SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
        กิจกรรมการจัดการความรู้ ศภ. 2 กสอ.  การนำเสนอ การจัดการความรู้ของ ศภ.2 วันพฤหัสที่ 17 กันยายน 2552
การจัดการความรู้ ของ ศภ.2 กสอ. ประเด็นการนำเสนอ ,[object Object],    และผลการดำเนินกิจกรรม ,[object Object]
 ความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณร่วมสร้างความรู้   ร่วมเรียนรู้   สู่การพัฒนา
1. การบ่งชี้ความรู้ ศภ.2 ได้เลือก ,[object Object]
ตัวชี้วัดที่ 3.4 ร้อยละของผู้ประกอบการที่ได้รับความรู้ในการประกอบการเพิ่มขึ้น
องค์ความรู้ที่จำเป็น คือ องค์ความรู้ด้านการใช้ระบบสารสนเทศอุตสาหกรรมในการดำเนินธุรกิจ1 คณะทำงานอำนวยการ 4 คณะทำงานย่อยด้านกิจกรรมการจัดการความรู้  จัดประชุมคณะทำงาน และ ถ่ายทอดความรู้เรื่อง การจัดการความรู้ของ กสอ. ปีงบประมาณ 52 องค์ความรู้ที่ช่วยให้ เจ้าหน้าที่ ศภ.2ผู้ประกอบการ และ บริกรธุรกิจ สามารถเข้าถึงและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้และองค์ความรู้ภายนอกองค์กร(SSMWiki) และสามารถสร้างองค์ความรู้ภายในได้ ซึ่งเป็นการช่วยให้ศักยภาพการแข่งขันเพิ่มขึ้น
2. การสร้างความรู้และแสวงหาความรู้ ศภ.2 ได้เลือก ,[object Object]
มีแหล่งความรู้ภายนอก ที่ได้เชื่อมโยงไว้ในเนื้อหาของบทความที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้การเรียนรู้มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกับแหล่งความรู้อื่นประชุมคณะทำงาน  3 ครั้ง เพื่อกำหนดแหล่งความรู้ที่จะแสวงหา และการสร้างความรู้ที่เป็น Tacit  ให้เป็น Explicit 1.จัดทำฐานข้อมูลแหล่งความรู้ ในรูปแบบการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลกับเนื้อหาบทความใน SSMWiki 2.นำรายงานผลการปฏิบัติงานมาเก็บไว้ในระบบเครือข่าย   จัดกิจกรรมส่งเสริมการจัดเก็บความรู้ 1.เรื่องเล่า 2.ชุมชนนักปฏิบัติ 3.Lesson Learned 4.เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เจ้าหน้าที่ กสอ., ผู้ประกอบการ และ บริการธุรกิจ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ และสร้างองค์ความรู้ร่วมกัน
   3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ ศภ.2 มีวิธีการในการเก็บและการนำองค์ความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างเป็นระบบ ดังนี้ 1.  โครงสร้างและการจัดเก็บความรู้เป็นระบบฐานข้อมูลบนเครือข่ายออนไลน์ที่สามารถค้นหาและเข้าถึงได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว    2.  มีการจำแนกบทความเป็นหมวดหมู่ต่างๆเช่น หมวดหมู่ตามกิจกรรมของ กสอ. , บุคคล, หน่วยงาน  เป็นต้น 3.  ผู้จัดเก็บความรู้สามารถกำหนดหมวดหมู่ด้วยตนเองได้   4.  ผู้จัดเก็บสามารถบันทึกข้อมูล ทั้งในกรณีการสร้างบทความใหม่ การแก้ไขเพิ่มเติมบทความเดิมได้   5.  ระบบการจัดเก็บสามารถเก็บประวัติการลงข้อมูล การแก้ไข และสถิติการเข้าเยี่ยมชมบทความนั้นๆ ได้  6.  สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีความเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันได้ ด้วยการ เขียนบทความ ในลักษณะของ Metadata และ Ontology  (ปัจจุบันยังไม่ถึงมาตรฐาน การจัดเก็บของ Metadata)
   3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ(2)
      4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การนำ Tacit และ Explicit ของบุคลากร ผู้ประกอบการ และ บริกรธุรกิจ มาจัดเก็บในระบบเครือข่ายออนไลน์ 1 4 3 ชุมชนนักปฏิบัติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2 การเล่าเรื่อง ความรู้ที่มีบน  SSMWikiจะมีความถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 6 5 คลังข้อมูล การคัดกรองความรู้ที่บิดเบือนหรือล้าสมัย  มาทบทวนปรับปรุงให้ถูกต้องสมบูรณ์
5. การเข้าถึงความรู้ 1.ผู้ประกอบการใหม่ 2.ผู้เข้าร่วมสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพ SMEs 3.ทาง e-Mail และการสร้าง Blog ใน Web อื่น มุมจัดการความรู้เสมือน สำหรับเจ้าหน้าที่ ที่ต้องปฏิบัติงานนอกสำนักงานเป็นส่วนใหญ่ ค้นเรื่องจากรายชื่อ ผู้เขียน หรือใช้ คำหรือวลี ในการค้นหาบทความได้
5. การเข้าถึงความรู้ (2)
5. การเข้าถึงความรู้ (3)
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (2) ตัวอย่างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับหน่วยงานภายนอก เช่นการสร้าง Web การจัดการความรู้ด้วย Media Wiki กับกรมปศุสัตว์  ด้วยการแบ่งปันรูปแบบและ Code ที่ใช้ ใน ssmwiki.org
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (3)
7. การเรียนรู้ การเรียนรู้และ นวัตกรรม อย่างต่อเนื่อง
7. การเรียนรู้
สรุป ผลการดำเนินกิจกรรม 1.การจัดกิจกรรม การจัดการความรู้ 4 ครั้ง 2.การศึกษาดูงานร่วมกับส่วนกลาง 1 ครั้ง 3.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 22 ครั้ง 4.พัฒนาเครื่องมือการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลความรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  5. สร้างองค์ความรู้ และจัดทำคู่มือรวม 5 เรื่อง   5.1 คู่มือการติดตั้งโปรแกรม Media Wiki 5.2 คู่มือการใช้งานและการเขียนมีเดียวิกิ 5.3 คู่มือการเริ่มใช้งาน SSMWiki 5.4 คู่มือการใช้ Air Card  5.5 คู่มือการติดตั้งระบบ LANศภ.2 กสอ.
การจัดการความรู้ ของ ศภ.2 กสอ. ประเด็นการนำเสนอ ,[object Object],    และผลการดำเนินกิจกรรม ,[object Object]
ความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณร่วมสร้างความรู้   ร่วมเรียนรู้   สู่การพัฒนา
ความรู้ที่ได้นำไปใช้ประโยชน์  4.จำนวนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น รวม 70 ราย จาก 263 ราย เป็น 333 ราย5.การนำข้อมูลความรู้ไปใช้ ประเมินจากสถิติ “หน้าที่มีจำนวนเข้าดูมาก” ในระบบโดยคัดเลือกหน้าที่มีผู้เข้าชมที่มากกว่า 250 ครั้งขึ้นไป ในวันที่  7 กันยายน 2552 มีจำนวนทั้งสิ้น 227 หน้าบทความ สามารถจำแนกลักษณะเนื้อหาของหน้าบทความได้ดังนี้ การประเมินผล ด้านการจัดเก็บความรู้และเข้าเยี่ยมชม การเก็บข้อมูลความรู้ประเมินจากสถิติของระบบ เปรียบเทียบระหว่างวันที่ 24 มีนาคม 2552 ถึงวันที่  7 กันยายน 2552 มีจำนวนบทความเพิ่มขึ้น 161 บทความ (จาก 683 บทความ เป็น  844 บทความ)  แสดงให้เห็นถึงการนำองค์ความรู้ด้านการใช้ระบบสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในการจัดเก็บและกระจายข้อมูล จำนวนครั้งที่มีการเข้าชม เพิ่มขึ้น จาก 93,000 ครั้ง เป็น 226,500 ครั้ง เพิ่มขึ้นถึง 133,500 ครั้ง ขณะที่ “หน้าหลัก” ซึ่งเป็นหน้าแรก เพิ่มขึ้นเพียง 8,675 ครั้ง เท่านั้น เปรียบเทียบจำนวนผู้อ่านกับผู้ร่วมสร้างและผู้เข้าร่วมแก้ไขบทความ มีสัดส่วนเป็น 94:6 โดยประมาณ ซึ่งยังต่ำกว่า ค่าเฉลี่ยของการศึกษาการใช้ Internet ของผู้ใช้ทั้งโลก มีค่าเฉลี่ยที่ 90:10 จึงต้องหายุทธศาสตร์ในการส่งเสริมให้มีการสร้างและแก้ไขบทความมากยิ่งขึ้น
ความรู้ที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ การประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้          โดยประเมินจาก 4 ด้าน ประกอบด้วย            -บริบทของกิจกรรม            -ปัจจัยนำเข้า           -กระบวนการ           -ผลผลิต          จากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 32 ราย ประกอบด้วย            -เจ้าหน้าที่ กสอ.26 ราย            -ผู้ประกอบการ 4 ราย            -ที่ปรึกษา   2 ราย  พบว่ามีความพึงพอใจเฉลี่ยระดับ มาก ทั้ง 4 ด้าน เครือข่ายออนไลน์ SSMWikiสนับสนุน การเข้าสู่ “Learned Industrial Society Network” ด้วยบริการ การเชื่อมโยงการสื่อสาร ความรู้ และความคิดระหว่างผู้ประกอบการ และหน่วยงานผู้ให้บริการ ช่วยส่งเสริมมิตรภาพที่ดี ด้วยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่มีคุณภาพอย่างรวดเร็วทันต่อความต้องการ ช่วยแก้ไขข้อจำกัดด้านเวลา สถานที่ ในการติดต่อสื่อสาร เครือข่ายออนไลน์ช่วยให้บุคคลเข้าถึงการเชื่อมโยงได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา

More Related Content

Similar to Km170909 ศภ02

Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
Bodaidog
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 
รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22
piyaphon502
 
รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22
piyaphon502
 

Similar to Km170909 ศภ02 (20)

R2R
R2RR2R
R2R
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุดKm กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ICT Literacy
ICT LiteracyICT Literacy
ICT Literacy
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
1
11
1
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
.3
 .3  .3
.3
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22
 
Blockchain based Customer Relation System
Blockchain based Customer Relation SystemBlockchain based Customer Relation System
Blockchain based Customer Relation System
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
 
รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22รายงานโครงงานคอม22
รายงานโครงงานคอม22
 

Km170909 ศภ02

  • 1. กิจกรรมการจัดการความรู้ ศภ. 2 กสอ. การนำเสนอ การจัดการความรู้ของ ศภ.2 วันพฤหัสที่ 17 กันยายน 2552
  • 2.
  • 4.
  • 6. องค์ความรู้ที่จำเป็น คือ องค์ความรู้ด้านการใช้ระบบสารสนเทศอุตสาหกรรมในการดำเนินธุรกิจ1 คณะทำงานอำนวยการ 4 คณะทำงานย่อยด้านกิจกรรมการจัดการความรู้ จัดประชุมคณะทำงาน และ ถ่ายทอดความรู้เรื่อง การจัดการความรู้ของ กสอ. ปีงบประมาณ 52 องค์ความรู้ที่ช่วยให้ เจ้าหน้าที่ ศภ.2ผู้ประกอบการ และ บริกรธุรกิจ สามารถเข้าถึงและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้และองค์ความรู้ภายนอกองค์กร(SSMWiki) และสามารถสร้างองค์ความรู้ภายในได้ ซึ่งเป็นการช่วยให้ศักยภาพการแข่งขันเพิ่มขึ้น
  • 7.
  • 8. มีแหล่งความรู้ภายนอก ที่ได้เชื่อมโยงไว้ในเนื้อหาของบทความที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้การเรียนรู้มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกับแหล่งความรู้อื่นประชุมคณะทำงาน 3 ครั้ง เพื่อกำหนดแหล่งความรู้ที่จะแสวงหา และการสร้างความรู้ที่เป็น Tacit ให้เป็น Explicit 1.จัดทำฐานข้อมูลแหล่งความรู้ ในรูปแบบการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลกับเนื้อหาบทความใน SSMWiki 2.นำรายงานผลการปฏิบัติงานมาเก็บไว้ในระบบเครือข่าย จัดกิจกรรมส่งเสริมการจัดเก็บความรู้ 1.เรื่องเล่า 2.ชุมชนนักปฏิบัติ 3.Lesson Learned 4.เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เจ้าหน้าที่ กสอ., ผู้ประกอบการ และ บริการธุรกิจ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ และสร้างองค์ความรู้ร่วมกัน
  • 9. 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ ศภ.2 มีวิธีการในการเก็บและการนำองค์ความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างเป็นระบบ ดังนี้ 1. โครงสร้างและการจัดเก็บความรู้เป็นระบบฐานข้อมูลบนเครือข่ายออนไลน์ที่สามารถค้นหาและเข้าถึงได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว 2. มีการจำแนกบทความเป็นหมวดหมู่ต่างๆเช่น หมวดหมู่ตามกิจกรรมของ กสอ. , บุคคล, หน่วยงาน เป็นต้น 3. ผู้จัดเก็บความรู้สามารถกำหนดหมวดหมู่ด้วยตนเองได้ 4. ผู้จัดเก็บสามารถบันทึกข้อมูล ทั้งในกรณีการสร้างบทความใหม่ การแก้ไขเพิ่มเติมบทความเดิมได้ 5. ระบบการจัดเก็บสามารถเก็บประวัติการลงข้อมูล การแก้ไข และสถิติการเข้าเยี่ยมชมบทความนั้นๆ ได้ 6. สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีความเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันได้ ด้วยการ เขียนบทความ ในลักษณะของ Metadata และ Ontology (ปัจจุบันยังไม่ถึงมาตรฐาน การจัดเก็บของ Metadata)
  • 10. 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ(2)
  • 11. 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การนำ Tacit และ Explicit ของบุคลากร ผู้ประกอบการ และ บริกรธุรกิจ มาจัดเก็บในระบบเครือข่ายออนไลน์ 1 4 3 ชุมชนนักปฏิบัติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2 การเล่าเรื่อง ความรู้ที่มีบน SSMWikiจะมีความถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 6 5 คลังข้อมูล การคัดกรองความรู้ที่บิดเบือนหรือล้าสมัย มาทบทวนปรับปรุงให้ถูกต้องสมบูรณ์
  • 12. 5. การเข้าถึงความรู้ 1.ผู้ประกอบการใหม่ 2.ผู้เข้าร่วมสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพ SMEs 3.ทาง e-Mail และการสร้าง Blog ใน Web อื่น มุมจัดการความรู้เสมือน สำหรับเจ้าหน้าที่ ที่ต้องปฏิบัติงานนอกสำนักงานเป็นส่วนใหญ่ ค้นเรื่องจากรายชื่อ ผู้เขียน หรือใช้ คำหรือวลี ในการค้นหาบทความได้
  • 16. 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (2) ตัวอย่างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับหน่วยงานภายนอก เช่นการสร้าง Web การจัดการความรู้ด้วย Media Wiki กับกรมปศุสัตว์ ด้วยการแบ่งปันรูปแบบและ Code ที่ใช้ ใน ssmwiki.org
  • 18. 7. การเรียนรู้ การเรียนรู้และ นวัตกรรม อย่างต่อเนื่อง
  • 20. สรุป ผลการดำเนินกิจกรรม 1.การจัดกิจกรรม การจัดการความรู้ 4 ครั้ง 2.การศึกษาดูงานร่วมกับส่วนกลาง 1 ครั้ง 3.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 22 ครั้ง 4.พัฒนาเครื่องมือการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลความรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. สร้างองค์ความรู้ และจัดทำคู่มือรวม 5 เรื่อง  5.1 คู่มือการติดตั้งโปรแกรม Media Wiki 5.2 คู่มือการใช้งานและการเขียนมีเดียวิกิ 5.3 คู่มือการเริ่มใช้งาน SSMWiki 5.4 คู่มือการใช้ Air Card 5.5 คู่มือการติดตั้งระบบ LANศภ.2 กสอ.
  • 21.
  • 23. ความรู้ที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ 4.จำนวนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น รวม 70 ราย จาก 263 ราย เป็น 333 ราย5.การนำข้อมูลความรู้ไปใช้ ประเมินจากสถิติ “หน้าที่มีจำนวนเข้าดูมาก” ในระบบโดยคัดเลือกหน้าที่มีผู้เข้าชมที่มากกว่า 250 ครั้งขึ้นไป ในวันที่ 7 กันยายน 2552 มีจำนวนทั้งสิ้น 227 หน้าบทความ สามารถจำแนกลักษณะเนื้อหาของหน้าบทความได้ดังนี้ การประเมินผล ด้านการจัดเก็บความรู้และเข้าเยี่ยมชม การเก็บข้อมูลความรู้ประเมินจากสถิติของระบบ เปรียบเทียบระหว่างวันที่ 24 มีนาคม 2552 ถึงวันที่ 7 กันยายน 2552 มีจำนวนบทความเพิ่มขึ้น 161 บทความ (จาก 683 บทความ เป็น 844 บทความ) แสดงให้เห็นถึงการนำองค์ความรู้ด้านการใช้ระบบสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในการจัดเก็บและกระจายข้อมูล จำนวนครั้งที่มีการเข้าชม เพิ่มขึ้น จาก 93,000 ครั้ง เป็น 226,500 ครั้ง เพิ่มขึ้นถึง 133,500 ครั้ง ขณะที่ “หน้าหลัก” ซึ่งเป็นหน้าแรก เพิ่มขึ้นเพียง 8,675 ครั้ง เท่านั้น เปรียบเทียบจำนวนผู้อ่านกับผู้ร่วมสร้างและผู้เข้าร่วมแก้ไขบทความ มีสัดส่วนเป็น 94:6 โดยประมาณ ซึ่งยังต่ำกว่า ค่าเฉลี่ยของการศึกษาการใช้ Internet ของผู้ใช้ทั้งโลก มีค่าเฉลี่ยที่ 90:10 จึงต้องหายุทธศาสตร์ในการส่งเสริมให้มีการสร้างและแก้ไขบทความมากยิ่งขึ้น
  • 24. ความรู้ที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ การประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ โดยประเมินจาก 4 ด้าน ประกอบด้วย -บริบทของกิจกรรม -ปัจจัยนำเข้า -กระบวนการ -ผลผลิต จากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 32 ราย ประกอบด้วย -เจ้าหน้าที่ กสอ.26 ราย -ผู้ประกอบการ 4 ราย -ที่ปรึกษา 2 ราย พบว่ามีความพึงพอใจเฉลี่ยระดับ มาก ทั้ง 4 ด้าน เครือข่ายออนไลน์ SSMWikiสนับสนุน การเข้าสู่ “Learned Industrial Society Network” ด้วยบริการ การเชื่อมโยงการสื่อสาร ความรู้ และความคิดระหว่างผู้ประกอบการ และหน่วยงานผู้ให้บริการ ช่วยส่งเสริมมิตรภาพที่ดี ด้วยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่มีคุณภาพอย่างรวดเร็วทันต่อความต้องการ ช่วยแก้ไขข้อจำกัดด้านเวลา สถานที่ ในการติดต่อสื่อสาร เครือข่ายออนไลน์ช่วยให้บุคคลเข้าถึงการเชื่อมโยงได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา
  • 25.
  • 27.
  • 31.
  • 36. ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นหากไม่ได้ดำเนินกิจกรรม KM ค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรม KM B ต่ำ สูง ต่ำ สูง ความเข้มข้นในการทำกิจกรรม KM ความเข้มข้นในการทำกิจกรรม KM A.การบรรลุถึงประสิทธิผลของการจัดการความรู้ต้องใช้งบประมาณที่สูงเช่นกัน B.กิจกรรมการจัดการความรู้ที่เข้มข้น จะทำให้ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพและคุณภาพของกิจการลดลง C.การลงทุนที่เหมาะสมในกิจกรรมการจัดการความรู้จะขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของค่าใช้จ่ายรวมที่ลดลง C o ค่าใช้จ่าย o Cost of Sharing Cost of Not Sharing ต่ำ สูง ความเข้มข้นในการทำกิจกรรม KM Source: Xerox
  • 37.
  • 40. ค่าใช้จ่ายในการจัดวัสดุ 6,000.-บาทการประเมินความคุ้มค่า ประเมินจากผลได้ ของกิจกรรม ขอประเมินจากคุณค่าของบทความ ที่ได้มีการนำไปใช้จากข้อที่ 4 จะพบว่าในช่วงระยะเวลาเพียง 5 เดือนเศษ นั้นเพียงพอที่จะประเมินความต้องการข้อมูลความรู้ หากมีผู้สืบค้นได้ขอให้ กสอ. จัดส่งข้อมูลให้ ประเมิน ครั้งละ 5 บาท 227 บทความ 250 ครั้งต่อบทความ (ประเมินขั้นต่ำสุด) จะคิดเป็นค่าใช้จ่ายกว่า 283,750.-บาท นอกจากนี้ยังไม่รับรวมผลประโยชน์เชิงคุณภาพ เช่น การทำงานเป็นทีม การสร้างวัฒนธรรมในการใฝ่เรียนใฝ่รู้ และการจัดเก็บและกระจายความรู้ที่รวดเร็วและง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล
  • 41. กิจกรรมการจัดการความรู้ ศภ. 2 กสอ. รายละเอียดการดำเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ของ ศภ.2 กสอ. จัดเก็บอยู่ใน http://www.ssmwiki.org/index.php/KM_IPC2 “ เราร่วมใจกัน...เราทำได้ ”