SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
4507502 การวิจัยและพัฒนา (RESEARCH AND
DEVELOPMENT)
ทองอินทร ์ไหวดี (Thongin Waidee)
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่น
ชุมชนท้องถิ่น ประกอบด้วย หมู่บ้าน ตาบล
1) ความหมายของชุมชน
2) เครือข่ายชุมชน
“สังคมกสิกรรม เป็ นสังคมที่ยั่งยืน เหมาะสมกับประเทศไทย เพราะ มีความ
เป็ นอิสระ เป็ นตัวของตัวเอง คิดพึ่งตนเอง”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ลักษณะของชุมชนท้องถิ่น (เน้นชุมชนกสิกรรม)
ชุมชนท้องถิ่น 4 ภาค
ชุมชนท้องถิ่นภาคเหนือ
ชุมชนท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชุมชนท้องถิ่นภาคกลาง
ชุมชนท้องถิ่นภาคใต้
แนวความคิด ความเชื่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ชุมชน ในมุมมองใหม่
ตัวอย่างชุมชน
ชุมชนล้านนา ชุมชนอีสาน ชุมชนบ้านครัว เป็ นต้น
ลักษณะเด่นของชุมชน
มีอัตลักษณ์
“หมู่บ้านหรือท้องถิ่น ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นหนา
มีการรวมกลุ่มเพื่อทากิจกรรมสาธารณะหลายรูปแบบ
เป็นหมู่บ้านที่ไม่ใช่กาหนดมาจากมหาดไทย หรือเมือง”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ชุมชนท้องถิ่นในสังคมโลก
มีการรวมกลุ่มกัน
มีการเปลี่ยนแปลง
มีการปรับตัว
“การปฏิวัติสังคมโลก 3 ยุค 1) สู่สังคมเกษตรกรรม 2) สู่สังคม
อุตสาหกรรม และ 3) สู่สังคมข่าวสาร”
“การปรับตัว ใช้กระบวนการทางปัญญา”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ความคิดและความเชื่อของชุมชนหรือท้องถิ่น
ความเชื่อเพื่อสร ้างสายสัมพันธ์
ศาสนา พิธีกรรม
ฐานพลังท้องถิ่น 4 ฐาน
ฐานทรัพยากร
เครือข่ายทางสังคม
ระบบความรู้
วัฒนธรรมและความเชื่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน
ความเป็ นชุมชน
ชุมชนอุดมคติ
ชุมชนชาวนา
ชุมชนหมู่บ้าน
ชุมชนยางพารา
ชุมชนผ้าทอมือ
แนวความคิด ความเชื่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ชุมชนแห่งการเรียนรู้
ความเป็ นชุมชนแห่งการเรียนรู้ต้องค้นหา ค้นพบ
อัตลักษณ์ ศักยภาพ จุดเด่น จุดด้อย ความถนัดของตนเอง
“ชุมชนมีศูนย์กลางที่เป็ นกระบวนการทางปัญญา
ทาหน้าที่ขับเคลื่อนสังคม”
“กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและระบบจัดการเครือข่ายการเรียนรู้
ช่วยให้คนในชุมชนสามารถพัฒนาตนเอง
บนพื้นฐานความถนัดหรือจุดแข็งที่มีอยู่อย่างเต็มที่”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ
แผนพัฒนายั่งยืน
เป็ นความมั่งคั่งที่ทุกคนพอใจ
“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นาหลักเศรษฐศาสตร ์มาจากหลักคาสอน
พระพุทธศาสนา เรื่องการพึ่งตนเอง ทางสายกลาง ทรงเรียกว่า
เศรษฐกิจพอเพียง”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ชุมชนอุดมคติ หรือชุมชนแห่งการเรียนรู้
การอยู่ร่วมกันที่ดี
การทาจิตใจให้สงบ
ปัญญา
ชุมชนอุดมธรรมและธรรมชาติ
อาศัยธรรมชาติ หรือทรัพยากรธรรมชาติ
วิถีชีวิตผูกพัน เอื้ออานวยกันกับ ป่า แม่น้า
การพัฒนาที่ยั่งยืน
วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน
มีการเปลี่ยนแปลงเป็ นพลวัติ
มีขบวนการเพื่อการคมนาคมสื่อสาร
การสร ้างชุมชนใหม่ หรือพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง
ขบวนการดารงชีวิตเพื่อความอยู่รอด (Survival)
ขบวนการปลูกฝังและศึกษาอบรม (Enculturation and Orientation)
ขบวนการเพื่อการคมนาคมสื่อสาร (Communication)
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การเปลี่ยนแปลงและภูมิปัญญาท้องถิ่น
“การจัดการความรู้ในระดับท้องถิ่น สร ้างภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา
ไทย ภูมิปัญญาภูมิภาค และภูมิปัญญาชาวบ้าน ให้เป็ นแกนกลาง
และเป็ นกลไกในการขับเคลื่อนพัฒนาให้ดารงไว้ซึ่งความเป็ น
ชุมชนที่สมบูรณ์ (ชุมชนเข้มแข็ง)
ก็สามารถอยู่รอดได้ท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การสร ้างชุมชนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง
ปลูกจิตสานึกใหม่
สร ้างชุมชนอุดมคติที่ร่วมกันสร ้างคุณค่าภายในที่ไม่ใช่เงิน
สร ้างสันติสุขที่ไม่ใช้อานาจ
สร ้างคุณค่าใหม่และการเรียนรู้ใหม่ ทาให้เกิดขุมทรัพย์ใหม่ในชุมชน
ขุมทรัพย์ของชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
ความรู้ภูมิปัญญา
เครือข่ายสังคมวัฒนธรรม
การพัฒนาที่ยั่งยืน
กลไกการเปลี่ยนแปลงชุมชน
การประดิษฐ ์คิดค้น (Invention and Discovery)
การแพร่กระจาย (Diffusion and Borrowing)
การผสมผสานกันทางวัฒนธรรม
ระบบการทามาหากินเพื่อปากท้องและความเป็ นอยู่ในชุมชน
ระบบการผลิต
ระบบการแจกจ่ายหมุนเวียนผลผลิต
การบริโภค
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองและชุมชน
ปัญหาการอยู่ร่วมกันในทุก ๆ ระดับ
ปัญหาการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
การศึกษาหรือสร ้างภูมิรู้เพื่อความอยู่รอด
บูรณาการระหว่างวิทยาศาสตร ์กับศาสนา
“ชุมชนที่เข้มแข็งมักเริ่มต้นจากฟื้นฟูความนึกคิด ค่านิยม
และพัฒนาจิตวิญญาณก่อน จึงจะสามารถสร ้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
หรือเศรษฐกิจสังคมของท้องถิ่นได้อย่างสันติสุข”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กระบวนทัศน์ที่เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการวัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบสังคมหรือการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบการผลิต หรือการประกอบอาชีพที่มีลักษณะมุ่งเน้นระบบการ
ผลิตเพื่อพึ่งตนเอง
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ภูมิปัญญาเป็ นวิถีชุมชน
ความเป็ นชุมชนแห่งการเรียนรู้ต้องค้นหา ค้นพบ
“การสร ้างวิถีใหม่แก่ชุมชนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบัน
ต้องร่วมมือร่วมใจกันทาให้คนครอบครัว ชุมชนและสังคมรู้จักตนเอง มี
กระบวนการทบทวนอยู่เสมอ ค้นหาความคิด ความรู้เทคนิค กระบวนการและ
การเรียนรู้ที่จะร่วมมือกันพัฒนาชุมชนให้ดีขึ้น นาภูมิปัญญาที่มีมาปฏิบัติซ้า
แล้วซ้าเล่าอย่างเป็นกระบวนการต่อเนื่อง”
“การเรียนรู้คือหัวใจของการพัฒนา การเรียนรู้อยู่บนประสบการณ์ชีวิต
และความรู้ภูมิปัญญาที่บรรพบุรุษได้สั่งสมถ่ายทอดและสืบทอดกันมาจน
กลายเป็ นวิถีชีวิต ภูมิปัญญาคือศาสตร ์และศิลป์ในการดาเนินชีวิต”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
พลวัติของชุมชนอันเกิดจากภูมิปัญญา
ระดับความเป็ นนามธรรมของภูมิปัญญา ได้แก่ ความรู้เชิงเทคนิค ระบบการผลิตและ
การจัดการ ความเชื่อและพิธีกรรม และวิธีการคิด เป็ นต้น
ระยะเวลา คิดเป็ นวงกลมเป็ นรอบ ๆ ละ 12 ปี หมุนเวียนกลับมาใหม่ได้
บริบทของชุมชนและภูมิปัญญา ได้แก่ทรัพยากรและระบบนิเวศ หรือโครงสร ้างอานาจ
รัฐ ตลาดและอุดมการณ์
กระบวนการปรับตัวภายในชุมชน เกิดจากการเรียนรู้ภูมิปัญญา การต่อรองเพื่อผลิต
ใหม่ และการผสมผสานภูมิปัญญา
ความเป็ นชุมชนแห่งการเรียนรู้ต้องค้นหา ค้นพบ
ชุมชนที่มีชีวิต ควรฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่นถักร ้อยให้เป็ นชุดความรู้ที่
สะท้อนความเป็ นเอกภาพของภูมินิเวศและสากล ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และภูมินิเวศ สร ้างนิยามและความหมายใหม่ของ “การพัฒนา”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาที่พึงประสงค์ ครอบคลุม
เศรษฐกิจ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
“ท้องถิ่นหรือชุมชนที่เข้มแข็ง หมายถึง ชุมชนที่มีศักยภาพและ
ความสามารถในการจัดการพัฒนา และแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตัวเอง
มากที่สุด”
“สามารถพึ่งตนเองได้ และพึ่งพากันเองระหว่างชุมชนได้”
การพัฒนาที่ยั่งยืน
สิ่งแวดล้อมและสังคม
อัตราสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในปัจจุบันสูงขึ้นชั่วโมงละ 2 สปีชีส์(Species)
มนุษย์เป็ นเพียงผู้เดียวเท่านั้นที่สามารถช่วยป้องกันรักษา และอนุรักษ์อาศัยและใช้
ประโยชน์ของโลกทางชีวภาพได้อย่างยั่งยืนต่อไป
ความเสื่อมสภาพของสิ่งแวดล้อมในหลายภูมิภาคของโลกเป็ นประเด็นที่
ประชาคมโลกมีความวิตกกังวลอย่างมาก
เกิดจาก ละเลย..มติทางสังคมท้องถิ่นเพื่อการจัดการสภาพแวดล้อม
ละเลย..เรื่องการรักษานิเวศวิทยา
แต่..เร่งรัดกระบวนการปรับเปลี่ยนสังคมให้ทันสมัย โดยไว้วางใจวิทยาศาสตร ์บริสุทธิ์
เพียงอย่างเดียว ละเลย..ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การปรับเปลี่ยนมุมมองในปัจจุบัน
ผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร ์สมัยใหม่ผนวกกันกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ให้ความสาคัญกับนิเวศวิทยาท้องถิ่นหรือชาวบ้าน
มีธรรมเนียมการจัดการแบบดั้งเดิม
มีการเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาที่อิงการสังเกตและการทดลองหลายชั่วอายุคน
การพัฒนาที่ยั่งยืน
มิติทางวัฒนธรรมเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมาธิการโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา เสนอความคิดรวบยอดไว้ 8
ประเด็น
พึงสร ้างความเข้าใจร่วมกันใหม่ว่า การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น มีความหมายรวมถึงการ
บารุงรักษาสิ่งแวดล้อม การหามาทดแทน การทาให้สินทรัพย์ในการลงทุนงอกเงยเพิ่มขึ้น
ทั้งด้านกายภาพและทรัพยากรมนุษย์
ให้ถือว่า “การศึกษา” จะช่วยให้มนุษย์มีความรู้ทางด้านเทคนิค การจัดการบริหารและ
เผยแพร่ ให้ตระหนักรู้ความสามารถของมนุษย์ในเรื่องการประดิษฐ ์คิดค้น และความคิด
สร ้างสรรค์สิ่งมาทดแทนทรัพยากรธรรมชาติที่สูญสลายไป
หลีกเลี่ยงการสร ้างมลพิษทางอากาศ น้า และดิน หลีกเลี่ยงการนาทรัพยากรที่สูญสิ้น
แล้วในบางประเภทมาใช ้ใหม่ แต่ควรลงทุนหาสิ่งมาทดแทนให้ได้ เพื่อรักษาฐานการผลิต
ที่จรรโลงความเป็ นอยู่ที่ดีของมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน
สร ้างระบบที่มีทั้งความหลากหลายละยืดหยุ่นพอที่จะปรับตัวให้สามารถรองรับวิกฤติต่าง
ๆ ได้ ในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพยากร ภูมิปัญญาชาวบ้าน และความหลากหลายทางชีวภาพ
เป็ นต้น
หลีกเลี่ยงการสร ้างภาระเกี่ยวกับหนี้สินทั้งภายในและภายนอกให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพราะ
เป็ นเสมือนการทาลายทรัพยากรมนุษย์ในความหมายของ”มนุษยชาติ”
การพัฒนาสิ่งแวดแล้อมเพื่อความยั่งยืนต้องมีองค์ประกอบความยั่งยืนทั้งด้านการคลัง
การบริหาร และการเมือง
การฝึกอบรมบุคลากรในประเทศให้มีสมรรถภาพทางเทคโนโลยี การบริหารและการ
จัดการ
ความใส่ใจและสนใจเป็ นพิเศษกับความยั่งยืนทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ์
การพัฒนาที่ยั่งยืน
สิ่งแวดล้อมชุมชนที่มีอิทธิพลต่อการอยู่ดีมีสุขของประชาชนในชุมชน
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรม
ด้านการบริหารจัดการสาธารณะและการมีส่วนร่วมของประชาชน
การพัฒนาที่ยั่งยืน
แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยเน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเป็ นสาคัญ
นั้น นิยมคานึงถึงองค์ประกอบที่สาคัญสู่การพัฒนา 4 ส่วนคือ
มิติทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ
มิติทางการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
มิติการส่งเสริมบทบาทของกลุ่มต่าง ๆ ที่สาคัญ และ
วิธีการดาเนินงาน
การพัฒนาเศรษฐกิจจะต้องผสมผสานควบคู่กันไปกับการพัฒนาและความห่วงใย
สิ่งแวดล้อม
การใช ้พลังงานฟุ่มเฟือย เกิดการสูญพันธุ์พืชและสัตว์การปล่อยของเสียและมลพิษ
จะต้องมีการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากมีผลกระทบอย่างเฉียบพลันต่อสุขภาพ
มนุษย์มีความเท่าเทียมกันในอันที่จะดารงชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
การพัฒนาที่ยั่งยืน
การวิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม

More Related Content

Viewers also liked

การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
FURD_RSU
 
Papa John Pizza Strategic Management
Papa John Pizza Strategic ManagementPapa John Pizza Strategic Management
Papa John Pizza Strategic Management
Riska Kusuma Wardhani
 
Trends and methods of educational research in the uk
Trends and methods of educational research in the ukTrends and methods of educational research in the uk
Trends and methods of educational research in the uk
memogreat
 

Viewers also liked (10)

Community enterprise 4
Community enterprise 4Community enterprise 4
Community enterprise 4
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
Creative Practice Theory and Feature Film Screenwriting - JT Velikovsky
Creative Practice Theory and Feature Film Screenwriting -  JT VelikovskyCreative Practice Theory and Feature Film Screenwriting -  JT Velikovsky
Creative Practice Theory and Feature Film Screenwriting - JT Velikovsky
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Papa John Pizza Strategic Management
Papa John Pizza Strategic ManagementPapa John Pizza Strategic Management
Papa John Pizza Strategic Management
 
Trends and methods of educational research in the uk
Trends and methods of educational research in the ukTrends and methods of educational research in the uk
Trends and methods of educational research in the uk
 

Similar to การพัฒนาที่ยั่งยืน 1 (6)

ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 

การพัฒนาที่ยั่งยืน 1