SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
บทความวิชาการศึกษาผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อการเป็นมะเร็งสมอง 
ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์ 
สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
email: wongwit@g.swu.ac.th 
ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือจัดว่าเป็นสิ่งสาคัญในการใช้ชีวิตประจาวันของผู้คน และอาจจะถือ ว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ทาให้การใช้ชีวิตประจาวันสะดวกที่สุดของศตวรรษที่ยี่สิบ ในขณะที่ โทรศัพท์มือถือมีข้อดีที่ชัดเจนในการใช้เช่นในการติดต่อเรื่องงานหรือติดต่อกับคนที่เรารัก ตลอดเวลา แต่ในความสะดวกสบายหรูหรานั้นมักจะมีสิ่งที่ไม่พึงประสงค์หรือข้อเสียบางส่วนที่ อาจจะส่งผลกระทบหรือเป็นอันตรายกับการใช้ชีวิตและสุขภาพของผู้ใช้โทรศัพท์มือก็เป็นได้ 
บทความนี้เป็นการรวบรวมนาเสนอเกี่ยวกับผลการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าของระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ครอบคลุมหัวข้อของข้อสงสัยจากการทบทวน วรรณกรรม (Literature review) ที่เกี่ยวข้องกับผลการศึกษาว่าการใช้โทรศัพท์มือถือส่งผลให้เกิด มะเร็งเนื้องอกในสมองโดยคลื่นจะเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้อาการดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การศึกษาและนาเสนอจะเป็นการสรุปประเด็นที่สาคัญ คงเนื้อหาที่สาคัญและมีประโยชน์ในการ อ้างอิง แต่จะไม่ทาให้ผู้อ่านเข้าใจยากจนเกินไปเพราะนาเสนอรายละเอียดทางเทคนิคแบบเจาะลึก จนเกินไป 
การนาเสนอผลของการใช้โทรศัพท์มือถือจาเป็นต้องกล่าวถึงว่าโทรศัพท์มือถือเป็น แหล่งที่มาของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่สร้างการเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่มันเข้ามาติดต่อหรือส่ง สนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปกระทบ ผลต่อสมองเป็นที่สนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากวิธีการใช้โทรศัพท์มี การใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เข้ามาติดต่อโดยตรงกับสมอง การสรุปงานวิจัยที่ได้ศึกษาผลกระทบ ต่อสมองอาจจะแบ่งได้เป็นการศึกษาที่มีการเชื่อมโยงโดยใช้โทรศัพท์มือถือเป็นระยะเวลานานกับ
การมีอุบัติการณ์ที่สูงขึ้นของเนื้องอกในสมอง หรือการศึกษาผลกระทบต่อสัญญาณคลื่นไฟฟ้าจาก สมอง ซึ่งเป็นการบ่งชี้ถึงผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือเมื่อเปรียบเทียบกับเมื่อไม่ได้ใช้ โทรศัพท์มือถือ ซึ่งเป็นผลกระทบต่อสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ 
ผลที่ได้จากการวิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้มือถือเป็นระยะเวลานาน และ ใช้มือถืออย่างหนัก และ PTGs ไม่พบความเกี่ยวข้องระหว่างการใช้มือถือกับอันตรายจากมะเร็ง เนื่องจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากมือถือไม่มีพลังมากพอที่จะทาลายพันธะเคมีหรือ ทาความเสียหายต่อ DNA ดังนั้นผู้วิจัยจึงสรุปว่าการใช้มือถือไม่เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดมะเร็ง 
บทสรุป 
จากงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากโทรศัพท์มือถือ (GSM 900Hz และ 1800Hz) ส่วนใหญ่ให้ความสาคัญกับว่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสาเหตุในการเกิดโรคมะเร็ง ที่บริเวณศีรษะ เช่น มะเร็งต่อมน้าลายที่กกหู มะเร็งเยื่อหุ้มสมอง หรือไม่ หรือทาให้อัตราในการเจริญเติบโตของ มะเร็งมากขึ้นหรือไม่ โดยสรุปแล้วสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากโทรศัพท์มือถือทั้งที่เกิดจาก กระแสไฟฟ้าในแบตเตอรี่หรือจากเสาสัญญาณ ไม่มีพลังงานมากพอที่จะทาลายพันธะเคมีหรือทาความเสียหาย กับ DNA ดังนั้นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือจึงไม่ใช่สาเหตุของการเกิดหรือเป็นตัวเร่งการ เจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง แต่การใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน ความร้อนเพียงเล็กน้อยที่เกิดขึ้นในขณะที่ใช้ อาจจะเป็นสาเหตุของอาการเมื่อยล้า และ วิงเวียนศีรษะได้ นอกจากนี้ในงานวิจัยที่มีการบันทึกสัญญาณ EEG ชี้ให้เห็นว่า สนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือ มีผลกระทบต่อคลื่นสมอง เช่น ทาให้เกิดคลื่นเดลต้าและ ทีต้า ในขณะที่ผู้ถูกทดลองยังตื่นอยู่, คลื่นอัลฟาลดลง เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีผลกระทบต่อกล้ามเนื้อด้วยใน งานวิจัยที่มีการบันทึกสัญญาณ EMG โดยทาให้การหดตัวของกล้ามเนื้อในแต่ละครั้งนานขึ้น, การตอบสนอง ของกล้ามเนื้อลดลง หลังจากการใช้ติดต่อกันเป็นเวลามากกว่า 6 เดือนและใช้ทุกวันๆ อย่างน้อยวันละ 20 นาที จากการศึกษางานวิจัยเหล่านี้ ทาให้มีข้อสงสัยว่า สนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ EMFs มีผลต่อพฤติกรรมและการ ทางานของร่างกายของผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือ อย่างไรบ้าง เช่น อารมณ์ เนื่องจากคลื่นสมองนั้นสามารถบอกถึง สภาวะของอารมณ์ หรือ กิจกรรมที่ทาหรือคิดได้ และในทางกลับกันเมื่อ EMFs มีผลกับการเปลี่ยนแปลงคลื่น สมอง จะทาให้พฤติกรรมและการทางานของร่างกายของผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น หรือ เลวร้ายลง อย่างเช่น การเกิดคลื่นเดลต้าและทีต้า ในขณะที่ตื่นนั้น ทาให้เกิด พฤติกรรมหรือการทางานของร่างกายที่เปลี่ยนไปอย่างไร สิ่งที่สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรมได้ เช่น ทาให้นอน
หลับยากขึ้น หงุดหงิดง่ายขึ้น เป็นต้น แต่ในทางกลับกัน จะมีความเป็นไปได้หรือไม่ว่าเราสามารถนา EMFs มา ช่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่าง เช่น นอนไม่หลับก็สามารถ ส่ง EMFs หรือคลื่นใดๆก็ตาม ที่สามารถ กระตุ้นให้หลับง่ายขึ้นโดยใช้บาบัดในผู้ป่วยโรคนอนไม่หลับโดยไม่ใช้ยา หรือ กระตุ้นให้เกิดสมาธิและสงบ เมื่อเจอกับสถานการณ์ที่ตรึงเครียด และในปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมี เทคโนโลยี 3G หรือ 4G เกิดขึ้นทาให้การรับ-ส่งสัญญาณข้อมูลแบบเก่าจะถูกแทนที่ เพราะ การสื่อสารใน ปัจจุบันขอมีแค่สัญญาณ wifi ก็สามารถสื่อสารกันได้แล้วโดยผ่าน LINE ,BB และ Facebook เป็นต้น ดังนั้น คาถามที่อาจจะตามมาได้ก็คือความสงสัยว่า คลื่นที่ปล่อยออกมาจากระบบ 3G หรือ 4G หรือ Wifi มีผลต่อผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือมากหรือน้อยกว่าระบบเดิมๆ ในด้านใด และอย่างไร และเป็นคลื่นที่มีชนิดและรูปแบบเดียวกัน หรือไม่ แตกต่างกันอย่างไร คาถามเหล่านี้ที่มาพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ยังคงต้องรอคาตอบ และการพิสูจน์ต่อไปในระยะยาวเพื่อตอบคาถามที่ยังคงมีข้อสงสัยในอนาคตว่าการใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเหตุให้ เกิดมะเร็งเนื้องอกในสมองหรือเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้อาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจริง หรือไม่ 
เอกสารอ้างอิง 
[1] De Pomerai D, Daniells C, David H, et al. Non-thermal heat shock response to microwaves. Nature 2000;405:417–18. 
[2] Kwee S, Raskmark P, Velizarov S. Changes in cellular proteins due to environmental non-ionizing radiation Heatshock proteins. Electro-Magnetobiol 2001;20:141–52. 
[3] Leszczynski D, Joenva¨a¨ra¨ S, Reivinen J, et al. Non-thermal activation of the hsp27/p38MAPK stress pathway by mobile phone radiation in human endothelial cells: molecular mechanisms for cancer- and blood- brain barrierrelated effects. Differentiation 2002;70:120–9. 
[4] Shallom JM, DiCarlo A, Ko D, et al. Microwave exposure induces hsp70 and confers protection against hypoxia in chick embryos. J Cell Biochem 2002;86:490–6. 
[5] Weisbrot D, Lin H, Ye L, et al. Effects of mobile phone radiation on reproduction and development in Drosophila melanogaster. J Cell Biochem 2003; 89:48–55. 
[6] Frey AH, Feld SR, Frey B. Neural function and behavior: defining the relationship. Ann N Y Acad Sci 1975; 247:433–9. 
[7] Oscar KJ, Hawkins TD. Microwave alteration of the blood-brain barrier system of rats. Brain Res 1977; 126:281–93.

More Related Content

Similar to 4

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์noeiinoii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ   ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ P_rerng
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม ElectronKung Kaenchan
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม ElectronTongsai Boonta
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีballjantakong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ssuserb746cf
 
ใบงานท 2-8 ซ_น
ใบงานท   2-8 ซ_นใบงานท   2-8 ซ_น
ใบงานท 2-8 ซ_นNNarumon Obtom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nuttarika Kornkeaw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ ooh Pongtorn
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่  2   8ใบงานที่  2   8
ใบงานที่ 2 8nookkiss123
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5WitthayaMihommi
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่Jitsupapa Rungpakdeesawat
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่Jitsupapa Rungpakdeesawat
 

Similar to 4 (20)

2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา
 
2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ   ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานท 2-8 ซ_น
ใบงานท   2-8 ซ_นใบงานท   2-8 ซ_น
ใบงานท 2-8 ซ_น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่  2   8ใบงานที่  2   8
ใบงานที่ 2 8
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 

More from A'anniiz Nuttida (10)

10
1010
10
 
9
99
9
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
1
11
1
 

4

  • 1. บทความวิชาการศึกษาผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อการเป็นมะเร็งสมอง ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ email: wongwit@g.swu.ac.th ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือจัดว่าเป็นสิ่งสาคัญในการใช้ชีวิตประจาวันของผู้คน และอาจจะถือ ว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ทาให้การใช้ชีวิตประจาวันสะดวกที่สุดของศตวรรษที่ยี่สิบ ในขณะที่ โทรศัพท์มือถือมีข้อดีที่ชัดเจนในการใช้เช่นในการติดต่อเรื่องงานหรือติดต่อกับคนที่เรารัก ตลอดเวลา แต่ในความสะดวกสบายหรูหรานั้นมักจะมีสิ่งที่ไม่พึงประสงค์หรือข้อเสียบางส่วนที่ อาจจะส่งผลกระทบหรือเป็นอันตรายกับการใช้ชีวิตและสุขภาพของผู้ใช้โทรศัพท์มือก็เป็นได้ บทความนี้เป็นการรวบรวมนาเสนอเกี่ยวกับผลการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าของระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ครอบคลุมหัวข้อของข้อสงสัยจากการทบทวน วรรณกรรม (Literature review) ที่เกี่ยวข้องกับผลการศึกษาว่าการใช้โทรศัพท์มือถือส่งผลให้เกิด มะเร็งเนื้องอกในสมองโดยคลื่นจะเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้อาการดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การศึกษาและนาเสนอจะเป็นการสรุปประเด็นที่สาคัญ คงเนื้อหาที่สาคัญและมีประโยชน์ในการ อ้างอิง แต่จะไม่ทาให้ผู้อ่านเข้าใจยากจนเกินไปเพราะนาเสนอรายละเอียดทางเทคนิคแบบเจาะลึก จนเกินไป การนาเสนอผลของการใช้โทรศัพท์มือถือจาเป็นต้องกล่าวถึงว่าโทรศัพท์มือถือเป็น แหล่งที่มาของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่สร้างการเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่มันเข้ามาติดต่อหรือส่ง สนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปกระทบ ผลต่อสมองเป็นที่สนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากวิธีการใช้โทรศัพท์มี การใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เข้ามาติดต่อโดยตรงกับสมอง การสรุปงานวิจัยที่ได้ศึกษาผลกระทบ ต่อสมองอาจจะแบ่งได้เป็นการศึกษาที่มีการเชื่อมโยงโดยใช้โทรศัพท์มือถือเป็นระยะเวลานานกับ
  • 2. การมีอุบัติการณ์ที่สูงขึ้นของเนื้องอกในสมอง หรือการศึกษาผลกระทบต่อสัญญาณคลื่นไฟฟ้าจาก สมอง ซึ่งเป็นการบ่งชี้ถึงผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือเมื่อเปรียบเทียบกับเมื่อไม่ได้ใช้ โทรศัพท์มือถือ ซึ่งเป็นผลกระทบต่อสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ ผลที่ได้จากการวิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้มือถือเป็นระยะเวลานาน และ ใช้มือถืออย่างหนัก และ PTGs ไม่พบความเกี่ยวข้องระหว่างการใช้มือถือกับอันตรายจากมะเร็ง เนื่องจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากมือถือไม่มีพลังมากพอที่จะทาลายพันธะเคมีหรือ ทาความเสียหายต่อ DNA ดังนั้นผู้วิจัยจึงสรุปว่าการใช้มือถือไม่เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดมะเร็ง บทสรุป จากงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากโทรศัพท์มือถือ (GSM 900Hz และ 1800Hz) ส่วนใหญ่ให้ความสาคัญกับว่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสาเหตุในการเกิดโรคมะเร็ง ที่บริเวณศีรษะ เช่น มะเร็งต่อมน้าลายที่กกหู มะเร็งเยื่อหุ้มสมอง หรือไม่ หรือทาให้อัตราในการเจริญเติบโตของ มะเร็งมากขึ้นหรือไม่ โดยสรุปแล้วสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากโทรศัพท์มือถือทั้งที่เกิดจาก กระแสไฟฟ้าในแบตเตอรี่หรือจากเสาสัญญาณ ไม่มีพลังงานมากพอที่จะทาลายพันธะเคมีหรือทาความเสียหาย กับ DNA ดังนั้นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือจึงไม่ใช่สาเหตุของการเกิดหรือเป็นตัวเร่งการ เจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง แต่การใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน ความร้อนเพียงเล็กน้อยที่เกิดขึ้นในขณะที่ใช้ อาจจะเป็นสาเหตุของอาการเมื่อยล้า และ วิงเวียนศีรษะได้ นอกจากนี้ในงานวิจัยที่มีการบันทึกสัญญาณ EEG ชี้ให้เห็นว่า สนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือ มีผลกระทบต่อคลื่นสมอง เช่น ทาให้เกิดคลื่นเดลต้าและ ทีต้า ในขณะที่ผู้ถูกทดลองยังตื่นอยู่, คลื่นอัลฟาลดลง เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีผลกระทบต่อกล้ามเนื้อด้วยใน งานวิจัยที่มีการบันทึกสัญญาณ EMG โดยทาให้การหดตัวของกล้ามเนื้อในแต่ละครั้งนานขึ้น, การตอบสนอง ของกล้ามเนื้อลดลง หลังจากการใช้ติดต่อกันเป็นเวลามากกว่า 6 เดือนและใช้ทุกวันๆ อย่างน้อยวันละ 20 นาที จากการศึกษางานวิจัยเหล่านี้ ทาให้มีข้อสงสัยว่า สนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ EMFs มีผลต่อพฤติกรรมและการ ทางานของร่างกายของผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือ อย่างไรบ้าง เช่น อารมณ์ เนื่องจากคลื่นสมองนั้นสามารถบอกถึง สภาวะของอารมณ์ หรือ กิจกรรมที่ทาหรือคิดได้ และในทางกลับกันเมื่อ EMFs มีผลกับการเปลี่ยนแปลงคลื่น สมอง จะทาให้พฤติกรรมและการทางานของร่างกายของผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น หรือ เลวร้ายลง อย่างเช่น การเกิดคลื่นเดลต้าและทีต้า ในขณะที่ตื่นนั้น ทาให้เกิด พฤติกรรมหรือการทางานของร่างกายที่เปลี่ยนไปอย่างไร สิ่งที่สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรมได้ เช่น ทาให้นอน
  • 3. หลับยากขึ้น หงุดหงิดง่ายขึ้น เป็นต้น แต่ในทางกลับกัน จะมีความเป็นไปได้หรือไม่ว่าเราสามารถนา EMFs มา ช่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่าง เช่น นอนไม่หลับก็สามารถ ส่ง EMFs หรือคลื่นใดๆก็ตาม ที่สามารถ กระตุ้นให้หลับง่ายขึ้นโดยใช้บาบัดในผู้ป่วยโรคนอนไม่หลับโดยไม่ใช้ยา หรือ กระตุ้นให้เกิดสมาธิและสงบ เมื่อเจอกับสถานการณ์ที่ตรึงเครียด และในปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมี เทคโนโลยี 3G หรือ 4G เกิดขึ้นทาให้การรับ-ส่งสัญญาณข้อมูลแบบเก่าจะถูกแทนที่ เพราะ การสื่อสารใน ปัจจุบันขอมีแค่สัญญาณ wifi ก็สามารถสื่อสารกันได้แล้วโดยผ่าน LINE ,BB และ Facebook เป็นต้น ดังนั้น คาถามที่อาจจะตามมาได้ก็คือความสงสัยว่า คลื่นที่ปล่อยออกมาจากระบบ 3G หรือ 4G หรือ Wifi มีผลต่อผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือมากหรือน้อยกว่าระบบเดิมๆ ในด้านใด และอย่างไร และเป็นคลื่นที่มีชนิดและรูปแบบเดียวกัน หรือไม่ แตกต่างกันอย่างไร คาถามเหล่านี้ที่มาพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ยังคงต้องรอคาตอบ และการพิสูจน์ต่อไปในระยะยาวเพื่อตอบคาถามที่ยังคงมีข้อสงสัยในอนาคตว่าการใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเหตุให้ เกิดมะเร็งเนื้องอกในสมองหรือเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้อาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจริง หรือไม่ เอกสารอ้างอิง [1] De Pomerai D, Daniells C, David H, et al. Non-thermal heat shock response to microwaves. Nature 2000;405:417–18. [2] Kwee S, Raskmark P, Velizarov S. Changes in cellular proteins due to environmental non-ionizing radiation Heatshock proteins. Electro-Magnetobiol 2001;20:141–52. [3] Leszczynski D, Joenva¨a¨ra¨ S, Reivinen J, et al. Non-thermal activation of the hsp27/p38MAPK stress pathway by mobile phone radiation in human endothelial cells: molecular mechanisms for cancer- and blood- brain barrierrelated effects. Differentiation 2002;70:120–9. [4] Shallom JM, DiCarlo A, Ko D, et al. Microwave exposure induces hsp70 and confers protection against hypoxia in chick embryos. J Cell Biochem 2002;86:490–6. [5] Weisbrot D, Lin H, Ye L, et al. Effects of mobile phone radiation on reproduction and development in Drosophila melanogaster. J Cell Biochem 2003; 89:48–55. [6] Frey AH, Feld SR, Frey B. Neural function and behavior: defining the relationship. Ann N Y Acad Sci 1975; 247:433–9. [7] Oscar KJ, Hawkins TD. Microwave alteration of the blood-brain barrier system of rats. Brain Res 1977; 126:281–93.