง 
สาํหรับการใชง้านโทรศพัทม์ือถือที่เป็นสมาร์ท 
โฟนใหป้ลอดภยัควรปฏิบตัิดงันี้ 
1. อพัเดทซอฟตแ์วร์สม่าํเสมอ 
2. ปิดการใชง้านอื่นที่ไม่จาํเป็น เช่น บลูทูธ 
(Bluetooth) 
3. เปิดระบบป้อนรหสัผ่านในการเขา้ใชง้าน 
4. อยา่เขา้ลิ้งคห์รือเวบที่เราไม่แน่ใจ 
5. เลือกติดต้งัแอพพลิเคชนั่ที่น่าเชื่อถือได้ 
6. ลบขอ้มูลก่อนจะขายหรือยกเลิกการใช้ 
6.2 เลอืกใช้คนกลางในการตรวจสอบแอพพลเิคชั่น 
การตรวจสอบว่าแอพพลิเคชั่นไหนปลอดภัย 
สาํหรับผูใ้ชเ้ป็นเรื่องยงุ่ยาก แต่ปัจจุบนั ก็มีบริษทัที่ทาํการ 
ตรวจสอบแอพพลิเคชัน่บนมือถือว่าปลอดภยัหรือไม่เช่น 
AppWatchdog [12] จะทาํการตรวจสอบดงันี้ 
1. มีการเก็บพลาสเวริ์ดที่มีการเขา้รหสัขอ้มูล 
หรือไม่ 
2. มีการเก็บชื่อผใู้ชที้่มีการเขา้รหสัหรือไม่ 
3. มีการเก็บข้อมูลที่มีความปลอดภยัหรือไม่ 
4. มีการเก็บข้อมูลบัตรเครดิตหรือไม่ 
6.3 ข้อแนะนำสำหรับผู้พฒันาแอพพลเิคชั่น 
ข้อแนะนำเพื่อความปลอดภัยสำหรับผู้พัฒนา 
แอพพลิเคชั่น (Developer) บนสมาร์ทโฟนโดย Andrew 
Hoog [11] มีดงันี้ 
1. User names ควรเก็บชื่อผใู้ชเ้ป็นความลบั 
หรือมีการเขา้รหสัก่อนจดัเก็บ และการนาํมา 
แสดงผลคือปิดบงัขอ้มูลไวบ้างส่วน เช่น ใช้ 
เครื่องหมาย * แทนอกัขระบางตวัก่อนนาํไป 
แสดงผล 
2. Passwords ควรเก็บรหัสผูใ้ชเ้ป็นความลับ 
หรือมีการเขา้รหสัก่อนจดัเก็บ 
3. Credit card data ไม่ควรเก็บขอ้มูลบตัรเครดิต 
ไว้ทั้งหมดและมีการเข้ารหัสข้อมูลก่อน 
จดัเก็บ การนาํมาแสดงผลคือปิดบงัขอ้มูลไว้ 
บางส่วนเช่น ใช้เครื่องหมาย*แทนอักขระ 
บางตวัก่อนนาํไปแสดงผลบนหนา้จอ 
4. Sensitive application data ขอ้มูลอื่นๆ ที่ 
สาํคญัควรมีการเขา้รหสัก่อนจดัเก็บ 
7. สรุป 
ความปลอดภยัของขอ้มูลการใชแ้อพพลิเคชนั่บน 
สมาร์ทโฟนแอนดรอยด์นับวนัตอ้งยิ่งให้ความสำคญัมาก 
ขึ้นเพราะจำนวนมัลแวร์ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากตามจำนวน 
แอพพลิเคชนั่ และจากการวิจยัเชิงสาํรวจก็ชี้ให้เห็นวา่ผูใ้ช้ 
ส่วนใหญ่ยงัไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภยั 
ของขอ้มูลมากนกัและการที่ผใู้ชง้านยงัขาดความใส่ใจเรื่อง
12 วิศวสารลาดกระบงั ปีที่ 30 ฉบบัที่ 3 กันยายน 2556 
ความปลอดภยัของขอ้มูลจึงเป็นช่องโหวใ่หแ้ฮคเกอร์ใช้ใน 
การโจมตีและมีรูปแบบหลากหลายมากขึ้น เช่น การส่ง 
ข้อความหลอกลวงหรือการโจมตีโดยใช้เทคนิคทาง 
จิตวิทยาสังคม (Social Engineering) ก็เป็นรูปแบบหนึ่ง 
ของการหลอกลวงให้ผู้ใช้งานหลงเชื่อ การวิจัยด้าน 
พฤติกรรมของผูบ้ริโภคเพื่อให้ทราบถึงการใช้งานและ 
ความเข้าใจถึงเรื่องความปลอดภยัในการใช้สมาร์ทโฟน 
เพียงใด จะเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ 
ใชง้านหรือให้ความรู้แก่ผูใ้ชท้ั่วไปให้ใชส้มาร์ทโฟนได้ 
อยา่งปลอดภยั 
ปัญหาเรื่องความปลอดภยัของขอ้มูลส่วนหนึ่งมา 
จากกลไกการรักษาความปลอดภัยของระบบปฏิษัตการ 
แอนดรอยด์แบบเดิมที่มีช่องโหว่ เพราะมีการตรวจสอบ 
เฉพาะตอนติดตั้งเท่านั้นแต่แอพพลิเคชั่นที่เป็นมัลแวร์ 
สามารถซ่อนการตรวจจบัและทาํงานภายหลงัได้ ทาํให้มี 
การทำวิจัยด้านไกการรักษาความปลอดภัยด้วยวิธีการ 
ใหม่ๆมากขึ้น บางวิธีการก็เหมือนกับการทำงานของ 
โปรแกรมป้องกนัไวรัสบนคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ผูผ้ลิต 
แอพพลิเคชนั่ก็ตอ้งคาํนึงถึงข้นัตอน และวิธีการต่างๆที่ใช้ 
ในการสร้างแอพพลิเคชนั่ใหมี้ความปลอดภยัต่อการใชง้าน 
8. เอกสารอ้างองิ 
[1] Chris Rose, “Smart Phone, Dumb Security,”. 
Review of Business Information Systems, Vol.16, 
2012. 
[2] Alexios Mylonas, Anastasia Kastania and 
Dimitris Gritzalis, “Delegate the smartphone 
user? Security awareness in smartphone 
platforms,” Computers & Security,. Greece, 
November, 2012. 
[3] http://en.wikipedia.org/wiki/Smartphone 
[4] http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_mobile_ 
software_distribution_platforms 
[5] http://developer.android.com 
[6] William Enck, Machigar Ongtang, and Patrick 
McDaniel, “On lightweight mobile phone 
application certification,” in Proceedings of the 
16th ACM conference on Computer and 
Communications Security, ACM, 2009. 
[7] Adam Fuchs, Avik Chaudhuri, and Jeffrey Foster, 
"SCanDroid: Automated Security Certification of 
Android Applications," University of Maryland, 
College Park. 
[8] Hammad Banuri, Masoom Alam, Shahryar Khan, 
Jawad Manzoor, Bahar Ali, Yasar Khan, Mohsin 
Yasee, Mir Nauman Tahir and Tamleek Ali, 
Quratulain Alam and Xinwen Zhang, “An 
Android runtime security policy enforcement 
framework,” Pers Ubiquit Comput, Vol. 16, 2012. 
[9] Sascha Fahl, Marian Harbach, Thomas Muders, 
Lars Baumgärtner, Bernd Freisleben and Matthew 
Smith, “Why Eve and Mallory Love Android:An 
Analysis of Android SSL (In)Security,” ACM, 
2012. 
[10] Sohail Khan, Mohammad Nauman, Abu Talib 
Othman and Shahrulniza Musa, “How Secure is 
your Smartphone: An Analysis of Smartphone 
Security Mechanisms,” Cyber Security, Cyber 
Warfare and Digital Forensic (CyberSec). 
Malaysia, June, 2012. 
[11] Andrew Hoog, “Android Forensics: Investigation, 
Analysis and Mobile Security for Google 
Android,” Syngress, 2011 
[12] https://viaforensics.com/resources/reports/mobile-app- 
security-study/

More Related Content

Viewers also liked

Bonifiche aree interesse nazionali appalti pubblici -terre scavo 2014
Bonifiche aree  interesse nazionali   appalti pubblici -terre scavo 2014Bonifiche aree  interesse nazionali   appalti pubblici -terre scavo 2014
Bonifiche aree interesse nazionali appalti pubblici -terre scavo 2014Marco Grondacci
 
Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014
Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014
Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014eprpl
 
Prezentacja do elearning o bn
Prezentacja do elearning o bnPrezentacja do elearning o bn
Prezentacja do elearning o bnGregor1111
 
Информирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварии
Информирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварииИнформирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварии
Информирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварииrorbic
 
План действий ООН по Чернобылю до 2016 года
План действий ООН по Чернобылю до 2016 годаПлан действий ООН по Чернобылю до 2016 года
План действий ООН по Чернобылю до 2016 годаrorbic
 
Teknologi produk perikanan
Teknologi produk perikananTeknologi produk perikanan
Teknologi produk perikananUmar Ashiddiq
 
Robotech2012講習会v01最終版v2
Robotech2012講習会v01最終版v2Robotech2012講習会v01最終版v2
Robotech2012講習会v01最終版v2Yuki Suga
 
Presidental LOA 2apr10
Presidental LOA 2apr10Presidental LOA 2apr10
Presidental LOA 2apr10Kyle Waste
 
Работа с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна Царёва
Работа с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна ЦарёваРабота с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна Царёва
Работа с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна ЦарёваYandex
 
Node.js and Google Cloud
Node.js and Google CloudNode.js and Google Cloud
Node.js and Google CloudPaulo Pires
 

Viewers also liked (14)

Bonifiche aree interesse nazionali appalti pubblici -terre scavo 2014
Bonifiche aree  interesse nazionali   appalti pubblici -terre scavo 2014Bonifiche aree  interesse nazionali   appalti pubblici -terre scavo 2014
Bonifiche aree interesse nazionali appalti pubblici -terre scavo 2014
 
Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014
Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014
Konsumenci, a zrównoważone zakupy Polska 2014
 
Prezentacja do elearning o bn
Prezentacja do elearning o bnPrezentacja do elearning o bn
Prezentacja do elearning o bn
 
центральная площадьтлт
центральная площадьтлтцентральная площадьтлт
центральная площадьтлт
 
Lego pdf
Lego pdfLego pdf
Lego pdf
 
Информирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварии
Информирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварииИнформирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварии
Информирование в отдалённом периоде Чернобыльской аварии
 
感溫手把
感溫手把感溫手把
感溫手把
 
План действий ООН по Чернобылю до 2016 года
План действий ООН по Чернобылю до 2016 годаПлан действий ООН по Чернобылю до 2016 года
План действий ООН по Чернобылю до 2016 года
 
Teknologi produk perikanan
Teknologi produk perikananTeknologi produk perikanan
Teknologi produk perikanan
 
Robotech2012講習会v01最終版v2
Robotech2012講習会v01最終版v2Robotech2012講習会v01最終版v2
Robotech2012講習会v01最終版v2
 
Presidental LOA 2apr10
Presidental LOA 2apr10Presidental LOA 2apr10
Presidental LOA 2apr10
 
Работа с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна Царёва
Работа с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна ЦарёваРабота с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна Царёва
Работа с Git в команде Яндекс.Браузера — Алёна Царёва
 
Node.js and Google Cloud
Node.js and Google CloudNode.js and Google Cloud
Node.js and Google Cloud
 
Page 17&18
Page 17&18Page 17&18
Page 17&18
 

Similar to 5

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานaragamammy
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplatechycindy
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์katlove2541
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comKnow Mastikate
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Yokyok' Nnp
 
แนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud Computing
แนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud Computingแนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud Computing
แนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud ComputingIMC Institute
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...IMC Institute
 
Unit 01
Unit 01Unit 01
Unit 01Ji Ra
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศPhatthira Thongdonmuean
 

Similar to 5 (20)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
3
33
3
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplate
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.com
 
บทที่+1 3..
บทที่+1 3..บทที่+1 3..
บทที่+1 3..
 
9
99
9
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
แนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud Computing
แนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud Computingแนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud Computing
แนวโน้มของเทคโนโลยี และ Cloud Computing
 
Work4 22
Work4 22Work4 22
Work4 22
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
13510163
1351016313510163
13510163
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
 
Unit 01
Unit 01Unit 01
Unit 01
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
08
0808
08
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from A'anniiz Nuttida (7)

10
1010
10
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
2
22
2
 
1
11
1
 
1
11
1
 

5

  • 1. ความปลอดภัยของข้อมูลบนสมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ Information Security on Android-Smartphone ประมูล สุขสกาวผอ่ง ศิรปัฐช์ บุญครอง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทคัดย่อ ด้วยการเพิ่มของจาํนวนผูใ้ชส้มาร์ทโฟนมากขึ้นทาํให้ตอ้งคาํนึงถึงเรื่องความปลอดภยัมากขึ้น ระบบปฏิบตัิการ แอนดรอยดจ์ะมีสดัส่วนเพิ่มขึ้นของผใู้ชม้ากที่สุด ทาํใหช้่องโหวเ่รื่องความปลอดภยัก็มีมากขึ้นตามไปดว้ยและสมาร์ทโฟน ในปัจจุบนัมีประสิทธิภาพมากขึ้นความสามารถในการทาํงานใกลเ้คียงกบัคอมพิวเตอร์ ทาํใหผู้โ้จมตีระบบคอมพิวเตอร์เดิม หนัมาโจมตีสมาร์ทโฟนมากขึ้นโดยเฉพาะมลัแวร์(Malware) ในบทความนี้ไดน้าํเสนอกลไกการการทาํงานของระบบรักษา ความปลอดภยัของแอนดรอยด์รวมถึงช่องโหว่ด้านความปลอดภยั ไดศึ้กษาถึงงานวิจยัดา้นการพฒันากลไกรักษาความ ปลอดภยัและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ง พร้อมทั้งขอ้เสนอแนะแนวทางสำหรับผูใ้ช้งานให้ใช้สมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ไดอ้ย่าง ปลอดภยัและแนวทางสาํหรับนกัพฒันาแอพพลิเคชนั่ คาํสำคญั : ความปลอดภยัของขอ้มูล, แอนดรอยด,์ มลัแวร์ Abstract Since Android is the most popular smartphone platform, the volume of malware affecting Google's Android mobile operating system is also on the rise. Smartphones are becoming smaller, yet more powerful, with greater storage capacities. Traditional threats affecting computers such as malware now also affect these devices, leading to the need to protect data. This paper presents the current state of Android security mechanisms and their limitations. It also analyzes research on Android security and recommends the best practices for security. Keywords : Data security, Android, Malware 1. บทนำ ดว้ยความสามารถของโทรศพัท์มือถือที่เรียกว่า สมาร์ทโฟน (Smartphone) และแท็บเลต็ (Tablet) ที่เกือบ เทียบเท่าไดก้บัคอมพิวเตอร์และมีผูใ้ชจ้าํนวนมากจึงทาํให้ ผู้ที่เคยโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เดิม ได้หันมาโจมตี อุปกรณ์สมาร์ทโฟนมากขึ้น และสมาร์ทโฟนใช้งานง่าย ไม่จาํเป็นตอ้งมีทกัษะเหมือนการใชค้อมพิวเตอร์ [1] ทาํให้ มีผใู้ชห้ลากหลาย ต้งัแต่เด็กจนถึงผูสู้งอายุก็สามารถ ใชง้าน ได้ จากสถิติจาํนวนโทรศัพท์มือถือที่จดทะเบียนทั่วโลก ประมาณเกือบ 7,000 ลา้นเครื่องทวั่โลก และมีอตัราการ เติบโตต่อเนื่องโดยเฉพาะสมาร์ทโฟน ส่วนการติดตั้ง แอพพลิเคชนั่ผูใ้ชง้านจะเป็นผูก้าํหนดเรื่องความปลอดภยั และความเป็นส่วนตวัดว้ยตวัเอง [2] โดยเป็นผูเ้ลือกว่าจะ ยอมรับหรือไม่ยอมรับเงื่อนไขต่างๆ ในข้นัตอนการติดต้งั แอพพลิเคชนั่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเลือกยอมรับโดยไม่ไดอ้่าน
  • 2. 8 วิศวสารลาดกระบงั ปีที่ 30 ฉบบัที่ 3 กันยายน 2556 รายละเอียดขอ้ตกลง เพราะถ้าเลือกไม่ยอมรับก็จะติดตั้ง แอพพลิเคชั่นไม่ได้ น อกจากนี้บางส่วน ยังติดตั้ง แอพพลิเคชั่นจากร้านค้าครั้งละปริมาณมากๆ โดยไม่ได้ เลือกเอง ซึ่งจะติดตั้งแอพพลิเคชั่นที่ไม่รู้จักมาด้วยซึ่ง อาจจะเป็นแอพพลิเคชั่นที่แฝงโปรแกรมประเภทมลัแวร์ นอกจากนี้ยงัมีการนาํสมาร์ทโฟนมาใช้ในองค์กรหรือใน บริษทัมากขึ้น เพื่อใชง้านอินเตอร์เน็ตและรับส่งอีเมล ์การ เขา้ใชง้านระบบเครือข่ายในองคก์รผ่านสมาร์ทโฟนทาํให้ ผบู้ริหารดา้นไอทีไม่สามารถควบคุมการติดต้งัในส่วนของ แอพพลิเคชั่นต่างๆได้เหมือนกับควบคุมการติดตั้งบน เครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะเครื่องสมาร์ทโฟนส่วนใหญ่จะ เป็นเครื่องใชส้่วนตวั ทาํใหก้ารควบคุมทาํไดย้าก จึงมีความ เสี่ยงที่จะเป็นช่องโหว่ใหแ้ฮคเกอร์ (Hacker) เจาะเขา้ระบบ เครือข่ายขององคก์รได้ รูปที่ 1 ปริมาณยอดขายมือถือแยกตามระบบปฏิบตัิการ [3] 2. แอพพลเิคชั่นบนแอนดรอยด์ จากรูปที่ 1 จะเห็นได้ว่าสมาร์ทโฟนในระบบ ปฏิบตัิการแอนดรอยด์ (Android) มียอดขายที่สูงขึ้นอยา่ง กา้วกระโดด และระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) เป็น อนัดบัสอง ส่วนระบบปฏิบตัิการวินโดวส์มีแนวโนม้ที่จะ อยู่ในอันดับสาม เนื่องจากจำนวนผู้ใช้เครื่องเดิมที่เป็น ระบบปฏิบตัิการวินโดวส์มีจาํนวนมาก จึงคาดการณ์ไดว้่า จะทาํใหย้อดของวนิโดวส์สโตร์เติบโตขึ้นดว้ย 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0 Operating system-native platforms Available apps Installed base (Million) Download count (Billion) รูปที่ 2 Apps from Operating system-native platforms [4] ส่วนโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่ๆ จะมีลักษณะการ ทาํงานคลา้ยกบัเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือที่เรียกว่า สมาร์ทโฟน และมีโปรแกรมที่ใช้งานอยู่บนสมาร์ทโฟน คือแอพพลิเคชนั่โปรแกรม หรือเรียกวา่แอพ (Apps) สถิติ จาํนวนแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน ที่มีอยู่สิ้นปี พ.ศ. 2555 ประมาณ 1,800,000 Apps จากผูผ้ลิตมากกว่า 500,000 ราย นบัเป็นปรากฏการณ์ที่เปลี่ยนโลกไปสู่ยุคของ การใชง้านสมาร์ทโฟนอย่างแท้จริง แหล่งในการซื้อขาย แอพพลิเคชั่นจะเรียกว่า แอพพลิเคชนั่สโตร์ (Application Store) โดยจะแยกเป็นสองประเภทคือ จากผูผ้ลิตโดยตรง (Operating system-native platforms) ดงัรูปที่ 2 และจาก คนกลาง (Third-Party platforms) 2.1. ศูนย์จาํหน่ายแอพพลเิคชั่นจากผู้ผลติ (Applications from Operating system-native platforms) แหล่งในการซื้อขายหรือติดต้งัแอพพลิเคชนั่ใน สามาร์ทโฟน จะมีศูนย์จำหน่ายแอพพลิเคชั่นจากผูผ้ลิต โดยตรง คือเป็นผูผ้ลิตระบบปฏิบัติการโดยตรง ผูใ้ช้งาน เมื่อซื้อเครื่องแลว้ตอ้งสมคัรสมาชิกเพื่อติดตั้งแอพพลิเคชั่น เช่น แอพสโตร์ (App Store) ของบริษทัแอปเปิล และกูเกิล เพลย ์(Google Play) ของบริษทักูเกิล จาํนวนแอพพลิเคชนั่ ของแอนดรอยด์ในกูเกิลเพลยเ์มื่อสิ้นปี พ.ศ. 2555 จะอยู่ที่ 700,000 กว่าแอพพลิเคชนั่ ดงัรูปที่ 2 และกาํลงัเพิ่มขึ้น อยา่งต่อเนื่อง Thousands of Units
  • 3. Ladkrabang Engineering Journal, Vol. 30, No. 3, September 2013 9 2.2. ศูนย์จาํหน่ายแอพพลเิคชั่นจากคนกลาง (Applications from Third-Party platforms) นอกจากนี้ยงัมีผูข้ายแอพพลิเคชนั่จากบริษทัอื่นๆ ที่ไม่ไดเ้ป็นเจา้ของระบบปฏิบตัิการหรือเจา้ของผลิตภนัฑ์ สามาร์ทโฟน แต่ก็สามารถเปิดสถานที่ให้มีการซื้อขาย แอพพลิเคชั่นบนสามาร์ทโฟนได้ ดังภาพที่ 3 โดยส่วน ใหญ่เป็นแอพพลิเคชั่น บนระบบปฏิบตัิการแอนดรอยด์ หรือรวมกับระบบปฏิบัติการอื่นด้วย เมื่อรวมกับจำนวน แอพพลิเคชนั่บนกูเกิลเพลยแ์ลว้แอพพลิเคชนั่แอนดรอยด์ จะมีจาํนวนมากที่สุด รูปที่ 3 Apps from Third-Party platforms [4] 3. ความปลอดภัยของแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ จากรูปที่ 2 และ 3 จะเห็นไดว้า่แอพพลิเคชนั่ของ ระบบปฏิบตัิการแอนดรอยด์จะมีจาํนวนมากที่สุดและมา จากหลายแหล่ง ทาํให้เกิดช่องโหวใ่นเรื่องความปลอดภยั ในการใช้งาน เมื่อเทียบกับระบบปฎิบัติการอื่นๆ เช่น ระบบปฎิบตัิการของแบล็กเบอร์รี่โอเอส (Blackberry OS) เป็นระบบปิด มีการควบคุมการเขา้รหสัท้งัหมด การซื้อขาย และติดต้งัแอพพลิเคชนั่ ก็ตอ้งทาํผา่นแอพสโตร์ของบริษทั เท่านั้น และเครื่องไอโฟน (iPhone) ของบริษทัแอปเปิล (Apple Inc.) ก็เป็นระบบปิ ดแต่ก็สามารถเปิ ดได้ แต่ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ จะเป็นระบบเปิดทั้งหมด มี ขอ้พิจารณาดงันี้ 3.1 แอนดรอยเ์ป็นระบบปฏิบตัิการแบบโอเพ่น ซอร์ส (Open Source) ที่หลายคนมีส่วนร่วมพฒันาและ เขา้ถึงรหัสตน้ฉบับ (Source Code) ต่างๆ ได้ 3.2 เปิดให้ทุกคนมีสิทธิพฒันาแอพพลิเคชนั่ได้ (Open Developer) 3.3 เปิดโอกาสให้บริษทัผลิตสมาร์ทโฟนต่างๆ ใชร้ะบบปฏิบตัิการแอนดรอยดไ์ด้(Open Device) 3.4 เปิดโอกาสให้บริษัทอื่นๆ เปิดเซิร์ฟเวอร์ สาํหรับดาวน์โหลดแอพพลิเคชนั่ได้(Open Apps Store) จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าระบบ ปฏิบัติการแอนดรอยด์มีความหลากหลายท้งัผูผ้ลิต ผูจั้ด จาํหน่ายและผูพ้ฒันาแอพพลิเคชนั่ ดงัน้นัจึงมีความจาํเป็น ที่ตอ้งพิจารณาเรื่องความปลอดภยัของขอ้มูลกนัมากขึ้น 4. กลไกการรักษาความปลอดภัยบนแอนดรอยด์ ระบบปฎิบัติการแอนดรอยด์เป็นโอเพนซอร์ส (Open Source) ที่พฒันามาจากระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (Linux) โครงสร้างเป็นช้นัๆ (Layer) ช้นัล่างสุดคือลินุกซ์ คอร์เนล (Linux Kernel) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อกบัฮาร์ดแวร์ (Hardware) ช้นัต่อมาเป็นไลบารี่ (Library) ที่เขียนด้วย ภาษาซี และมีส่วนที่เป็นรันไทม์ (Runtime) ประกอบไป ด้วยดาลวิคเวอร์ชวลแมชชีน (Dalvik Virtual Machine) สาํหรับการทาํงานโปรแกรมคาํสั่งต่างๆ และแอพพลิเคชนั่ จะทาํงานที่ช้นับนสุด Applications Home Contact Phone Browser ... Applications Framework Libraries Android Runtime LINUX Kernel Activity Manager Windows Manager Content Providers View System Notification Manger Package Manger Telephony Manger Resource Manger Location Manger XMPP Service Surface Manger Media Framework SQLite OpenGL|ES FreeType Webkit SGL SSL libc Core Libraries Dalvik Virtual Machine Display Driver Camera Driver Bluetooth Driver Flash Memory Driver Binder (IPC) Driver USB Driver Keypad Driver Wifi Driver Audio Drivers Power Management รูปที่ 4 สถาปัตยกรรมของแอนดรอยด ์[5] 4.1 กลไกแซนบ็อก (Sandboxing Mechanism) กลไกนี้จะให้แต่ละแอพพลิเคชนั่แยกเป็นอิสระ จากกนัป้องกัน [10] ไม่ให้แอพพลิเคชั่นเขา้ถึงส่วนอื่นๆ ของระบบปฏิบตัิการ หรือเขา้ถึงแอพพลิเคชันซึ่งกันและ กัน มีพื้นที่จัดเก็บข้อมูลแยกส่วนกันและมีโปรเซส (Process) เป็นของตวัเอง การติดต้งัจะมีเลขที่ลาํดบัเฉพาะที่
  • 4. 10 วิศวสารลาดกระบงั ปีที่ 30 ฉบบัที่ 3 กันยายน 2556 ไม่ซ้าํกัน (UID : Unique user ID) ทาํให้ป้องกนัการลง แอพพลิเคชนั่ซ้ำในเครื่องเดียวกัน ถา้ตอ้งการใช้โปรเซส หรือขอ้อนุญาตระหวา่งโปรเซสร่วมกนั ก็ตอ้งทาํผ่านทาง sharedUserID ทาํให้ตอ้งใช้ UID ร่วมกนั 4.2 กลไกการอนุญาตแอพพลเิคชั่น (Application Permission Mechanism) จะใช้Package Manager ในการกาํหนดสิทธิ หรือการอนุญาตว่าแอพพลิเคชนั่จะสามารถทาํอะไรไดบ้า้ง การกาํหนดสิทธิจะทาํเพียงครั้งเดียวในข้นัตอนการติดต้งั โดยแอพพลิเคชั่นสามารถขอสิทธิการใช้ เช่น การเข้า อินเตอร์เน็ต (INTERNET) ส่งขอ้ความ (WRITE_SMS) หรือใชก้ลอ้งถ่ายรูป (CAMERA) ซึ่งจะเป็นขอ้ความหรือ ข้อตกลงถามผู้ใช้งานให้เป็นคนตัดสินใจว่าจะอนุญาต หรือไม่ ถ้าไม่อนุญาตทั้งหมดตามที่ขอก็จะไม่ติดตั้งเลย (all-or-nothing) เมื่อติดต้งัไปแลว้ ผูใ้ชง้านจะไม่สามารถ ไปยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง การกาํหนดสิทธิไดภ้ายหลงั 5. กลไกรักษาความปลอดภัยของข้อมูลบนสมาร์ท โฟนแอนดรอยด์ 5.1 ด้านกลไกการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ในเรื่องกลไกการรักษาความปลอดภัยมีการทำ วิจัยกันมากเพราะกลไกที่มีอยู่เดิมมีช่องโหว่ โดยเฉพาะ กลไกการอนุญาตให้ให้ผู้ใช้งานเป็นคนตัดสินใจว่าจะ อนุญาตใหแ้อพพลิเคชนั่จะมีสิทธิเขา้ถึงอะไรหรือทาํอะไร ได้บ้างในข้นัตอนการติดต้งัเท่าน้นั ถา้ไม่อนุญาติท้งัหมด ตามที่แอพพลิเคชั่นร้องขอ ก็จะยกเลิกการติดตั้งท้งัหมด เช่นการติดตั้งแอพพลิเคชั่นเครือข่ายสังคมออนไลน์ใน ระหว่างการติดต้งัมีการร้องขออนุญาตให้ใช้อินเตอร์เน็ต ดว้ย หากมีการอนุญาตในขณะติดต้งัแลว้ แอพพลิเคชนั่ก็ สามารถเปิดบราวเซอร์อินเตอร์เน็ตได้ทาํให้ผูใ้ชอ้าจเผลอ คลิกเขา้เวบที่เชื่อมโยงจากแอพพลิเคชนั่ได้ คิริน (kirin) William Enck [6] เป็นกลไกแรกๆที่ มีการพูดถึงการทาํวิจยัเรื่องกลไกการรักษาความปลอดภยั โดยมีการแกไ้ขกลไกในส่วนข้นัตอนการติดต้งั ให้มีการ ตรวจสอบความปลอดภยัก่อนการติดต้งั New Application Kirin Security Service Kirin Security Rules Optional Extension Display risk ratings to the user and Prompt for overide. (1) Attempt Installation (2) (3) Pass/Fail Android Application Installer (4) รูปที่ 5 กลไกการรักษาความปลอดภยัของคิริน [6] โดยกลไกการรักษาความปลอดภยัจะกระทาํใน ข้นัตอนการติดต้งัแอพพลิเคชนั่ โดยในระหวา่งการติดต้งั จะตรวจสอบขอ้มูลดา้นความปลอดภยัเทียบกบัฐานขอ้มูล หากเห็นวา่มีอนัตรายต่อความปลอดภยั ก็จะแจง้ให้ผูติ้ดต้งั ไดท้ราบและยกเลิกการติดต้งัไป แต่ก็ยงัมีจุดอ่อนตรงที่การ จะทราบว่าแอพพลิเคชนั่ไหนที่ไม่ปลอดภัยตอ้งอา้งอิงกับ ฐานข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ทันสมัย และมีการตรวจสอบ เฉพาะข้นัตอนการติดต้งัเท่าน้นั สแกนดรอยด์ (SCanDroid) Adam P. Fuchs [7] เป็นกลไกที่ตรวจสอบการทาํงานของแอพพลิเคชนั่วา่มีการ เรียกใชข้อ้มูลหรือส่วนประกอบอะไรบา้งหรือมีการร้องขอ อนุญาตอะไรบ้าง แต่ก็ยงัมีข้อเสียคือการตรวจสอบต้อง อาศยัฐานขอ้มูลเดิมและกระทาํในข้นัตอนการติดต้งัเท่าน้นั Hammad Banuri [8] ได้ศึกษารูปแบบในการ ทาํงานของแอพพลิเคชนั่วา่มีพฤติกรรม (behavior) ในการ ทาํงานของแอพพลิเคชนั่วา่มีการไปใชสิ้ทธิหรือมีลกัษณะ ที่เป็นภยัคุกคามที่เป็นอนัตรายหรือไม่ โดยมีการกาํหนด เป็นโครงสร้าง Security Enhanced Android Framework (SEAF) และใช้ตรวจสอบการทาํงานของแอพพลิเคชั่น ในช่วงการทาํงาน แต่ขอ้เสียคือหากนาํไปใชง้านจริงตอ้ง ทดสอบว่าไปรบกวนการทำงานของระบบหรือไม่ หรือ อาจทาํใหบ้างแอพพลิเคชนั่ไม่สามารถทาํงานได้ 5.2 ด้านความปลอดภัยของข้อมูลบน SSL Sascha Fahl [9] ไดศึ้กษาถึงความปลอดภยัของ การรับส่งขอ้มูลผ่านโปรโตคอล SSL/TLS โดยไดท้าํการ สร้างเครื่องมือที่เรียกว่า MalloDroid ในการตรวจสอบการ ทาํงานของ SSL/TLS จากแอพพลิเคชนั่ที่ดาวโหลดมาจาก กูเกิลเพลย์ (Google Play) ประมาณ 13,500 แอพ ซึ่งก็ พบว่ามีจำนวนหนึ่งที่มีการใช้ SSL ไม่ถูกตอ้งประมาณ 100 กวา่แอพพลิเคชนั่ มีการใช้SSL ที่ไม่ถูกตอ้ง จากการ กาํหนดใบอนุญาตดา้นความปลอดภยั (CAs : Certificate
  • 5. Ladkrabang Engineering Journal, Vol. 30, No. 3, September 2013 11 Authorities) โดยที่ไม่มีการระบุเฉพาะเจาะจงของแหล่ง ใบอนุญาตดา้นความปลอดภยั 5.3 งานวจิยัด้านพฤตกิรรมผู้บริโภค การที่ระบบปฎิบตัิการให้สิทธิผูบ้ริโภคเป็นคน ตดัสินใจเองในเรื่องความปลอดภัยและสิทธิต่างๆ ทาํให้ เกิดคาํถามตามมาวา่ผบู้ริโภคไดต้ระหนกัถึงภยัคุกคามที่จะ ตามมาหรือเปล่า Alexios Mylonas [2] ไดท้าํการวิจยัเชิง สำรวจถึงความตระหนักในเรื่องความปลอดภยัในการใช้ สมาร์ทโฟนของผู้บริโภค โดยทำการสำรวจ จากผู้ใช้ แอพพลิเคชนั่ที่ดาวโหลดแอพพลิเคชนั่จากผูผ้ลิตโดยตรง เช่น แอพสโตร์ กูเกิลเพลย ์เพื่อเปรียบเทียบวา่ ผูใ้ชง้านได้ ระวงัเรื่องความปลอดภยัของขอ้มูลหรือไม่ พบวา่ส่วนใหญ่ จะเชื่อถือวา่ไดด้าวโหลดแอพพลิเคชนั่จากแหล่งที่มีความ น่าเชื่อถือแลว้ จึงไม่ไดร้ะมดัระวงัเรื่องความปลอดภยัของ ขอ้มูล และไม่มีติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสเหมือนกับ การใชง้านเครื่องคอมพิวเตอร์ 6. ข้อแนะนำความปลอดภัยสำหรับแอพพลเิคชั่น บนสมาร์ทโฟน ขอ้แนะนาํเพื่อความปลอดภยัของแอพพลิเคชั่น บนสมาร์ทโฟนโดย Andrew Hoog [11] จะประกอบไป ด้วยหลายส่วนคือ แอพพลิเคชั่นตวัเครื่อง และผูพ้ฒันา แอพพลิเคชั่น นอกจากนี้ยงัสามารถใช้ตัวกลางที่คอย ตรวจสอบความปลอดภยัของแอพพลิเคชนั่ได้ 6.1 ตัวเครื่อง สาํหรับการใชง้านโทรศพัทม์ือถือที่เป็นสมาร์ท โฟนใหป้ลอดภยัควรปฏิบตัิดงันี้ 1. อพัเดทซอฟตแ์วร์สม่าํเสมอ 2. ปิดการใชง้านอื่นที่ไม่จาํเป็น เช่น บลูทูธ (Bluetooth) 3. เปิดระบบป้อนรหสัผ่านในการเขา้ใชง้าน 4. อยา่เขา้ลิ้งคห์รือเวบที่เราไม่แน่ใจ 5. เลือกติดต้งัแอพพลิเคชนั่ที่น่าเชื่อถือได้ 6. ลบขอ้มูลก่อนจะขายหรือยกเลิกการใช้ 6.2 เลอืกใช้คนกลางในการตรวจสอบแอพพลเิคชั่น การตรวจสอบว่าแอพพลิเคชั่นไหนปลอดภัย สาํหรับผูใ้ชเ้ป็นเรื่องยงุ่ยาก แต่ปัจจุบนั ก็มีบริษทัที่ทาํการ ตรวจสอบแอพพลิเคชัน่บนมือถือว่าปลอดภยัหรือไม่เช่น AppWatchdog [12] จะทาํการตรวจสอบดงันี้ 1. มีการเก็บพลาสเวริ์ดที่มีการเขา้รหสัขอ้มูล หรือไม่ 2. มีการเก็บชื่อผใู้ชที้่มีการเขา้รหสัหรือไม่ 3. มีการเก็บข้อมูลที่มีความปลอดภยัหรือไม่ 4. มีการเก็บข้อมูลบัตรเครดิตหรือไม่ 6.3 ข้อแนะนำสำหรับผู้พฒันาแอพพลเิคชั่น ข้อแนะนำเพื่อความปลอดภัยสำหรับผู้พัฒนา แอพพลิเคชั่น (Developer) บนสมาร์ทโฟนโดย Andrew Hoog [11] มีดงันี้ 1. User names ควรเก็บชื่อผใู้ชเ้ป็นความลบั หรือมีการเขา้รหสัก่อนจดัเก็บ และการนาํมา แสดงผลคือปิดบงัขอ้มูลไวบ้างส่วน เช่น ใช้ เครื่องหมาย * แทนอกัขระบางตวัก่อนนาํไป แสดงผล 2. Passwords ควรเก็บรหัสผูใ้ชเ้ป็นความลับ หรือมีการเขา้รหสัก่อนจดัเก็บ 3. Credit card data ไม่ควรเก็บขอ้มูลบตัรเครดิต ไว้ทั้งหมดและมีการเข้ารหัสข้อมูลก่อน จดัเก็บ การนาํมาแสดงผลคือปิดบงัขอ้มูลไว้ บางส่วนเช่น ใช้เครื่องหมาย*แทนอักขระ บางตวัก่อนนาํไปแสดงผลบนหนา้จอ 4. Sensitive application data ขอ้มูลอื่นๆ ที่ สาํคญัควรมีการเขา้รหสัก่อนจดัเก็บ 7. สรุป ความปลอดภยัของขอ้มูลการใชแ้อพพลิเคชนั่บน สมาร์ทโฟนแอนดรอยด์นับวนัตอ้งยิ่งให้ความสำคญัมาก ขึ้นเพราะจำนวนมัลแวร์ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากตามจำนวน แอพพลิเคชนั่ และจากการวิจยัเชิงสาํรวจก็ชี้ให้เห็นวา่ผูใ้ช้ ส่วนใหญ่ยงัไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภยั ของขอ้มูลมากนกัและการที่ผใู้ชง้านยงัขาดความใส่ใจเรื่อง
  • 6. 12 วิศวสารลาดกระบงั ปีที่ 30 ฉบบัที่ 3 กันยายน 2556 ความปลอดภยัของขอ้มูลจึงเป็นช่องโหวใ่หแ้ฮคเกอร์ใช้ใน การโจมตีและมีรูปแบบหลากหลายมากขึ้น เช่น การส่ง ข้อความหลอกลวงหรือการโจมตีโดยใช้เทคนิคทาง จิตวิทยาสังคม (Social Engineering) ก็เป็นรูปแบบหนึ่ง ของการหลอกลวงให้ผู้ใช้งานหลงเชื่อ การวิจัยด้าน พฤติกรรมของผูบ้ริโภคเพื่อให้ทราบถึงการใช้งานและ ความเข้าใจถึงเรื่องความปลอดภยัในการใช้สมาร์ทโฟน เพียงใด จะเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ใชง้านหรือให้ความรู้แก่ผูใ้ชท้ั่วไปให้ใชส้มาร์ทโฟนได้ อยา่งปลอดภยั ปัญหาเรื่องความปลอดภยัของขอ้มูลส่วนหนึ่งมา จากกลไกการรักษาความปลอดภัยของระบบปฏิษัตการ แอนดรอยด์แบบเดิมที่มีช่องโหว่ เพราะมีการตรวจสอบ เฉพาะตอนติดตั้งเท่านั้นแต่แอพพลิเคชั่นที่เป็นมัลแวร์ สามารถซ่อนการตรวจจบัและทาํงานภายหลงัได้ ทาํให้มี การทำวิจัยด้านไกการรักษาความปลอดภัยด้วยวิธีการ ใหม่ๆมากขึ้น บางวิธีการก็เหมือนกับการทำงานของ โปรแกรมป้องกนัไวรัสบนคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ผูผ้ลิต แอพพลิเคชนั่ก็ตอ้งคาํนึงถึงข้นัตอน และวิธีการต่างๆที่ใช้ ในการสร้างแอพพลิเคชนั่ใหมี้ความปลอดภยัต่อการใชง้าน 8. เอกสารอ้างองิ [1] Chris Rose, “Smart Phone, Dumb Security,”. Review of Business Information Systems, Vol.16, 2012. [2] Alexios Mylonas, Anastasia Kastania and Dimitris Gritzalis, “Delegate the smartphone user? Security awareness in smartphone platforms,” Computers & Security,. Greece, November, 2012. [3] http://en.wikipedia.org/wiki/Smartphone [4] http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_mobile_ software_distribution_platforms [5] http://developer.android.com [6] William Enck, Machigar Ongtang, and Patrick McDaniel, “On lightweight mobile phone application certification,” in Proceedings of the 16th ACM conference on Computer and Communications Security, ACM, 2009. [7] Adam Fuchs, Avik Chaudhuri, and Jeffrey Foster, "SCanDroid: Automated Security Certification of Android Applications," University of Maryland, College Park. [8] Hammad Banuri, Masoom Alam, Shahryar Khan, Jawad Manzoor, Bahar Ali, Yasar Khan, Mohsin Yasee, Mir Nauman Tahir and Tamleek Ali, Quratulain Alam and Xinwen Zhang, “An Android runtime security policy enforcement framework,” Pers Ubiquit Comput, Vol. 16, 2012. [9] Sascha Fahl, Marian Harbach, Thomas Muders, Lars Baumgärtner, Bernd Freisleben and Matthew Smith, “Why Eve and Mallory Love Android:An Analysis of Android SSL (In)Security,” ACM, 2012. [10] Sohail Khan, Mohammad Nauman, Abu Talib Othman and Shahrulniza Musa, “How Secure is your Smartphone: An Analysis of Smartphone Security Mechanisms,” Cyber Security, Cyber Warfare and Digital Forensic (CyberSec). Malaysia, June, 2012. [11] Andrew Hoog, “Android Forensics: Investigation, Analysis and Mobile Security for Google Android,” Syngress, 2011 [12] https://viaforensics.com/resources/reports/mobile-app- security-study/