SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
โครงสร้างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม สาหรับธรรมศึกษาชั้นโท
___________สุภาษิตบทตั้ง____________
______________คาแปล_______________
บัดนี้จักได้อธิบายขยายเนื้อความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น
พอเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและนาไปปฏิบัติสืบต่อไป
________(อธิบายสภุาษิตบทตั้ง ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) _________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต
ที่มาใน______________ว่า
__________สุภาษิตเชื่อม ๑___________
_____________คาแปล________________
________(อธิบายสภุาษิตเชื่อม ๑ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต
ที่มาใน______________ว่า
__________สุภาษิตเชื่อม ๒___________
_____________คาแปล________________
________(อธิบายสภุาษิตเชื่อม ๒ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
สรุปความว่า_______(สรุปความประมาณ ๕-๗ บรรทัดขึ้นไป)______________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
____________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ยกขึ้น
เป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า
___________สุภาษิตบทตั้ง____________
______________คาแปล_______________
มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
๕ จุดสาคัญในโครงสร้างกระทู้
๑. บัดนี้จักได้อธิบายขยายเนื้อความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็นแนวทางแห่ง
การศึกษาและนาไปปฏิบัติสืบไป
๒. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน………………ว่า (ตรง ….ให้เขียนที่มาของสุภาษิตเชื่อม)
๓. สุภาษิตเชื่อม/คาแปล และที่มา (เช่น ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท)
๔. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ยกขึ้นเป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า
๕. มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้
เวลาเขียน
๑. ให้เขียนเว้นบรรทัด (ทุกหน้า ตั้งแต่บรรทัดแรก จนถึงบรรทัดสุดท้าย)
๒. ห้ามใช้ปากกาแดงเขียนไม่ว่ากรณีใดๆ ให้ใช้เฉพาะปากกาน้าเงินและดา เท่านั้น
๓. จะต้องเขียนตามโครงสร้างกระทู้ธรรมชั้นตรี (ทุกจุด) ให้ถูกต้อง
หลักปฏิบัติในการสอบธรรมสนามหลวง วิชา กระทู้ธรรม
๑. แต่งตามกระทู้ธรรมสุภาษิตที่กาหนดให้
๒. อธิบายเนื้อความกระทู้ธรรมสุภาษิตนั้นให้สมเหตุสมผล
๓. อ้างสุภาษิตบทอื่น (สุภาษิตเชื่อม) พร้อมทั้งบอกที่มา มาอธิบายประกอบด้วย
ตามสุภาษิตในหนังสือพุทธศาสนสุภาษิต โดยกาหนดให้ชั้นตรี ใช้๑ สุภาษิต ชั้นโท ใช้๒ สุภาษิต และชั้นเอก ใช้
๓ สุภาษิต
๔. เชื่อมความระหว่างสุภาษิตที่นามาเชื่อมกับสุภาษิตบทตั้งให้สนิทติดต่อสมเรื่องกันด้วยเหตุผล
๕. ให้เขียนลงในกระดาษ โดยกาหนดให้ชั้นตรี กาหนด ๒ แผ่นขึ้นไป ชั้นโท กาหนด ๓ แผ่นขึ้นไป
และชั้นเอก กาหนด ๔ แผนขึ้นไป
การตรวจกระทู้ธรรมสนามหลวง สาหรับกรรมการพิจารณาให้คะแนน
๑. แต่งได้ตามกาหนด
๒. อ้างกระทู้ได้ตามกฎ
๓. เชื่อมกระทู้ได้ดี
๔. อธิบายความสมกับกระทู้ที่ได้ตั้งไว้
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
๕. ใช้สานวนสุภาพเรียบร้อย
๖. ใช้ตัวสะกดการันต์ถูกเป็นส่วนมาก
๗. สะอาดไม่เปรอะเปื้อน วิธีตรวจนี้ ให้ใช้เฉพาะในการสอบธรรมสนามหลวง
พุทธศาสนสุภาษิต
สาหรับธรรมศึกษา ชั้นโท
หมวดตน
อตฺตทตฺถ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย
อตฺตทตฺถมภิญฺญาย สทตฺถปสุโต สิยา
บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก
รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน
ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท
อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรายถญฺญมนุสาสติ
สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทาตนฉันนั้น
ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกยาก
ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท
อตฺตานเมว ปฐม ปฏิรูเป นิเวสเย
อถญฺญมนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง
ขุททกนิกาย ธรรมบท
หมวดกรรม
ยาทิส วปเต พีช ตาทิส ลภเต ผล
กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ทากรรมดี
ย่อมได้ผลดี ผู้ทากรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว
ที่มา สงฺยุตฺตนิกาย สคาถวคฺค
โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ
อตฺถา ตสฺส ปลุชฺชนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา
ผู้ใด อันผู้อื่นทาความดี ทาประโยชน์ให้ในกาลก่อน
แต่ไม่รู้สึก (คุณของเขา) ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมฉิบหาย
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก สตฺตกนิปาต
โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ มนุพุชฺฌติ
อตฺถา ตสฺส ปวฑฺฒนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา
ผู้ใด อันผู้อื่นทาความดี ทาประโยชน์ให้ในกาลก่อน
ย่อมสานึก (คุณของเขา) ได้ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมเจริญ
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก สตฺตกนิปาต
โย ปุพฺเพ กรณียานิ ปจฺฉา โส กาตุมิจฺฉติ
วรุณกฏฺฐ ภญฺโชว ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ
ผู้ใด ปรารถนาทากิจที่ควรทาก่อนในภายหลัง ผู้นั้น ย่อมเดือดร้อนในภายหลัง
ดุจมาณพ (ผู้ประมาทแล้วรีบ) หักไม้กุ่มฉะนั้น
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก เอกนิปาต
หมวดขันติ
ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา
ปิโย เทวมนุสฺสาน มนาโป โหติ ขนฺติโก
ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ
ผู้มีขันติเป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
ที่มา สวดมนต์ฉบับหลวง
สตฺถุโน วจโนวาท กโรติเยว ขนฺติโก
ปรมาย จ ปูชาย ชิน ปูเชติ ขนฺติโก
ผู้มีขันติ ชื่อว่าทาตามคาสอนของพระศาสดา
และผู้มีขันติชื่อว่าบูชาพระชินเจ้าด้วยบูชาอันยิ่ง
ที่มา สวดมนต์ฉบับหลวง
สีลสมาธิคุณาน ขนฺติ ปธานการณ
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต
ขันติเป็นประธาน เป็นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ
กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญ เพราะขันติเท่านั้น
ที่มา สวดมนต์ฉบับหลวง
หมวดปัญญา
ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา
ปญฺญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ
ถึงสิ้นทรัพย์ ผู้มีปัญญาก็เป็นอยู่ได้
แต่อับปัญญาแม้มีทรัพย์ก็เป็นอยู่ไม่ได้
ที่มา ขุทฺทกนิกาย เถรคาถา
ปญฺญวา พุทฺธิสมฺปนฺโน วิธานวิธิโกวิโท
กาลญฺญู สมยญฺญู จ ส ราชวสตึ วเส
ผู้มีปัญญา ถึงพร้อมด้วยความรู้
ฉลาดในวิธีจัดการงานรู้กาลและรู้สมัยเขาพึงอยู่ในราชการได้
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก มหานิปาต
ปญฺญา หิ เสฏฺฐา กุสลา วทนฺติ
นกฺขตฺตราชาริว ตารกาน
สีล สิรี จาปิ สตญฺจ ธมฺโม
อนฺวายิกา ปญฺญวโต ภวนฺติ
คนฉลาดกล่าวว่า ปัญญาประเสริฐ เหมือนพระจันทร์ประเสริฐกว่าดาวทั้งหลาย
แม้ศีลสิริและธรรมของสัตบุรุษย่อมไปตามผู้มีปัญญา
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก จตฺตาฬีสนิปาต
หมวดคบหา
อสนฺเต นูปเสเวยฺย สนฺเต เสเวยฺย ปณฺฑิโต
อสนฺโต นิรย เนนฺติ สนฺโต ปาเปนฺติ สุคตึ
บัณฑิตไม่พึงคบอสัตบุรุษ พึงคบสัตบุรุษ
เพราะอสัตบุรุษย่อมนาไปสู่นรก สัตบุรุษย่อมให้ถึงสุคติ
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก วีสตินิปาต
ตคร ว ปลาเสน โย นโร อุปนยฺหติ
ปตฺตาปิ สุรภี วายนฺติ เอว ธีรูปเสวนา
คนห่อกฤษณาด้วยใบไม้แม้ใบไม้ก็หอมไปด้วยฉันใด
การคบกับนักปราชญ์ ก็ฉันนั้น
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก วีสตินิปาต
น ปาปชนสเสวี อจฺจนฺตสุขเมธติ
โคธากุล กกณฺฏาว กลึ ปาเปติ อตฺตน
วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์
จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง
ผู้คบคนชั่ว ย่อมถึงความสุขโดยส่วนเดียวไม่ได้
เขาย่อมยังตนให้ประสบโทษ เหมือนกิ้งก่าเข้าฝูงเหี้ยฉะนั้น
ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก เอกนิปาต

More Related Content

What's hot

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn999
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
teerachon
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 

What's hot (20)

แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 

More from Theeraphisith Candasaro

More from Theeraphisith Candasaro (20)

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
 
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATEแผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
 
e-Donatin
e-Donatine-Donatin
e-Donatin
 
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อคู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
 
คำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศลคำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศล
 
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
 
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคคำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
 
หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
Put the right man on the right job
Put the right man on the right jobPut the right man on the right job
Put the right man on the right job
 
ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์
 
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติโครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
สารัตถะ ชีวิต
สารัตถะ ชีวิตสารัตถะ ชีวิต
สารัตถะ ชีวิต
 

กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท

  • 1. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง โครงสร้างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม สาหรับธรรมศึกษาชั้นโท ___________สุภาษิตบทตั้ง____________ ______________คาแปล_______________ บัดนี้จักได้อธิบายขยายเนื้อความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและนาไปปฏิบัติสืบต่อไป ________(อธิบายสภุาษิตบทตั้ง ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) _________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต ที่มาใน______________ว่า __________สุภาษิตเชื่อม ๑___________ _____________คาแปล________________ ________(อธิบายสภุาษิตเชื่อม ๑ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต ที่มาใน______________ว่า __________สุภาษิตเชื่อม ๒___________ _____________คาแปล________________ ________(อธิบายสภุาษิตเชื่อม ๒ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________
  • 2. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง สรุปความว่า_______(สรุปความประมาณ ๕-๗ บรรทัดขึ้นไป)______________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ยกขึ้น เป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า ___________สุภาษิตบทตั้ง____________ ______________คาแปล_______________ มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้
  • 3. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง ๕ จุดสาคัญในโครงสร้างกระทู้ ๑. บัดนี้จักได้อธิบายขยายเนื้อความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็นแนวทางแห่ง การศึกษาและนาไปปฏิบัติสืบไป ๒. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน………………ว่า (ตรง ….ให้เขียนที่มาของสุภาษิตเชื่อม) ๓. สุภาษิตเชื่อม/คาแปล และที่มา (เช่น ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท) ๔. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ยกขึ้นเป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า ๕. มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้ เวลาเขียน ๑. ให้เขียนเว้นบรรทัด (ทุกหน้า ตั้งแต่บรรทัดแรก จนถึงบรรทัดสุดท้าย) ๒. ห้ามใช้ปากกาแดงเขียนไม่ว่ากรณีใดๆ ให้ใช้เฉพาะปากกาน้าเงินและดา เท่านั้น ๓. จะต้องเขียนตามโครงสร้างกระทู้ธรรมชั้นตรี (ทุกจุด) ให้ถูกต้อง หลักปฏิบัติในการสอบธรรมสนามหลวง วิชา กระทู้ธรรม ๑. แต่งตามกระทู้ธรรมสุภาษิตที่กาหนดให้ ๒. อธิบายเนื้อความกระทู้ธรรมสุภาษิตนั้นให้สมเหตุสมผล ๓. อ้างสุภาษิตบทอื่น (สุภาษิตเชื่อม) พร้อมทั้งบอกที่มา มาอธิบายประกอบด้วย ตามสุภาษิตในหนังสือพุทธศาสนสุภาษิต โดยกาหนดให้ชั้นตรี ใช้๑ สุภาษิต ชั้นโท ใช้๒ สุภาษิต และชั้นเอก ใช้ ๓ สุภาษิต ๔. เชื่อมความระหว่างสุภาษิตที่นามาเชื่อมกับสุภาษิตบทตั้งให้สนิทติดต่อสมเรื่องกันด้วยเหตุผล ๕. ให้เขียนลงในกระดาษ โดยกาหนดให้ชั้นตรี กาหนด ๒ แผ่นขึ้นไป ชั้นโท กาหนด ๓ แผ่นขึ้นไป และชั้นเอก กาหนด ๔ แผนขึ้นไป การตรวจกระทู้ธรรมสนามหลวง สาหรับกรรมการพิจารณาให้คะแนน ๑. แต่งได้ตามกาหนด ๒. อ้างกระทู้ได้ตามกฎ ๓. เชื่อมกระทู้ได้ดี ๔. อธิบายความสมกับกระทู้ที่ได้ตั้งไว้
  • 4. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง ๕. ใช้สานวนสุภาพเรียบร้อย ๖. ใช้ตัวสะกดการันต์ถูกเป็นส่วนมาก ๗. สะอาดไม่เปรอะเปื้อน วิธีตรวจนี้ ให้ใช้เฉพาะในการสอบธรรมสนามหลวง พุทธศาสนสุภาษิต สาหรับธรรมศึกษา ชั้นโท หมวดตน อตฺตทตฺถ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย อตฺตทตฺถมภิญฺญาย สทตฺถปสุโต สิยา บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรายถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทาตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกยาก ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท อตฺตานเมว ปฐม ปฏิรูเป นิเวสเย อถญฺญมนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง ขุททกนิกาย ธรรมบท หมวดกรรม ยาทิส วปเต พีช ตาทิส ลภเต ผล กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก
  • 5. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ทากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทากรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว ที่มา สงฺยุตฺตนิกาย สคาถวคฺค โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ อตฺถา ตสฺส ปลุชฺชนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา ผู้ใด อันผู้อื่นทาความดี ทาประโยชน์ให้ในกาลก่อน แต่ไม่รู้สึก (คุณของเขา) ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมฉิบหาย ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก สตฺตกนิปาต โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ มนุพุชฺฌติ อตฺถา ตสฺส ปวฑฺฒนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา ผู้ใด อันผู้อื่นทาความดี ทาประโยชน์ให้ในกาลก่อน ย่อมสานึก (คุณของเขา) ได้ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมเจริญ ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก สตฺตกนิปาต โย ปุพฺเพ กรณียานิ ปจฺฉา โส กาตุมิจฺฉติ วรุณกฏฺฐ ภญฺโชว ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ ผู้ใด ปรารถนาทากิจที่ควรทาก่อนในภายหลัง ผู้นั้น ย่อมเดือดร้อนในภายหลัง ดุจมาณพ (ผู้ประมาทแล้วรีบ) หักไม้กุ่มฉะนั้น ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก เอกนิปาต หมวดขันติ ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา ปิโย เทวมนุสฺสาน มนาโป โหติ ขนฺติโก ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ ผู้มีขันติเป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
  • 6. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง ที่มา สวดมนต์ฉบับหลวง สตฺถุโน วจโนวาท กโรติเยว ขนฺติโก ปรมาย จ ปูชาย ชิน ปูเชติ ขนฺติโก ผู้มีขันติ ชื่อว่าทาตามคาสอนของพระศาสดา และผู้มีขันติชื่อว่าบูชาพระชินเจ้าด้วยบูชาอันยิ่ง ที่มา สวดมนต์ฉบับหลวง สีลสมาธิคุณาน ขนฺติ ปธานการณ สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต ขันติเป็นประธาน เป็นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญ เพราะขันติเท่านั้น ที่มา สวดมนต์ฉบับหลวง หมวดปัญญา ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา ปญฺญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ ถึงสิ้นทรัพย์ ผู้มีปัญญาก็เป็นอยู่ได้ แต่อับปัญญาแม้มีทรัพย์ก็เป็นอยู่ไม่ได้ ที่มา ขุทฺทกนิกาย เถรคาถา ปญฺญวา พุทฺธิสมฺปนฺโน วิธานวิธิโกวิโท กาลญฺญู สมยญฺญู จ ส ราชวสตึ วเส ผู้มีปัญญา ถึงพร้อมด้วยความรู้ ฉลาดในวิธีจัดการงานรู้กาลและรู้สมัยเขาพึงอยู่ในราชการได้
  • 7. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก มหานิปาต ปญฺญา หิ เสฏฺฐา กุสลา วทนฺติ นกฺขตฺตราชาริว ตารกาน สีล สิรี จาปิ สตญฺจ ธมฺโม อนฺวายิกา ปญฺญวโต ภวนฺติ คนฉลาดกล่าวว่า ปัญญาประเสริฐ เหมือนพระจันทร์ประเสริฐกว่าดาวทั้งหลาย แม้ศีลสิริและธรรมของสัตบุรุษย่อมไปตามผู้มีปัญญา ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก จตฺตาฬีสนิปาต หมวดคบหา อสนฺเต นูปเสเวยฺย สนฺเต เสเวยฺย ปณฺฑิโต อสนฺโต นิรย เนนฺติ สนฺโต ปาเปนฺติ สุคตึ บัณฑิตไม่พึงคบอสัตบุรุษ พึงคบสัตบุรุษ เพราะอสัตบุรุษย่อมนาไปสู่นรก สัตบุรุษย่อมให้ถึงสุคติ ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก วีสตินิปาต ตคร ว ปลาเสน โย นโร อุปนยฺหติ ปตฺตาปิ สุรภี วายนฺติ เอว ธีรูปเสวนา คนห่อกฤษณาด้วยใบไม้แม้ใบไม้ก็หอมไปด้วยฉันใด การคบกับนักปราชญ์ ก็ฉันนั้น ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก วีสตินิปาต น ปาปชนสเสวี อจฺจนฺตสุขเมธติ โคธากุล กกณฺฏาว กลึ ปาเปติ อตฺตน
  • 8. วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม (สาหรับธรรมศึกษา) รวบรวมโดย พระปลัดธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร เลข.จอ.บ้านฉาง ผู้คบคนชั่ว ย่อมถึงความสุขโดยส่วนเดียวไม่ได้ เขาย่อมยังตนให้ประสบโทษ เหมือนกิ้งก่าเข้าฝูงเหี้ยฉะนั้น ที่มา ขุทฺทกนิกาย ชาตก เอกนิปาต