SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
นายปิยพงษ์ ติรภัทรสกุล ม.6/5 เลขที่ 1
IT News
สองนักศึกษามหาวิทยาลัยดุ๊ก ค้นพบวิธีชาร์จโทรศัพท์มือถือด้วยWi-Fi
การชาร์จพลังงานโทรศัพท์มือถือแบบเก่าอาจกาลังจะหมดไป เมื่อสองนักศึกษาค้นพบวิธีชาร์จพลังงานผ่านสัญญาณ Wi-Fi ได้
สองหนุ่ม อัลเลน ฮัคเคส และอเล็กซานเดอร์ คัทโก้สองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยดุ๊กได้พัฒนาอุปกรณ์อภิวัสดุ (Metamaterials ) ที่สามารถจับ
คลื่นพลังงานจากสัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สายและแปลงเป็นกระแสไฟฟ้า โดยทั้งสองยังกล่าวอีกว่า อุปกรณ์เก็บเกี่ยวพลังงานนี้ ให้ประสิทธิภาพ
มากกว่าสายต่อ USB และมีการส่งออกคล้ายกับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ทันสมัย
โดยอุปกรณ์ที่สองนักศึกษาประดิษฐ์ขึ้นมานั้น สามารถแปลงสัญญานคลื่น Wi-Fi เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เพื่อการเติมพลังงานให้กับ
แบตเตอรี่มือถือหรืออุปกรณ์พกพาขนาดเล็กได้
กุญแจสาคัญของการเก็บเกี่ยวพลังงานคืออภิวัสดุ ซึ่งเป็นโครงสร้างวิศวกรรมที่สามารถจับรูปแบบของคลื่นพลังงานที่มีความแตกต่าง และ
ปรับเปลี่ยนให้มันเป็นประโยชน์ได้โดยแหล่งที่มาของสัญญาณนั้นสามารถมาจากสัญญาณดาวเทียม สัญญาณเสียง และสัญญาณ Wi-Fi เป็นต้น
ในยุคที่เราว่ายวนอยู่ท่ามกลางสัญญาณไร้สายและเครือข่ายสื่อสาร อุปกรณ์ชิ้นนี้จะอานวยความสะดวกในการชาร์จพลังงานได้ทุกที่ ยิ่งไปกว่า
นั้นมันยังให้ประสิทธิภาพมากกว่าการชาร์จแบบเสียบปลั๊กโดยจากการทดสอบ สองนักศึกษาได้ต่อชุดเส้นใยแก้ว 5 ชุด และตัวนาพลังงานทองแดง
บนแผงวงจร เพื่อการแปลงคลื่นไมโครเวฟเป็นกระแสไฟฟ้า 7.3 โวลต์ในขณะที่ USBนั้นกาจัดอยู่ที่ 5 โวลต์เท่านั้น ยิ่งไปกว่านั้นมันยังให้
นายปิยพงษ์ ติรภัทรสกุล ม.6/5 เลขที่ 1
ประสิทธิภาพมากถึงร้อยละ 36.8 เมื่อเทียบกับเซลล์แสงอาทิตย์
นอกจากนั้นนักวิจัยยังกล่าวอีกว่า วัสดุดังกล่าวสามารถนาไปประยุกต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในบ้าน และการเคลือบผิวของ
อภิวัสดุยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับเพดาน เพื่อช่วยในการสะท้อนสัญญาณให้ดียิ่งขึ้น
อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีชิ้นนี้นั้น ยังคงอยู่ในขบวนการวิจัย โดยสองนักศึกษากาลังพัฒนาให้เทคโนโลยีนั้นสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพื่อการ
นาไปใช้กับตัวเครื่องภายในโทรศัพท์มือถือได้
ความเห็น
ในปัจจุบันการส่งข้อมูลอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายเร็วที่สุดก็คือการใช้สัญญาณWi-Fiแต่ว่าการส่งข้อมูลแบบWi-Fiจะต้องใช้พลังงาน
แบตเตอร์รี่มากจริงทาให้อุปกรณ์ที่เราเล่น เช่น สมาร์ทโฟน ipad เป็นต้นแบตหมดไว้ก็เลยเป็นสิ่งที่ดีที่ได้เล่นWi-Fiไปด้วยแถมยังสามารถชาร์ดแบต
ไปในตัวด้วยทาให้เราได้เล่นอินเอร์เน็ตได้นานขึ้น
ที่มา http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=14&cno=5671

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (14)

08. LPT Level II
08. LPT Level II08. LPT Level II
08. LPT Level II
 
BussyScope numéro 138
BussyScope numéro 138BussyScope numéro 138
BussyScope numéro 138
 
Educadores unidos con la tecnologia
Educadores unidos con la  tecnologiaEducadores unidos con la  tecnologia
Educadores unidos con la tecnologia
 
Gonzalo guimaraens
Gonzalo guimaraensGonzalo guimaraens
Gonzalo guimaraens
 
Começando com números
Começando com númerosComeçando com números
Começando com números
 
Internal sales engineer performance appraisal
Internal sales engineer performance appraisalInternal sales engineer performance appraisal
Internal sales engineer performance appraisal
 
De líquid a sòlid solidifiquem la llet
De líquid a sòlid   solidifiquem la lletDe líquid a sòlid   solidifiquem la llet
De líquid a sòlid solidifiquem la llet
 
Powerpoint 5 Vulcanologia (Vulcanismo SecundáRio)
Powerpoint 5   Vulcanologia (Vulcanismo SecundáRio)Powerpoint 5   Vulcanologia (Vulcanismo SecundáRio)
Powerpoint 5 Vulcanologia (Vulcanismo SecundáRio)
 
2000sbbb
2000sbbb2000sbbb
2000sbbb
 
Pac3 beatriz perez_perea.ppt
Pac3 beatriz perez_perea.pptPac3 beatriz perez_perea.ppt
Pac3 beatriz perez_perea.ppt
 
Viviana
VivianaViviana
Viviana
 
Evaluación de fuentes
Evaluación de fuentes Evaluación de fuentes
Evaluación de fuentes
 
Metodocai100 (1)
Metodocai100 (1)Metodocai100 (1)
Metodocai100 (1)
 
Era digital
Era digitalEra digital
Era digital
 

IT News by Piyapong

  • 1. นายปิยพงษ์ ติรภัทรสกุล ม.6/5 เลขที่ 1 IT News สองนักศึกษามหาวิทยาลัยดุ๊ก ค้นพบวิธีชาร์จโทรศัพท์มือถือด้วยWi-Fi การชาร์จพลังงานโทรศัพท์มือถือแบบเก่าอาจกาลังจะหมดไป เมื่อสองนักศึกษาค้นพบวิธีชาร์จพลังงานผ่านสัญญาณ Wi-Fi ได้ สองหนุ่ม อัลเลน ฮัคเคส และอเล็กซานเดอร์ คัทโก้สองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยดุ๊กได้พัฒนาอุปกรณ์อภิวัสดุ (Metamaterials ) ที่สามารถจับ คลื่นพลังงานจากสัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สายและแปลงเป็นกระแสไฟฟ้า โดยทั้งสองยังกล่าวอีกว่า อุปกรณ์เก็บเกี่ยวพลังงานนี้ ให้ประสิทธิภาพ มากกว่าสายต่อ USB และมีการส่งออกคล้ายกับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ทันสมัย โดยอุปกรณ์ที่สองนักศึกษาประดิษฐ์ขึ้นมานั้น สามารถแปลงสัญญานคลื่น Wi-Fi เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เพื่อการเติมพลังงานให้กับ แบตเตอรี่มือถือหรืออุปกรณ์พกพาขนาดเล็กได้ กุญแจสาคัญของการเก็บเกี่ยวพลังงานคืออภิวัสดุ ซึ่งเป็นโครงสร้างวิศวกรรมที่สามารถจับรูปแบบของคลื่นพลังงานที่มีความแตกต่าง และ ปรับเปลี่ยนให้มันเป็นประโยชน์ได้โดยแหล่งที่มาของสัญญาณนั้นสามารถมาจากสัญญาณดาวเทียม สัญญาณเสียง และสัญญาณ Wi-Fi เป็นต้น ในยุคที่เราว่ายวนอยู่ท่ามกลางสัญญาณไร้สายและเครือข่ายสื่อสาร อุปกรณ์ชิ้นนี้จะอานวยความสะดวกในการชาร์จพลังงานได้ทุกที่ ยิ่งไปกว่า นั้นมันยังให้ประสิทธิภาพมากกว่าการชาร์จแบบเสียบปลั๊กโดยจากการทดสอบ สองนักศึกษาได้ต่อชุดเส้นใยแก้ว 5 ชุด และตัวนาพลังงานทองแดง บนแผงวงจร เพื่อการแปลงคลื่นไมโครเวฟเป็นกระแสไฟฟ้า 7.3 โวลต์ในขณะที่ USBนั้นกาจัดอยู่ที่ 5 โวลต์เท่านั้น ยิ่งไปกว่านั้นมันยังให้
  • 2. นายปิยพงษ์ ติรภัทรสกุล ม.6/5 เลขที่ 1 ประสิทธิภาพมากถึงร้อยละ 36.8 เมื่อเทียบกับเซลล์แสงอาทิตย์ นอกจากนั้นนักวิจัยยังกล่าวอีกว่า วัสดุดังกล่าวสามารถนาไปประยุกต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในบ้าน และการเคลือบผิวของ อภิวัสดุยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับเพดาน เพื่อช่วยในการสะท้อนสัญญาณให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีชิ้นนี้นั้น ยังคงอยู่ในขบวนการวิจัย โดยสองนักศึกษากาลังพัฒนาให้เทคโนโลยีนั้นสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพื่อการ นาไปใช้กับตัวเครื่องภายในโทรศัพท์มือถือได้ ความเห็น ในปัจจุบันการส่งข้อมูลอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายเร็วที่สุดก็คือการใช้สัญญาณWi-Fiแต่ว่าการส่งข้อมูลแบบWi-Fiจะต้องใช้พลังงาน แบตเตอร์รี่มากจริงทาให้อุปกรณ์ที่เราเล่น เช่น สมาร์ทโฟน ipad เป็นต้นแบตหมดไว้ก็เลยเป็นสิ่งที่ดีที่ได้เล่นWi-Fiไปด้วยแถมยังสามารถชาร์ดแบต ไปในตัวด้วยทาให้เราได้เล่นอินเอร์เน็ตได้นานขึ้น ที่มา http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=14&cno=5671