SlideShare a Scribd company logo
1 of 93
Download to read offline
1 
หน่วยที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช 
 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหมายถึง สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว มีสมบัติในการดารงชีวิตเหมือน สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ 
 สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ 
 เซลล์ เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลา ซึมและนิวเคลียส 
 เครื่องมือช่วยขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทางตา เช่น แว่นขยาย ใช้สาหรับดูวัตถุที่ขนาดเล็ก ให้เห็นขนาดขยายขึ้น กล้องจุลทรรศน์ให้สาหรับดูวัตถุที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นให้มีขนาดใหญ่ เป็นต้น 
 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนี้ 
ตาราง เปรียบเทียบลักษณะเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 
 ต้นไม้ประกอบด้วย ราก ลาต้น ใบ และดอก 
 รากมีหน้าที่ดูดน้าและธาตุอาหาร โดยใช้ขนราก ลาต้นชูใบและดอก ใบสังเคราะห์ 
ด้วยแสง ดอกสร้างเมล็ดเพื่อสืบพันธุ์ 
 การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีโมเลกุลของสารนั้น มากไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของสารนั้นน้อย 
 การออสโมซิส (osmosis) หมายถึง การแพร่ของน้า โดยผ่านเยื่อเลือกผ่าน 
 อนุภาคน้าเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ขนรากโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ด้วยวิธีออสโมซิส ส่วน 
ธาตุอาหารเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีการแพร่ 
6. ไซโทพลาซึม มี มี 
5. นิวเคลียส มี มี 
4.คลอโรพลาสต์ มี ไม่มี 
3. เยื่อหุ้มเซลล์ มี มี 
2. ผนังเซลล์ มี ไม่มี 
1. รูปร่าง สี่เหลี่ยม กลม 
ส่วนประกอบ เซลล์พืช เซลล์สัตว์
2 
 เนื้อเยื่อลาเลียงน้า หรือไซเล็ม (xylem) ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและธาตุอาหารจากดินขึ้นสู่ใบเพื่อสร้าง อาหาร 
 เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร หรือโฟลเอ็ม (phloem) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารที่สร้างจากใบ 
ไปเลี้ยงเซลล์ทั่วลาต้นพืช 
 ปัจจัยที่มีผลต่อการลาเลียงน้าของพืช ได้แก่ การคายน้าของพืช อุณหภูมิ ปริมาณน้าในดิน ความชื้น ในอากาศ และแสงแดด 
 การสืบพันธุ์ของพืช แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 
1. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่อาศัยเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียผสมกันทาให้ ได้เมล็ดและงอกเป็นต้นใหม่ได้ 
2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ สามารถใช้ ส่วนต่าง ๆ ของพืชทาการขยายพันธุ์ได้ เช่น ใบของต้นตายใบเป็น ลาต้นของขิง หรือใช้วิธีการ ขยายพันธุ์พืชโดยการติดตา การตอน การโคลน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น 
 การถ่ายเรณู (pollination) คือ การที่ละอองเรณูของเกสรเพศผู้ตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย โดยอาศัย ลม แมลง น้า และการกระทาของมนุษย์ 
 การปฏิสนธิ (fertilization) คือ การที่นิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ผสมกับนิวเคลียสของออวุลใน รังไข่ 
 ดอกไม้ประกอบด้วยกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย 
 ดอกไม้แต่ละชนิดมีลักษณะและส่วนประกอบแตกต่างกัน 
- ดอกครบส่วน หมายถึง ดอกไม้ที่มีส่วนประกอบครบ 4 ส่วน 
- ดอกไม่ครบส่วน หมายถึง ดอกไม้ที่มีส่วนประกอบไม่ครบ 4 ส่วน 
- ดอกสมบูรณ์เพศ หมายถึง ดอกไม้ที่มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย 
- ดอกไม่สมบูรณ์เพศ หมายถึง ดอกไม้ที่มีเฉพาะเกสรเพศผู้ หรือเกสรเพศเมียเพียงอย่างเดียว 
 พืชมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ เช่น แสง อุณหภูมิ การสัมผัส ฮอร์โมน เป็นต้น เพื่อการดารงชีวิต ของพืช 
 ปัจจัยที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟิลล์ และน้า 
 สมการของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (การสร้างอาหารของพืช) 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้า น้าตาล + แก๊สออกซิเจน + น้า 
 เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตั้งแต่การ ขยายพันธุ์สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของพืช เช่น การโคลน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุวิศวกรรม จีเอ็ม เป็นต้น 
แสง 
คลอโรฟิลล์ 
แป้ง
3 
แบบฝึกหัดที่ชุดที่ 1 
ตอนที่ 1 จงตอบคาถามให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 
1. อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษามีส่วนประกอบของเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ คือ .............................................. 
2. หากเราต้องการให้ภาพที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดใหญ่ขึ้น ทาได้โดย.................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
3. เมื่อดูจุลินทรีย์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 30 เท่า และเลนส์ใกล้วัตถุที่มี 
กาลังขยาย 80 เท่า เราจะมองเห็นภาพจุลินทรีย์ขนาด 240 มิลลิไมครอน แสดงว่าขนาดของจุลินทรีย์เท่ากับ 
...................................... มิลลิไมครอน 
4. เซลล์พืชต่างจากเซลล์สัตว์ คือ........................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
5. นิวเคลียสมีหน้าที่.............................................................................................................................................. 
6. เยื่อเลือกผ่าน คือ ............................................................................................................................................... 
และทาหน้าที่.................................................................................................................................................... 
7. ส่วนประกอบใดของเซลล์ที่มีหน้าที่สาคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช.................................... 
8. แก๊สออกซิเจนในกระบลวนการหายใจของพืชใช้วิธี..............................................................ในการเข้าสู่เซลล์ 
9. การที่สารละลายภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลายภายในเซลล์ เรียกว่า...................................... 
10. เครื่องมือที่ใช้วัดแรงดันที่เกิดจากกระบวนการออสโมซิส คือ ....................................................................... 
ตอนที่ 2 จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่อง × หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง 
............ 1. นิวเคลียสมีหน้าที่ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต และควบคุมกระบวนการ 
เมแทบอลิซึมของเซลล์ 
............ 2. สัตว์สามารถสร้างอาหารได้เอง 
............ 3. เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต 
............ 4. คลอโรพลาสต์เป็นออร์แกเนลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 
............ 5. เยื่อหุ้มเซลล์พบได้ทั้งเซลล์พืชและและเซลล์สัตว์ 
............ 6. ขนาดของภาพที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดเล็กกว่าขนาดของวัตถุเสมอ 
............ 7. เซลล์คุมเป็นเซลล์พิเศษที่พบเฉพาะในเซลล์สัตว์เท่านั้น 
............ 8. น้าในดินจะเข้าสู่เซลล์ขนรากของพืชได้โดยวิธีการแพร่ 
............ 9. การคายน้ามีผลต่อการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช 
............ 10. แรงดันเต่งในเซลล์พืช เกิดจากการที่น้าในเซลล์ออสโมซิสออกสู่ภายนอกเซลล์
4 
แบบฝึกหัดชุดที่ 2 
ตอนที่ 1 จงตอบคาถามให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 
1. การสังเคราะห์ด้วยแสงคือ.................................................................................................................................. 
2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ ................................................................................................. 
........................................................................................................................................................................... 
3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ ............................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
4. หน้าที่ของคลอโรฟิลล์ในคลอโรพลาสต์ คือ .................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
5. สารเริ่มต้นในการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ .................................................................................................... 
6. พืชลาเลียงน้าและแร่ธาตุไปยังส่วนต่างๆ ของพืช โดย...................................................................................... 
7. กระบวนการคายน้าจะเกิดขึ้นที่.......................................................................................................................... 
8. กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการคายน้าของพืช คือ ............................................................................................ 
9. ทิศทางการลาเลียงอาหารของพืช คือ ................................................................................................................ 
10. พืชลาเลียงอาหารจากใบสู่ส่วนต่างๆ ของพืชโดย ........................................................................................... 
11. กระบวนการที่พืชใช้ในการดูดซึมแร่ธาตุต่างๆ เข้าสู่รากของพืช คือ .............................................................. 
12. พืชบางชนิดมีการผลัดใบในฤดูหนาวเพื่อ........................................................................................................
5 
หน่วยที่ 2 สารและสมบัติของสาร 
 สมบัติของสาร คือ ลักษณะเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด ซึ่งสามารถจาแนกสมบัติของสารได้ 2 ประเภท คือ 1. สมบัติทางกายภาพ เป็นสมบัติที่บ่งบอกถึงลักษณะภายนอก ซึ่งสามารถทดสอบและสังเกตได้ง่าย ๆ เช่น ลักษณะ เนื้อสาร สถานะ สี จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความแข็ง เป็นต้น และ 2. สมบัติทางเคมี เป็นสมบัติที่ใช้ปฏิกิริยาเคมี เป็นตัวบ่งชี้ เช่น การติดไฟ การเกิดสนิม เป็นต้น 
 การจาแนกประเภทของสาร สามารถจาแนกสารออกเป็นกลุ่ม ๆ ตามสถานะ เนื้อสาร หรือเกณฑ์อื่นที่ กาหนดขึ้น การจาแนกประเภทสารสามารถจาแนกได้หลายแบบขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ 
 การจาแนกประเภทสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์ จาแนกได้เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งสาร แต่ละสถานะมีสมบัติ (ความหนาแน่น การรักษารูปทรง ปริมาตร การไหล การแพร่) แตกต่างกัน 
 พลังงานกับการเปลี่ยนสถานะของสาร 
1. การเปลี่ยนสถานะที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน ได้แก่ ของเหลว เรียก การ หลอมเหลว 
1) ของแข็งเปลี่ยนสถานะไปเป็นของเหลว เรียก การหลอมเหลว 
2) ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นแก๊ส เรียก การเดือด / การระเหย 
3) ของแข็งเปลี่ยนสถานะไปเป็นแก๊ส เรียก การระเหิด 
2. การเปลี่ยนสถานะที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน ได้แก่ 
1) แก๊สเปลี่ยนสถานะไปเป็นของเหลว เรียก การควบแน่น 
2) ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นของแข็ง เรียก การเยือกแข็ง 
3) แก๊สเปลี่ยนสถานะไปเป็นของแข็ง เรียก การควบแน่น 
 จุดหลอมเหลว คืออุณหภูมิขณะที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว 
 จุดเยือกแข็ง คือ อุณหภูมิขณะที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง 
 จุดเดือด คือ อุณหภูมิขณะที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส 
 จุดควบแน่น คือ อุณหภูมิขณะที่แก๊สเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว 
 การจาแนกประเภทสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ จาแนกสารได้เป็น 2 ประเภท คือ สารเนื้อ ผสม และสารเนื้อเดียว 
- สารเนื้อผสม (heterogeneous substance) คือ สารที่ลักษณะเนื้อสารไม่กลมกลืนกัน เช่น น้าแป้งดิบ น้า โคลน เป็นต้น 
- สารเนื้อเดียว (homogeneous substance) คือ สารที่มีลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน จาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ สารบริสุทธิ์ และสารละลาย
6 
 การจาแนกประเภทสารโดยใช้อนุภาคเป็นเกณฑ์ จาแนกสารได้เป็น 3 ประเภท 
คือ สารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอย 
- สารละลาย (solute) คือ สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมรวมกัน โดยอัตราส่วนของ การผสมไม่คงที่ เช่น น้าเกลือ น้าหวาน เป็นต้น 
- คอลลอยด์ (colliod) คือ ของผสมที่มีลักษณะขุ่น ประกอบด้วย อนุภาคของสาร 
ชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดลอยกระจายอยู่ในตัวกลาง เช่น น้านม เจลลี น้าสลัด ฝุ่นละอองในอากาศ เป็นต้น 
- สารแขวนลอย (suspension) คือ สารเนื้อผสมที่มองเห็นอนุภาคของสารชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดลอย กระจายอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งที่เป็นตัวกลาง เมื่อทิ้งไว้จะตกตะกอนและสามารถแยก 
สารที่แขวนลอยอยู่ในสารเนื้อผสมออกมาได้โดยการกรอง เช่น น้าแป้ง น้าโคลน เป็นต้น 
ตาราง ขนาดอนุภาคและสมบัติของสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอย 
 สารละลาย หมายถึง สารที่ได้จากสาร 2 ชนิดขึ้นไปมาละลายรวมเป็นเนื้อเดียวกัน 
โดยไม่สามารถใช้การสังเกตด้วยตาเปล่า แล้วบอกว่าสารใดเป็นสารใด 
 สารละลายประกอบด้วยตัวทาละลายและตัวละลาย ในการบ่งชี้ว่าสารใดเป็นตัวทาละลาย และสารใด เป็นตัวละลาย พิจารณาสิ่งต่างๆ ดังนี้ 
1. ตัวทาละลายและตัวละลายมีสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า ตัวละลาย 
สารที่มีปริมาณมากกว่า เรียกว่า ตัวทาละลาย 
2. ตัวทาละลายและตัวละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มีสถานะเหมือนกับสารละลายจัดว่าเป็นตัวทา ละลาย สารที่มีสถานะต่างไปจัดว่าเป็นตัวละลาย 
 สมบัติในการละลายของสาร ได้แก่ 
1. ความสามารถในการละลายของสาร ขึ้นกับชนิดของตัวทาละลายและตัวละลาย 
2. สารชนิดเดียวกันละลายในตัวทาละลายต่างชนิดกันได้ต่างกัน 
3. สารต่างชนิดกันละลายในตัวทาละลายชนิดเดียวกันได้ต่างกัน 
 ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร ได้แก่ ชนิดของตัวทาละลาย ชนิดของตัวละลาย อุณหภูมิ และ ความดัน 
 ความเข้มข้นของสารละลาย หมายถึง ปริมาณของตัวทาละลายในสารละลาย นิยมบอกความเข้มข้น ของสารละลายเป็นปริมาตร หรือมวลของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 
ขนาดอนุภาค 
(เส้นผ่านศูนย์กลาง) 
ไม่ผ่านทั้งกระดาษกรอง 
และเซลโลเฟน 
น้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร 10-7 - 10-4 เซนติเมตร มากกว่า 10-4 เซนติเมตร 
ผ่านได้เฉพาะ 
กระดาษกรอง 
ผ่านได้ทั้งกระดาษกรอง 
และเซลโลเฟน 
ผลการทดสอบ 
ด้วยการกรอง 
ชนิดของของผสม สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย
7 
- สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายมาก 
- สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายน้อย 
- สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายอยู่เต็มที่จนไม่สามารถ 
ละลายได้อีกที่อุณหภูมิขณะนั้น 
 หน่วยของความเข้มข้นของสารละลาย 
1. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร คือ มวลของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 เช่น น้าเชื่อมมีความ เข้มข้นร้อยละ 35 โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่า สารละลาย 100 cm3 
มีน้าตาลทรายละลายอยู่ 35 g 
2. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร คือปริมาตรของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 เช่นแอลกอฮอล์ มีความเข้มข้นร้อยละ 70 โดยปริมาตร หมายความว่า สารละลาย 100 cm3 มีเอทานอลอยู่ 70 cm3 
3. ร้อยละโดยมวลต่อมวล คือ มวลของตัวละลาย 100 g เช่น น้าเกลือมีความเข้มข้น 
ร้อยละ 30 โดยมวลต่อมวล หมายความว่า สารละลาย 100 g มีเกลือละลายอยู่ 30 g 
 การละลายของสาร จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนมาเกี่ยวข้อง โดยการละลายของสารบางชนิด หลังการละลายมีอุณหภูมิต่าลง จัดเป็นการละลายแบบดูดความร้อน และการละลายของสารบางชนิดหลังการ ละลายมีอุณหภูมิสูงขึ้น จัดเป็นการละลายแบบคายความร้อน 
 สารละลาย จาแนกออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้ความเป็นกรด – เบส เป็นเกณฑ์ในการจาแนก ดังนี้ 
1. สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นสีแดง แสดงว่า สารนั้นมีสมบัติเป็นกรด 
2. สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้าเงิน แสดงว่า สารนั้นมีสมบัติเป็นเบส 
3. สารที่ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสองสี แสดงว่า สารนั้นมีสมบัติเป็นกลาง 
 อุปกรณ์ที่ใช้บ่งชี้ความเป็นกรด – เบสของสาร เช่น กระดาษลิตมัส (litmus paper) 
กระดาษพีเอช (pH paper) พีเอช มิเตอร์ (pH meter) ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ (universal indicator) เป็นต้น 
 อินดิเคเตอร์ เป็นสารที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรด – เบสของสารละลาย เช่น เมทิลเรดเมทิลออเรนจ์ ฟีนอล์ฟทาลีน เป็นต้น 
 ค่า pH คือ การระบุระดับความเป็นกรด – เบสของสารละลาย โดยสารละลายที่มี pH ต่ากว่า 7 มี สมบัติเป็นกรด สารละลายที่มี pH เท่ากับ 7 มีสมบัติเป็นกลาง และสารละลายที่มี pH มากกว่า 7 มีสมบัติเป็น เบส
8 
ตาราง การเปรียบเทียบสมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบส 
สารละลาย 
1. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 
(ผงฟู) 
2. แคลเซียมไฮดรอกไซด์ 
(น้าปูนใส) 
3. โซเดียมไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ) 
4. น้าสบู่ 
1. กรดแอซีติก (น้าส้มสายชู) 
2. น้ายาล้างห้องน้า 
3. น้าอัดลม 
4. น้ามะนาว 
1. ทาปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม 
เกิดฟองแก๊ส และทาให้ 
อะลูมิเนียมผุกร่อน 
2. ทาปฏิกิริยากับแอมโมเนียม- 
ไนเตรตเกิดแก๊สที่มีกลิ่นฉุน 
คือ แก๊สแอมโมเนีย 
3. ทาปฏิกิริยากับน้ามันพืชหรือ 
น้ามันสัตว์จะได้สารประเภทสบู่ 
1. กระดาษลิตมัส เปลี่ยนสีจากสีน้าเงินเป็นสีแดง เปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีน้าเงิน 
กรด เบส 
สมบัติของสารละลาย 
5. ตัวอย่างสารในชีวิตประจาวัน 
4. การเกิดปฏิกิริยา 
1. ทาปฏิกิริยากับโลหะเกิดแก๊ส 
ไฮโดรเจนและทาให้โลหะ 
ผุกร่อน 
2. ทาปฏิกิริยากับหินปูนเกิดแก๊ส 
คาร์บอนไดออกไซด์ และทาให้ 
หินปูนผุกร่อน 
3. กัดกร่อนพลาสติก 
2. รสชาติ รสเปรี้ยว รสฝาด 
3. สารละลายฟีนอล์ฟทาลีน ไม่เปลี่ยนสี เปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสีชมพูเข้ม
9 
แบบฝึกหัดชุดที่ 1 
ตอนที่ 1 จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่อง × หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง 
……… 1. สารละลายเป็นสารเนื้อผสม 
……… 2. สารประกอบทุกชนิดเป็นสารบริสุทธิ์ 
……… 3. ธาตุทุกชนิดเป็นสารเนื้อเดียว 
……… 4. สารเนื้อเดียวทุกชนิดเป็นสารประกอบ 
……… 5. สารละลายบางชนิดเป็นธาตุ 
……… 6. โลหะเป็นธาตุชนิดหนึ่ง 
……… 7. สารละลายบางชนิดเป็นของผสม 
……… 8. สารบริสุทธิ์บางชนิดเป็นของผสม 
……… 9. สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย เป็นสารเนื้อผสม 
……… 10. สารละลายทุกชนิดเป็นสารเนื้อเดียว 
…….... 11. สารแขวนลอยเป็นสารเนื้อเดียวที่มีลักษณะขุ่นมัวหรือตกตะกอน 
……… 12. เมื่อผ่านลาแสงเล็กๆ เข้าไปในคอลลอยด์จะเห็นเป็นลาแสงเกิดจากการกระเจิงของแสง 
……… 13. อิมัลซิฟายเออร์ (emulsifier) เป็นสารที่เติมลงไปเพื่อทาหน้าที่เป็นตัวประสาน 
……… 14. สารประกอบของอิมัลชันในน้านมคือโปรตีนเคซีน 
……… 15. น้าส้มสายชูสามารถรวมตัวเป็นน้ามันพืชได้ 
……… 16. หมอกและน้ากะทิจัดเป็นคอลลอยด์ 
……… 17. สารละลายสามารถผ่านกระดาษกรอง แต่ไม่ผ่านกระดาษเซลโลเฟน 
……… 18. สารแขวนลอยคือสารที่มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่า 10-4 cm 
……… 19. คอลลอยด์เกิดการตกผลึกได้ 
……… 20. น้าย่อยกับไขมันมีตัวประสานคือน้าดี 
ตอนที่ 2 จงจาแนกสารที่กาหนดให้ต่อไปนี้ว่าเป็นสารละลาย ธาตุ สารประกอบ หรือสารเนื้อผสม 
1. แก๊สออกซิเจน 5. ทองเหลือง 9. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 13. น้าส้มสายชู 
2. ดินทราย 6. น้าตาลทราย 10. พริกเกลือ 14. แอลกอฮอล์ล้างแผล 3. สารหนู 7. น้าเชื่อม 11. ไอโอดีน 15. กามะถัน 
4. ทองแดง 8. น้า 12. น้าเกลือ 
1. สารละลาย ได้แก่.......................................................................................................................................... 
2. ธาตุ ได้แก่..................................................................................................................................................... 
3. สารประกอบ ได้แก่..................................................................................................................................... 
4. สารเนื้อผสม ได้แก่.......................................................................................................................................
10 
ตอนที่ 3 จงอธิบายหรือแสดงวิธีคานวณการหาความเข้มข้นของสารละลายต่อไปนี้ 
1. ถ้าต้องการเตรียมน้าเกลือให้มีความเข้มข้นร้อยละ 5 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
จะมีวิธีอย่างไร 
..................................................................................................................................................................... 
..................................................................................................................................................................... 
.................................................................................................................................................................... 
..................................................................................................................................................................... 
2. แม่ค้าขนมหวานเตรียมน้าเชื่อมโดยใช้น้าตาลทราย 10 กรัม แล้วเติมน้าจนมีปริมาตร 200 ลูกบาศก์เมตร 
จะได้น้าเชื่อมมีความเข้มข้นเท่าใดโดยมวลต่อปริมาตร 
.................................................................................................................................................................. 
..................................................................................................................................................................... 
..................................................................................................................................................................... 
..................................................................................................................................................................... 
3. แอลกอฮอล์ล้างแผลมีความเข้มข้นร้อยละ 70 โดยปริมาตร ในแอลกอฮอล์ล้างแผล 80 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
จะมีแอลกอฮอล์และน้าละลายอยู่เท่าใด 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
4. เมื่อละลายเกลือแกง 5 กรัม ในน้า 45 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายที่ได้มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใด 
โดยมวลต่อปริมาตร 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
5. น้าเกลือเข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อแบ่งน้าเกลือนี้อกมา 100 
ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเติมน้าจนครบ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร น้าเกลือที่ได้จะมีความเข้มข้นเท่าใด 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
...........................................................................................................................................................................
11 
ตอนที่ 4 จงบอกการเปลี่ยนแปลงสีของกระดาษลิตมัสที่เกิดขึ้น เมื่อทดสอบกับสารต่อไปนี้ โดยนาตัวอักษร 
ก ข หรือ ค ไปใส่ที่ด้านหน้าของแต่ละข้อ 
ก. สีแดงเมื่อทดสอบกับกระดาษลิตมัสสีน้าเงิน 
ข. สีน้าเงินเมื่อทดสอบกับกระดาษลิตมัสสีแดง 
ค. ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อทดสอบกับกระดาษลิตมัสมีทั้งสีแดงและสีน้าเงิน 
.............1. น้าอัดลม ………….6. ปุ๋ยยูเรีย 
.............2. น้าปูนใส ................7. โซดาแอช 
.............3. น้าขี้เถ้า ................8. น้าย่อยในกระเพาะอาหาร 
.............4. น้ากลั่น ................9. ดินประสิว 
.............5. น้ามะนาว ..............10. น้าโซดา 
ตอนที่ 5 จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 
1. กรดอินทรีย์และกรดแร่เป็นกรดอ่อนหรือไม่ เพราะเหตุใด 
........................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
2. กรดทาปฏิกิริยากับเหล็กได้แก๊สไฮโดรเจนเสมอใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด 
............................................................................................................................................................................ 
........................................................................................................................................................................... 
3. น้าโซดา น้าส้มสายชู น้ามะนาว มีสมบัติเป็นกรดทั้งหมดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด 
........................................................................................................................................................................... 
4. สารใดๆ ที่มีค่า pH ต่ากว่า 7 แสดงว่ามีสมบัติเป็นเบสใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด 
........................................................................................................................................................................... 
5. นาน้ามันมะพร้าวผสมกับเบส จะได้สบู่เกิดขึ้นใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด 
........................................................................................................................................................................... 
6. เมื่อทดสอบน้าปูนใสด้วยกระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นสีแดงใช่หรือไม่ 
เพราะเหตุใด...................................................................................................................................................... 
7. ดอกอัญชัญ ดอกชบา ดอกพู่ระหง สามารถนามาใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายแทน 
กระดาษลิตมัสได้หรือไม่ เพราะเหตุใด............................................................................................................ 
.......................................................................................................................................................................... 
8. พิจารณาจากน้านม เลือด น้าฝน และน้าดี เลือดมีค่า pH สูงสุดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด................................... 
..........................................................................................................................................................................
12 
หน่วยที่ 3 การเคลื่อนที่ของวัตถุ 
ปริมาณทางกายภาพแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 
1. ปริมาณสเกลาร์ เป็นปริมาณที่ขนาดเพียงอย่างเดียว และ 
2. ปริมาณเวกเตอร์ เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง 
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวข้องกับระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว 
ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตามแนวทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ จากตาแหน่งเริ่มต้นไปยังตาแหน่ง สุดท้าย 
การกระจัด คือ เวกเตอร์ที่ชี้ตาแหน่งสุดท้ายของวัตถุเทียบกับตาแหน่งเริ่มต้น 
อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา 
ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึ่งหน่วยเวลา 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ 
คือ การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุนั่นเอง เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ 1. ระยะทาง 2. การกระจัด 3. อัตราเร็ว 4. ความเร็ว 5. ความเร่ง 6. เวลา 
ตาแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด ( Position Distance and Displacement ) 
ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์ 
การกระจัด คือ ระยะที่วัดจากจุดตั้งต้นของการเคลื่อนที่ ตรงไปยังตาแหน่งที่วัตถุอยู่ในขณะนั้น โดยไม่ สนใจว่าวัตถุจะมีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นอย่างไร จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ 
ในขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ ได้ระยะทางและการกระจัดในเวลาเดียวกัน และต้องใช้เวลาในการเคลื่อนที่ จึงทา ให้เกิดปริมาณสัมพันธ์ขึ้น ปริมาณดังกล่าวคือ 
อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นเปริมาณสเกลลาร์ หน่วยในระบบ เอสไอ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที
13 
ความเร็ว คือ ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ใช้ หน่วยเดียวกับอัตราเร็ว สมการแสดงความสัมพันธ์ของอัตราเร็ว ระยะทาง และเวลาเป็นดังนี้ ให้ v เป็นค่าอัตราเร็วหรือความเร็ว s เป็นระยะทางหรือการกระจัด t เป็นเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ 
จะได้ความสัมพันธ์ คือ 
อัตราเร็ว และความเร็ว เป็นปริมาณที่แสดงให้ทราบลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุ ถ้าในทุก ๆ หน่วยเวลาของ การเคลื่อนที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยขนาดของอัตราเร็ว หรือ ความเร็วเท่ากันตลอดการเคลื่อนที่ เรียกว่าวัตถุเคลื่อนที่ ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอหรืออัตราเร็วคงที่ ถ้าพิจารณาแล้วพบว่าในแต่ละหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่วัตถุ เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วหรือความเร็วที่แตกต่างกัน กล่าวว่า วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่ง หรือ ความเร่ง ในกรณีนี้ การหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็ว หาได้สองลักษณะคือ 
อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง หรือความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วใน ช่วงเวลาสั้น ๆ ช่วงใดช่วงหนึ่งของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเฉลี่ยหรือความเร็วเฉลี่ย เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วหลังจากมีการเคลื่อนที่ โดย คานวณหาจากการเฉลี่ยระยะทางทั้งหมดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่ หรือการเฉลี่ยการ กระจัดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา
14 
แบบฝึกหัดที่ 3 การเคลื่อนที่ของวัตถุ 
ตอนที่ 1 จงนาอักษรหน้าข้อความด้านขามาเติมลงในช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือที่สัมพันธ์กัน 
…………1. มะม่วงสุกหล่นจากต้น ก. แรงหมุน 
…………2. ดอกยางรถยนต์ ข. แรงสู่ศูนย์กลาง 
...............3. เครื่องตัดกระดาษ ค. คานอันดับ 1 
…………4. การผลักประตูให้เปิดออก ง. คานอันดับ 2 
…………5. แรงรวมของแรงย่อยที่กระทาต่อวัตถุชิ้นเดียวกัน จ. คานอันดับ 3 
…………6. ไม้กวาด ฉ. แรงโน้มถ่วง 
..............7. การขว้างลูกบอลให้กระเด้งออกมาจากกาแพง ช. แรงเสียดทาน 
..............8. แรงที่มีทิศทางเข้าหาศูนย์กลางของวงกลม ซ. แรงลัพธ์ 
..............9. ความเร่ง ฌ. การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง 
............10. การฉีดน้าจากสายยาง ญ. แรงดึงในเส้นเชือก 
............11. กรรไกรตัดกระดาษ ฎ. ปริมาณเวกเตอร์ 
............12. แรงที่เกิดขึ้นในขณะแขวนวัตถุ ฏ. ปริมาณสเกลาร์ 
ฐ. กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน 
ฑ. กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน 
ตอนที่ 2 จงตอบคาถาม หรือแสดงวิธีคานวณให้ถูกต้อง 
1. การกระจัด ระยะทาง เวลา อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง น้าหนัก มวล สนามไฟฟ้า ความหนาแน่น 
จากปริมาณดังกล่าวข้างต้น ให้จาแนกชนิดของปริมาณให้ถูกต้อง 
1.1 ปริมาณเวกเตอร์ ได้แก่............................................................................................................................... 
1.2 ปริมาณสเกลาร์ ได้แก่................................................................................................................................ 
2. กาหนดเวกเตอร์ ดังนี้ 
A B C 
จงหาเวกเตอร์ A + B + C (เมื่อ A = 1 หน่วย B = 3 หน่วย และ C = 3 หน่วย)
15 
3. รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง 50 กิโลเมตร ในเวลา 30 นาที หลังจากนั้นแล่นไปทาง 
ทิศเหนือ 30 กิโลเมตร ในเวลา 15 นาที จงเขียนแผนผังแสดงการเดินทาง และคานวณหาระยะทาง 
การกระจัด อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็วของรถคันนี้ (มาตรส่วน 1 cm: 10 Km) 
4. เด็กคนหนึ่งเดินทางจากบ้านไปทางทิศตะวันออกถึงตลาดเป็นระยะทาง 6 กิโลเมตร แล้วเดินต่อไปทางทิศใต้ 
อีก 8 กิโลเมตร ก็ถึงโรงเรียนใช้เวลาไป 20 นาที จงเขียนแผนผังแสดงการเดินทาง และคานวณหา 
ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็ว (มาตรส่วน 1 cm: 1 Km)
16 
หน่วยที่ 4 พลังงานความร้อน 
พลังงานความร้อน หรือ พลังงานอุณหภาพ เป็น รูปแบบหนึ่งของพลังงาน มนุษย์เราได้พลังงานความ ร้อนมาจากหลายแห่งด้วยกัน เช่น จากดวงอาทิตย์, พลังงานในของเหลวร้อนใต้พื้นพิภพ , การเผาไหม้ของ เชื้อเพลิง, พลังงานไฟฟ้า, พลังงานนิวเคลียร์, พลังงานน้าในหม้อต้มน้า, พลังงานเปลวไฟ ผลของความร้อนทา ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น อุณหภูมิสูงขึ้น หรือมีการเปลี่ยนสถานะไป และนอกจากนี้แล้ว พลังงานความ ร้อน ยังสามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได้อีกด้วย 
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณความร้อน คือ แคลอรี่ โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า แคลอรี่มิเตอร์ 
อุณหภูมิและหน่วยวัด 
ในชีวิตประจาวันเราจะคุ้นเคยกับการใช้พลังงานความร้อน (thermal energy) อยู่เสมอ พลังงานความร้อน เป็นพลังงานที่สามารถถ่ายเทจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เมื่อวัตถุ ดูดกลืนพลังงานความร้อนจะทาให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้น จึงเกิดการถ่ายเทพลังงานความร้อนให้กับวัตถุอื่นที่มี อุณหภูมิต่ากว่า ซึ่งต้นกาเนิดของพลังงานความร้อนมาจากดวงทิตย์ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การขัดถูกันของ วัตถุ และจากพลังงานไฟฟ้า วัตถุเมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น อุณหภูมิเป็นปริมาณที่บอกให้ ทราบถึงระดับความร้อนของวัตถุ เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิมีหลายชนิดที่นิยมใช้กันมากคือ เทอร์มอมิเตอร์ ซึ่ง เป็นเครื่องมือที่ใช้หลักการขยายตัวของของเหลวเมื่อได้รับความร้อน มีลักษณะเป็นหลอดแก้วยาว ปลายทั้งสอง ข้างปิด ปลายหลอดข้างหนึ่งเป็นกระเปาะ ซึ่งบรรจุของเหลวที่ขยายตัวได้ง่ายเมื่อได้รับความร้อน และหดตัวได้ ง่ายเมื่อได้รับความเย็น ของเหลวที่บรรจุอยู่ภายในเทอร์มอมิเตอร์นิยมใช้ปรอทซึ่งมีสีเงิน แต่บางทีก็ใช้ แอลกอฮอล์ผสมสีบรรจุในเทอร์มอมิเตอร์แทนปรอท 
หน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิที่นิยมกันอย่างแพร่หลายคือ องศาเซลเซียส ( ํ C) องศาฟาเรนไฮต์ ( ํ F) และเคล วิน (K) โดยกาหนดว่า อุณหภูมิที่เป็นจุดเยือกแข็งของน้าบริสุทธิ์ คือ 0 องศาเซลเซียส หรือ 32 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 273 เคลวิน และอุณหภูมิที่เป็นจุดเดือดของน้าบริสุทธิ์ คือ 100 องศาเซลเซียส หรือ 212 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 373 เคลวิน 
- การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของสาร ได้แก่ การนาความร้อนเป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยการสั่นของโมเลกุลของสาร การพาความร้อน เป็นการถ่ายโอนพลังงาน 
ความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปด้วย การแผ่รังสีความร้อน เป็นการถ่ายโอนพลังงาน 
ความร้อนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 
- วัตถุที่แตกต่างกันมีสมบัติในการดูดกลืนและคายความร้อนได้ต่างกัน 
- เมื่อวัตถุสองสิ่งอยู่ในสมดุลความร้อน วัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน
17 
แบบฝึกหัดที่ 4 พลังงานความร้อน 
ตอนที่ 1 จงนาตัวอักษรทางขวามือมาเติมลงในช่องว่างทางซ้ายมือที่สัมพันธ์กัน 
………..1. ลมบก ก. ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง 
………..2. ตัวควบคุมอุณหภูมิ ข. เคลวิน 
………..3. พลังงานศักย์ ค. พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ 
………..4. การนาความร้อน ง. พลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุที่อยู่นิ่ง 
………..5. ลมทะเล จ. เกิดในเวลากลางคืน 
………..6. การพาความร้อน ฉ. เกิดในเวลากลางวัน 
……….7. พลังงานจลน์ ช. การอาบน้า 
……….8. กฎการอนุรักษ์พลังงาน ซ. ช้อนโลหะจุ่มในน้าร้อน 
……….9. งาน ฌ. ทองเหลืองและเหล็ก 
……...10. หน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิ ญ. พลังงานไม่สูญหายแต่เปลี่ยนรูปใหม่ได้ 
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 
1. เครื่องมือที่ใช้วัดเพื่อบอกระดับความร้อน เรียกว่า............................................................................................. 
2. ที่จับหูหม้อที่ทาจากพลาสติกสีดาเพื่อป้องกันสิ่งใด........................................................................................... 
3. การถ่ายโอนความร้อนมี.........วิธี ได้แก่............................................................................................................. 
4. การถ่ายโอนความร้อนมีหลักการคือ.................................................................................................................. 
5. การถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีใดที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลาง.................................................................................... 
6. การเกิดลมบก-ลมทะเลเกิดจากการถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีใด....................................................................... 
7. การหุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า เกี่ยวข้องกับพลังงานรูปใดบ้าง..................................................................... 
8. ชาวนาที่ใส่เสื้อสีดาอยู่กลางแดดจะรู้สึกร้อนกว่าคนที่ใส่เสื้อสีอื่น เพราะ......................................................... 
9. สารชนิดหนึ่งมีจุดเดือดที่ 75 องศาเซลเซียส จะมีอุณหภูมิกี่องศาเคลวิน (แสดงวิธีคานวณ) 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
10. วัดอุณหภูมิของอากาศในห้องเรียนได้ 25 องศาเซลเซียส จะมีค่าเท่ากับกี่องศาฟาเรนไฮต์ 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
..........................................................................................................................................................................
18 
หน่วยที่ 5 เรื่องบรรยากาศ 
บรรยากาศของโลก คือ อากาศที่ห้อหุ้มโลกของเราอยู่โดยรอบ โดยมีขอบเขตนับจากระดับน้าทะเลขึ้นไป ประมาณ 1000 กม. ที่บริเวณใกล้พื้นดินอากาศจะมีความหนาแน่นมากและความหนาแน่นของอากาศจะลดลง เมื่อสูงขึ้นไปจากระดับพื้นดินความสาคัญ 
 ช่วยปรับอุณหภูมิบนพื้นผิวโลกไม่ให้สูงหรือต่าเกินไป เพื่อให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ โดย ปกติในช่วงกลางวันความร้อนจากดวงอาทิตย์จะถูกอากาศ ที่ห้อหุ้มโลกไว้บางส่วน ทาให้ร้อนอย่างช้าๆ 
 ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีและอนุภาคต่างๆ ที่มาจากนอกโลก 
องค์ประกอบบรรยากาศโลก 
1. ออกซิเจน เป็นส่วนประกอบที่สาคัญ และมีปริมาณอันดับ 2 ในส่วนประกอบของบรรยากาศโลก คือมี ประมาณร้อยละ 20.947 โดยปริมาตร 
2. ไนโตรเจน เป็นส่วนประกอบที่มีปริมาณอันดับ 1 ในส่วนประกอบของบรรยากาศของโลก มากมายถึง ร้อยละ 78 
3. อาร์กอน เป็นส่วนประกอบของบรรยากาศโลกแค่ ร้อยละ 1 
การแบ่งชั้นบรรยากาศ 
บรรยากาศแบ่งไม่ได้แบ่งเป็นชั้นที่มองเห็นได้ แต่จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์สามารถแบ่งชั้น บรรยากาศได้เป็น 5 ชั้น ดังนี้ 
โทรโพสเฟียร์ (troposphere) 
เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่สูงจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 15 กม. อุณหภูมิจะค่อยๆลดลงตามระดับความสูง และเป็นชั้นที่เกี่ยวข้องกับสภาพอากาศด้วย. มีปรากฏการณ์ที่สาคัญ คือ ลม เมฆ พายุ หิมะ 
สตราโทสเฟียร์ (stratosphere) 
เป็นชั้นที่มีเสถียรภาพต่าสุด มีความสูงตั้งแต่ 15-50 กม. อุณหภูมิในระดับล่างของชั้นนี้จะคงที่จนถึง ระดับความสูง 20 กม. จากนั้นอุณหภูมิจะค่อยๆสูงขึ้น ชั้นนี้เป็นชั้นที่เครื่องบินจะบินเพราะไม่มีความแปรปรวน ของสภาพอากาศและเครื่องบินทั้งหมดที่บินในชั้นจะนี้จะเป็นเครื่องบินไอพ่น 
มีโซสเฟียร์ (mesosphere) 
เป็นช่วงบรรยากาศที่อยู่สูงจากพื้นดินในช่วง 50-80 กม.อุณหภูมิลดลงตามระดับความสูง ตั้งแต่ชั้นแรก ถึงชั้นนี้อากาศยังเป็นเนื้อเดียวกันอยู่ ทั้ง 3 ชั้นรวมทั้งหมดเรียกว่า โฮโมสเฟียร์ (homosphere) บรรยากาศมีก๊าซ โอโซนอยู่มากซึ่งจะช่วยสกัดแสงอัลตร้า ไวโอเรต (UV) จาก ดวงอาทิตย์ไม่ให้มาถึงพื้นโลกมากเกินไป 
เทอร์โมสเฟียร์ (thermosphere) 
เป็นช่วงบรรยากาศที่มีระดับความสูง 80-500 กม. อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (เนื่องจากใกล้ดวง อาทิตย์มากขึ้น) จนถึงระดับประมาณ 100 กม. จากนั้นอัตราการสูงขึ้นของอุณหภูมิจะลดลง อุณหภูมิเฉลี่ยของ
19 
ชั้นนี้คือ 227-1727 องศาเซลเซียส ชั้นนี้ยังมีแก็สที่เป็นประจุไฟฟ้าเรียกว่า ไอออน สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุบาง ชนิดได้ เราอาจเรียกชั้นนี้ว่า ไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere) ก็ได้ 
เอกโซสเฟียร์ (exosphere) 
เริ่มตั้งแต่ 500 กม.จากผิวโลกขึ้นไป บรรยากาศชั้นนี้เจือจางมากจนไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชั้น บรรยากาศ องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียม ไม่มีรอยต่อที่ชัดเจนระหว่างบรรยากาศกับ อวกาศ มีอุณหภูมิประมาณ 726 องศาเซลเซียส ถึงแม้อุณหภูมิจะสูงแต่เนื่องจากอากาศเบาบางมาก จึงแทบไม่มี ผลต่อยานอวกาศ บรรยากาศนี้ถือว่าไม่ดีนัก 
- ส่วนประกอบของอากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน 78.08% แก๊สออกซิเจน 20.95% 
แก๊สอาร์กอน 0.93% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% และแก๊สอื่น ๆ 0.01% 
- บรรยากาศ แบ่งเป็นชั้นตามอุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน 
- อุณหภูมิของอากาศ คือ ค่าที่ใช้บอกถึงระดับความร้อนหรือเย็นของอากาศ โดยใช้เทอร์มอมิเตอร์เป็น เครื่องมือวัด 
- ความดันอากาศ คือ แรงดันของอากาศต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่รองรับแรงดัน โดยใช้บารอมิเตอร์เป็น เครื่องมือวัด 
- ปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ 
1. ความดันอากาศขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ เมื่ออากาศร้อน อากาศมีความหนาแน่นน้อย ความดันอากาศต่า 
2. ความดันอากาศขึ้นอยู่กับความชื้น อากาศชื้นมีไอน้า จะมีความดันอากาศต่า 
3. ความดันอากาศขึ้นอยู่กับความสูง ยิ่งสูง อากาศยิ่งเบาบาง ความดันอากาศจึงลดลง 
- ความชื้นของอากาศ คือ สภาวะที่อากาศมีไอน้าผสมอยู่ โดยน้าจะระเหยเป็นไอไปปะปนในอากาศ ปริมาณของน้าที่มีในอากาศขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศ ถ้าอากาศมีอุณหภูมิสูง จะสามารถรับไอน้าได้มากกว่า อากาศที่มีอุณหภูมิต่า โดยใช้ไฮโกรมิเตอร์ และไซโครมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัด 
- ลม คือ มวลของอากาศที่เกิดการเคลื่อนที่ โดยใช้ศรลมสาหรับวัดทิศทางลม แอนนิมอนิเตอร์สาหรับวัด ความเร็วของลม และแอโรเวนสาหรับวัดทิศทางและความเร็วของลม 
- ลมบก คือ ลมที่พัดจากฝั่งออกสู่ทะเล เกิดในเวลากลางคืน 
- ลมทะเล คือ ลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่ฝั่ง เกิดในเวลากลางวัน 
- พายุหมุนเขตร้อน คือ พายุที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อน โดยมีลมพัดหมุนเวียนเข้าหา ศูนย์กลางความกดอากาศต่า 
- พายุฟ้าคะนอง คือ ปรากฏการณ์ของอากาศซึ่งมีกระแสลมแรง ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฝน การเกิดเมฆ พายุฟ้าคะนอง มักจะเกิดขึ้นในบริเวณอากาศร้อน และมีความชื้นมาก 
- มรสุมหรือลมมรสุม เป็นลมที่พัดตามฤดูกาล เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดินและ พื้นน้า
20 
- ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้หรือลมมรสุมฤดูร้อน เป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่พื้นดินโดยพัดจาก มหาสมุทรอินเดียผ่านอ่าวไทย เกิดในฤดูร้อน เป็นลมที่นาความชุ่มชื้นหรือฝนจากทะเลมาสู่แผ่นดิน 
- ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือลมมรสุมฤดูหนาว เป็นลมพัดจากใจกลางทวีปที่มีความกด อากาศสูงไปสู่ทะเล หรือบริเวณที่มีความกดอากาศต่า โดยพัดจากประเทศจีนและไซบีเรีย ผ่านภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นลมที่นาความแห้งแล้งและความหนาวเย็น 
- เมฆ คือ ละอองน้าที่เกิดจากไอน้าในอากาศลอยตัวสูงขึ้นไปกระทบกับอากาศเย็นเบื้องสูงรวมตัวเป็น กลุ่มก้อน มองเห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบา 
- หมอก คือ เมฆที่เกิดในระดับใกล้พื้นดิน เกิดจากไอน้าในอากาศที่ล่องลอยในอากาศกระทบกับความ เย็นของอากาศเบื้องต่า กลั่นตัวเป็นละอองน้าเล็ก ๆ มองเห็นเป็นไอสีขาว ลอยไล่เลี่ยกับพื้นโลก 
- ฝน คือ หยาดน้าฟ้า ที่มีรูปลักษณะเป็นเม็ดของเหลว คือน้าฝน เกิดจากไอน้าที่กลั่นตัวเป็นสายของ น้า แล้วรวมตัวกันมีขนาดโตจนมีน้าหนักมากพอที่จะตกลงสู่พื้นโลก 
- น้าค้าง คือละอองไอน้าที่รวมตัวเป็นหยดน้าที่เกาะตามใบไม้ใบหญ้าใกล้พื้นดิน ส่วนมากจะเกิดตอน ใกล้สว่าง 
- น้าค้างแข็ง คือ ผลึกน้าแข็งที่เกาะตัวเป็นชั้นบาง ๆ บนวัตถุหรือพื้นผิวของใบไม้ใบหญ้า ที่อุณหภูมิ ของอากาศเย็นลงต่ากว่าจุดเยือกแข็ง โดยหยดน้ากลายเป็นน้าแข็ง 
- ลูกเห็บ หมายถึง เกล็ดน้าแข็งซึ่งมีรูปร่างและขนาดต่าง ๆ กัน แต่มีขนาดโต 
- การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายลักษณะอากาศในปัจจุบัน 1 วัน หรือล่วงหน้าในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ครอบคลุมแต่ละพื้นที่ของจังหวัดหรือแต่ละภาคของประเทศ 
- สภาพลมฟ้าอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงบนโลกทาให้เกิดพายุ ปรากฏการณ์เอลนิโญ ลานีญา ซึ่งส่งผลต่อ การดารงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 
- เอลนิโญ คือ การที่อุณหภูมิที่ผิวน้าทะเลบริเวณตอนกลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขต ร้อนมีค่าสูงกว่าปกติ และแผ่ขยายกว้างไกลออกไป 
- ลานีญา คือ การที่อุณหภูมิที่ผิวน้าทะเลบริเวณตอนกลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขต ร้อน มีค่าต่ากว่าปกติ เป็นปรากฏการณ์ที่มีลักษณะตรงข้ามกับเอลนิโญ 
- ปรากฏการณ์เรือนกระจก หมายถึง การที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทาตัวเสมือนกระจกที่ยอมให้ รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมายังผิวพื้นโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวที่โลกคายออกไป ไม่ให้หลุดออกนอกบรรยากาศ ทาให้โลกไม่เย็นจัดในเวลากลางคืน บรรยากาศเปรียบเสมือนผ้าห่มผืนใหญ่ที่ คลุมโลกไว้ แก๊สที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมาได้แต่ไม่ยอมให้รังสีคลื่นยาวที่โลกคาย ออกไปหลุดออกนอกบรรยากาศ เรียกว่า แก๊สเรือนกระจก
21 
- แก๊สเรือนกระจก ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน และ 
แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ 
- ภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดการละลายของธารน้าแข็ง ระดับน้าทะเลสูงขึ้น การกัดเซาะของชายฝั่ง เพิ่มขึ้น น้าท่วม ไฟป่า ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ และทาให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป
22 
แบบฝึกหัดที่ 5 บรรยากาศ และลมฟ้าอากาศ 
ตอนที่ 1 จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ไม่ถูกต้อง 
………...1. หยาดน้าฟ้า คือ น้าที่อยู่ในสถานะของแข็งหรือของเหลว ที่ตกลงมาจากบรรยากาศสู่พื้นโลก 
…………2. เครื่องมือวัดปริมาณน้าฝนเรียกว่า rain gauge 
…………3. บริเวณที่มีความกดอากาศสูงจะเกิดพายุดีเปรสชั่น 
…………4. ความแตกต่างของอุณหภูมิของอากาศเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดลม 
…………5. กระแสลมพัดเวียนออกจากบริเวณความกดอากาศต่าในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา 
…………6. ลมมรสุมฤดูร้อนเป็นลมที่พัดจากทะเลและมหาสมุทรเข้าสู่ภาคพื้นทวีป 
…………7. ลมประจาเวลา คือ ลมที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างกัน 
…………8. ลมบกเป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่ฝั่ง 
…………9. ลมทะเลเกิดในเวลากลางคืน 
………..10. พายุดีเปรสชันมีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางไม่เกิน 63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 
………..11. พายุไต้ฝุ่นเกิดบริเวณอ่าวเบงกอล 
………..12. ศรลมเป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจวัดทิศทาลม 
………..13. แอโรเวนเป็นเครื่องมือที่วัดเฉพาะความเร็วลม 
………..14. บารอมิเตอร์แบบปรอทเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันบรรยากาศ 
………..15. ความชื้นในอากาศคือปริมาณของไอน้าในอากาศ 
………..16. การพยากรณ์อากาศระยะนานเป็นการพยากรณ์อากาศตั้งแต่ 10 วันขึ้นไป 
………..17. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นแก๊สสาคัญที่เป็นตัวการทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก 
………..18. ลม คือ มวลอากาศที่เคลื่อนที่ในทิศทางใดทิศทางหนึ่งในแนวระดับ 
………..19. น้าค้างเกิดจากการกลั่นตัวของไอน้าในอากาศที่ระดับพื้นผิวโลก 
………..20. ไอน้าจะเกิดเป็นน้าค้างแข็งเมื่ออากาศเย็นลงจนถึงจุดเยือกแข็ง 
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามหรือแสดงวิธีคานวณให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 
1. บรรยากาศชั้นใดที่มีแก๊สที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลกมากที่สุด...................................... 
2. บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีความสาคัญอย่างไร.......................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
3. ขณะที่เรากาลังเดินทางขึ้นบนภูเขาสูงจะรู้สึกหูอื้อ สาเหตุเกิดจาก.................................................................... 
........................................................................................................................................................................... 
4. อากาศอิ่มตัวด้วยไอน้า หมายถึง....................................................................................................................... 
......................................................................................................................................................................... 
5. ที่จังหวัดปราจีนบุรีวัดปริมาณน้าฝนได้ 70 มิลลิเมตร แสดงว่าฝนตกมีความแรงขนาด....................................
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3
Onet sc-m3

More Related Content

Similar to Onet sc-m3

แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfแผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfssuserbb6785
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตBally Achimar
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน Ming Gub Yang
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืชprachabumrung
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์ssuser9219af
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 

Similar to Onet sc-m3 (12)

แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfแผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Lab1
Lab1Lab1
Lab1
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

More from บริษัท พ่อกับแม่ จำกัดมหาชน (6)

2
22
2
 
M2 sci-1342772391
M2 sci-1342772391M2 sci-1342772391
M2 sci-1342772391
 
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี58
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี5805 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี58
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี58
 
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป605 รูปแบบข้อสอบ o net ป6
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
Pre o-net sci3
Pre o-net sci3Pre o-net sci3
Pre o-net sci3
 

Onet sc-m3

  • 1. 1 หน่วยที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช  สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหมายถึง สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว มีสมบัติในการดารงชีวิตเหมือน สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์  สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์  เซลล์ เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลา ซึมและนิวเคลียส  เครื่องมือช่วยขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทางตา เช่น แว่นขยาย ใช้สาหรับดูวัตถุที่ขนาดเล็ก ให้เห็นขนาดขยายขึ้น กล้องจุลทรรศน์ให้สาหรับดูวัตถุที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นให้มีขนาดใหญ่ เป็นต้น  เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนี้ ตาราง เปรียบเทียบลักษณะเซลล์พืชและเซลล์สัตว์  ต้นไม้ประกอบด้วย ราก ลาต้น ใบ และดอก  รากมีหน้าที่ดูดน้าและธาตุอาหาร โดยใช้ขนราก ลาต้นชูใบและดอก ใบสังเคราะห์ ด้วยแสง ดอกสร้างเมล็ดเพื่อสืบพันธุ์  การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีโมเลกุลของสารนั้น มากไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของสารนั้นน้อย  การออสโมซิส (osmosis) หมายถึง การแพร่ของน้า โดยผ่านเยื่อเลือกผ่าน  อนุภาคน้าเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ขนรากโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ด้วยวิธีออสโมซิส ส่วน ธาตุอาหารเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีการแพร่ 6. ไซโทพลาซึม มี มี 5. นิวเคลียส มี มี 4.คลอโรพลาสต์ มี ไม่มี 3. เยื่อหุ้มเซลล์ มี มี 2. ผนังเซลล์ มี ไม่มี 1. รูปร่าง สี่เหลี่ยม กลม ส่วนประกอบ เซลล์พืช เซลล์สัตว์
  • 2. 2  เนื้อเยื่อลาเลียงน้า หรือไซเล็ม (xylem) ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและธาตุอาหารจากดินขึ้นสู่ใบเพื่อสร้าง อาหาร  เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร หรือโฟลเอ็ม (phloem) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารที่สร้างจากใบ ไปเลี้ยงเซลล์ทั่วลาต้นพืช  ปัจจัยที่มีผลต่อการลาเลียงน้าของพืช ได้แก่ การคายน้าของพืช อุณหภูมิ ปริมาณน้าในดิน ความชื้น ในอากาศ และแสงแดด  การสืบพันธุ์ของพืช แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่อาศัยเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียผสมกันทาให้ ได้เมล็ดและงอกเป็นต้นใหม่ได้ 2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ สามารถใช้ ส่วนต่าง ๆ ของพืชทาการขยายพันธุ์ได้ เช่น ใบของต้นตายใบเป็น ลาต้นของขิง หรือใช้วิธีการ ขยายพันธุ์พืชโดยการติดตา การตอน การโคลน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น  การถ่ายเรณู (pollination) คือ การที่ละอองเรณูของเกสรเพศผู้ตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย โดยอาศัย ลม แมลง น้า และการกระทาของมนุษย์  การปฏิสนธิ (fertilization) คือ การที่นิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ผสมกับนิวเคลียสของออวุลใน รังไข่  ดอกไม้ประกอบด้วยกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย  ดอกไม้แต่ละชนิดมีลักษณะและส่วนประกอบแตกต่างกัน - ดอกครบส่วน หมายถึง ดอกไม้ที่มีส่วนประกอบครบ 4 ส่วน - ดอกไม่ครบส่วน หมายถึง ดอกไม้ที่มีส่วนประกอบไม่ครบ 4 ส่วน - ดอกสมบูรณ์เพศ หมายถึง ดอกไม้ที่มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย - ดอกไม่สมบูรณ์เพศ หมายถึง ดอกไม้ที่มีเฉพาะเกสรเพศผู้ หรือเกสรเพศเมียเพียงอย่างเดียว  พืชมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ เช่น แสง อุณหภูมิ การสัมผัส ฮอร์โมน เป็นต้น เพื่อการดารงชีวิต ของพืช  ปัจจัยที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟิลล์ และน้า  สมการของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (การสร้างอาหารของพืช) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้า น้าตาล + แก๊สออกซิเจน + น้า  เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตั้งแต่การ ขยายพันธุ์สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของพืช เช่น การโคลน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุวิศวกรรม จีเอ็ม เป็นต้น แสง คลอโรฟิลล์ แป้ง
  • 3. 3 แบบฝึกหัดที่ชุดที่ 1 ตอนที่ 1 จงตอบคาถามให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 1. อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษามีส่วนประกอบของเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ คือ .............................................. 2. หากเราต้องการให้ภาพที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดใหญ่ขึ้น ทาได้โดย.................................................... ........................................................................................................................................................................... 3. เมื่อดูจุลินทรีย์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 30 เท่า และเลนส์ใกล้วัตถุที่มี กาลังขยาย 80 เท่า เราจะมองเห็นภาพจุลินทรีย์ขนาด 240 มิลลิไมครอน แสดงว่าขนาดของจุลินทรีย์เท่ากับ ...................................... มิลลิไมครอน 4. เซลล์พืชต่างจากเซลล์สัตว์ คือ........................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. นิวเคลียสมีหน้าที่.............................................................................................................................................. 6. เยื่อเลือกผ่าน คือ ............................................................................................................................................... และทาหน้าที่.................................................................................................................................................... 7. ส่วนประกอบใดของเซลล์ที่มีหน้าที่สาคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช.................................... 8. แก๊สออกซิเจนในกระบลวนการหายใจของพืชใช้วิธี..............................................................ในการเข้าสู่เซลล์ 9. การที่สารละลายภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลายภายในเซลล์ เรียกว่า...................................... 10. เครื่องมือที่ใช้วัดแรงดันที่เกิดจากกระบวนการออสโมซิส คือ ....................................................................... ตอนที่ 2 จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่อง × หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง ............ 1. นิวเคลียสมีหน้าที่ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต และควบคุมกระบวนการ เมแทบอลิซึมของเซลล์ ............ 2. สัตว์สามารถสร้างอาหารได้เอง ............ 3. เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ............ 4. คลอโรพลาสต์เป็นออร์แกเนลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ............ 5. เยื่อหุ้มเซลล์พบได้ทั้งเซลล์พืชและและเซลล์สัตว์ ............ 6. ขนาดของภาพที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดเล็กกว่าขนาดของวัตถุเสมอ ............ 7. เซลล์คุมเป็นเซลล์พิเศษที่พบเฉพาะในเซลล์สัตว์เท่านั้น ............ 8. น้าในดินจะเข้าสู่เซลล์ขนรากของพืชได้โดยวิธีการแพร่ ............ 9. การคายน้ามีผลต่อการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช ............ 10. แรงดันเต่งในเซลล์พืช เกิดจากการที่น้าในเซลล์ออสโมซิสออกสู่ภายนอกเซลล์
  • 4. 4 แบบฝึกหัดชุดที่ 2 ตอนที่ 1 จงตอบคาถามให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 1. การสังเคราะห์ด้วยแสงคือ.................................................................................................................................. 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ ................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... 3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ ............................................................................... ........................................................................................................................................................................... 4. หน้าที่ของคลอโรฟิลล์ในคลอโรพลาสต์ คือ .................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. สารเริ่มต้นในการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ .................................................................................................... 6. พืชลาเลียงน้าและแร่ธาตุไปยังส่วนต่างๆ ของพืช โดย...................................................................................... 7. กระบวนการคายน้าจะเกิดขึ้นที่.......................................................................................................................... 8. กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการคายน้าของพืช คือ ............................................................................................ 9. ทิศทางการลาเลียงอาหารของพืช คือ ................................................................................................................ 10. พืชลาเลียงอาหารจากใบสู่ส่วนต่างๆ ของพืชโดย ........................................................................................... 11. กระบวนการที่พืชใช้ในการดูดซึมแร่ธาตุต่างๆ เข้าสู่รากของพืช คือ .............................................................. 12. พืชบางชนิดมีการผลัดใบในฤดูหนาวเพื่อ........................................................................................................
  • 5. 5 หน่วยที่ 2 สารและสมบัติของสาร  สมบัติของสาร คือ ลักษณะเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด ซึ่งสามารถจาแนกสมบัติของสารได้ 2 ประเภท คือ 1. สมบัติทางกายภาพ เป็นสมบัติที่บ่งบอกถึงลักษณะภายนอก ซึ่งสามารถทดสอบและสังเกตได้ง่าย ๆ เช่น ลักษณะ เนื้อสาร สถานะ สี จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความแข็ง เป็นต้น และ 2. สมบัติทางเคมี เป็นสมบัติที่ใช้ปฏิกิริยาเคมี เป็นตัวบ่งชี้ เช่น การติดไฟ การเกิดสนิม เป็นต้น  การจาแนกประเภทของสาร สามารถจาแนกสารออกเป็นกลุ่ม ๆ ตามสถานะ เนื้อสาร หรือเกณฑ์อื่นที่ กาหนดขึ้น การจาแนกประเภทสารสามารถจาแนกได้หลายแบบขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้  การจาแนกประเภทสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์ จาแนกได้เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งสาร แต่ละสถานะมีสมบัติ (ความหนาแน่น การรักษารูปทรง ปริมาตร การไหล การแพร่) แตกต่างกัน  พลังงานกับการเปลี่ยนสถานะของสาร 1. การเปลี่ยนสถานะที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน ได้แก่ ของเหลว เรียก การ หลอมเหลว 1) ของแข็งเปลี่ยนสถานะไปเป็นของเหลว เรียก การหลอมเหลว 2) ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นแก๊ส เรียก การเดือด / การระเหย 3) ของแข็งเปลี่ยนสถานะไปเป็นแก๊ส เรียก การระเหิด 2. การเปลี่ยนสถานะที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน ได้แก่ 1) แก๊สเปลี่ยนสถานะไปเป็นของเหลว เรียก การควบแน่น 2) ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นของแข็ง เรียก การเยือกแข็ง 3) แก๊สเปลี่ยนสถานะไปเป็นของแข็ง เรียก การควบแน่น  จุดหลอมเหลว คืออุณหภูมิขณะที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว  จุดเยือกแข็ง คือ อุณหภูมิขณะที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง  จุดเดือด คือ อุณหภูมิขณะที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส  จุดควบแน่น คือ อุณหภูมิขณะที่แก๊สเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว  การจาแนกประเภทสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ จาแนกสารได้เป็น 2 ประเภท คือ สารเนื้อ ผสม และสารเนื้อเดียว - สารเนื้อผสม (heterogeneous substance) คือ สารที่ลักษณะเนื้อสารไม่กลมกลืนกัน เช่น น้าแป้งดิบ น้า โคลน เป็นต้น - สารเนื้อเดียว (homogeneous substance) คือ สารที่มีลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน จาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ สารบริสุทธิ์ และสารละลาย
  • 6. 6  การจาแนกประเภทสารโดยใช้อนุภาคเป็นเกณฑ์ จาแนกสารได้เป็น 3 ประเภท คือ สารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอย - สารละลาย (solute) คือ สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมรวมกัน โดยอัตราส่วนของ การผสมไม่คงที่ เช่น น้าเกลือ น้าหวาน เป็นต้น - คอลลอยด์ (colliod) คือ ของผสมที่มีลักษณะขุ่น ประกอบด้วย อนุภาคของสาร ชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดลอยกระจายอยู่ในตัวกลาง เช่น น้านม เจลลี น้าสลัด ฝุ่นละอองในอากาศ เป็นต้น - สารแขวนลอย (suspension) คือ สารเนื้อผสมที่มองเห็นอนุภาคของสารชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดลอย กระจายอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งที่เป็นตัวกลาง เมื่อทิ้งไว้จะตกตะกอนและสามารถแยก สารที่แขวนลอยอยู่ในสารเนื้อผสมออกมาได้โดยการกรอง เช่น น้าแป้ง น้าโคลน เป็นต้น ตาราง ขนาดอนุภาคและสมบัติของสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอย  สารละลาย หมายถึง สารที่ได้จากสาร 2 ชนิดขึ้นไปมาละลายรวมเป็นเนื้อเดียวกัน โดยไม่สามารถใช้การสังเกตด้วยตาเปล่า แล้วบอกว่าสารใดเป็นสารใด  สารละลายประกอบด้วยตัวทาละลายและตัวละลาย ในการบ่งชี้ว่าสารใดเป็นตัวทาละลาย และสารใด เป็นตัวละลาย พิจารณาสิ่งต่างๆ ดังนี้ 1. ตัวทาละลายและตัวละลายมีสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า ตัวละลาย สารที่มีปริมาณมากกว่า เรียกว่า ตัวทาละลาย 2. ตัวทาละลายและตัวละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มีสถานะเหมือนกับสารละลายจัดว่าเป็นตัวทา ละลาย สารที่มีสถานะต่างไปจัดว่าเป็นตัวละลาย  สมบัติในการละลายของสาร ได้แก่ 1. ความสามารถในการละลายของสาร ขึ้นกับชนิดของตัวทาละลายและตัวละลาย 2. สารชนิดเดียวกันละลายในตัวทาละลายต่างชนิดกันได้ต่างกัน 3. สารต่างชนิดกันละลายในตัวทาละลายชนิดเดียวกันได้ต่างกัน  ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร ได้แก่ ชนิดของตัวทาละลาย ชนิดของตัวละลาย อุณหภูมิ และ ความดัน  ความเข้มข้นของสารละลาย หมายถึง ปริมาณของตัวทาละลายในสารละลาย นิยมบอกความเข้มข้น ของสารละลายเป็นปริมาตร หรือมวลของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 ขนาดอนุภาค (เส้นผ่านศูนย์กลาง) ไม่ผ่านทั้งกระดาษกรอง และเซลโลเฟน น้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร 10-7 - 10-4 เซนติเมตร มากกว่า 10-4 เซนติเมตร ผ่านได้เฉพาะ กระดาษกรอง ผ่านได้ทั้งกระดาษกรอง และเซลโลเฟน ผลการทดสอบ ด้วยการกรอง ชนิดของของผสม สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย
  • 7. 7 - สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายมาก - สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายน้อย - สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายอยู่เต็มที่จนไม่สามารถ ละลายได้อีกที่อุณหภูมิขณะนั้น  หน่วยของความเข้มข้นของสารละลาย 1. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร คือ มวลของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 เช่น น้าเชื่อมมีความ เข้มข้นร้อยละ 35 โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่า สารละลาย 100 cm3 มีน้าตาลทรายละลายอยู่ 35 g 2. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร คือปริมาตรของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 เช่นแอลกอฮอล์ มีความเข้มข้นร้อยละ 70 โดยปริมาตร หมายความว่า สารละลาย 100 cm3 มีเอทานอลอยู่ 70 cm3 3. ร้อยละโดยมวลต่อมวล คือ มวลของตัวละลาย 100 g เช่น น้าเกลือมีความเข้มข้น ร้อยละ 30 โดยมวลต่อมวล หมายความว่า สารละลาย 100 g มีเกลือละลายอยู่ 30 g  การละลายของสาร จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนมาเกี่ยวข้อง โดยการละลายของสารบางชนิด หลังการละลายมีอุณหภูมิต่าลง จัดเป็นการละลายแบบดูดความร้อน และการละลายของสารบางชนิดหลังการ ละลายมีอุณหภูมิสูงขึ้น จัดเป็นการละลายแบบคายความร้อน  สารละลาย จาแนกออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้ความเป็นกรด – เบส เป็นเกณฑ์ในการจาแนก ดังนี้ 1. สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นสีแดง แสดงว่า สารนั้นมีสมบัติเป็นกรด 2. สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้าเงิน แสดงว่า สารนั้นมีสมบัติเป็นเบส 3. สารที่ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสองสี แสดงว่า สารนั้นมีสมบัติเป็นกลาง  อุปกรณ์ที่ใช้บ่งชี้ความเป็นกรด – เบสของสาร เช่น กระดาษลิตมัส (litmus paper) กระดาษพีเอช (pH paper) พีเอช มิเตอร์ (pH meter) ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ (universal indicator) เป็นต้น  อินดิเคเตอร์ เป็นสารที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรด – เบสของสารละลาย เช่น เมทิลเรดเมทิลออเรนจ์ ฟีนอล์ฟทาลีน เป็นต้น  ค่า pH คือ การระบุระดับความเป็นกรด – เบสของสารละลาย โดยสารละลายที่มี pH ต่ากว่า 7 มี สมบัติเป็นกรด สารละลายที่มี pH เท่ากับ 7 มีสมบัติเป็นกลาง และสารละลายที่มี pH มากกว่า 7 มีสมบัติเป็น เบส
  • 8. 8 ตาราง การเปรียบเทียบสมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบส สารละลาย 1. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (ผงฟู) 2. แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (น้าปูนใส) 3. โซเดียมไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ) 4. น้าสบู่ 1. กรดแอซีติก (น้าส้มสายชู) 2. น้ายาล้างห้องน้า 3. น้าอัดลม 4. น้ามะนาว 1. ทาปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม เกิดฟองแก๊ส และทาให้ อะลูมิเนียมผุกร่อน 2. ทาปฏิกิริยากับแอมโมเนียม- ไนเตรตเกิดแก๊สที่มีกลิ่นฉุน คือ แก๊สแอมโมเนีย 3. ทาปฏิกิริยากับน้ามันพืชหรือ น้ามันสัตว์จะได้สารประเภทสบู่ 1. กระดาษลิตมัส เปลี่ยนสีจากสีน้าเงินเป็นสีแดง เปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีน้าเงิน กรด เบส สมบัติของสารละลาย 5. ตัวอย่างสารในชีวิตประจาวัน 4. การเกิดปฏิกิริยา 1. ทาปฏิกิริยากับโลหะเกิดแก๊ส ไฮโดรเจนและทาให้โลหะ ผุกร่อน 2. ทาปฏิกิริยากับหินปูนเกิดแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ และทาให้ หินปูนผุกร่อน 3. กัดกร่อนพลาสติก 2. รสชาติ รสเปรี้ยว รสฝาด 3. สารละลายฟีนอล์ฟทาลีน ไม่เปลี่ยนสี เปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสีชมพูเข้ม
  • 9. 9 แบบฝึกหัดชุดที่ 1 ตอนที่ 1 จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่อง × หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง ……… 1. สารละลายเป็นสารเนื้อผสม ……… 2. สารประกอบทุกชนิดเป็นสารบริสุทธิ์ ……… 3. ธาตุทุกชนิดเป็นสารเนื้อเดียว ……… 4. สารเนื้อเดียวทุกชนิดเป็นสารประกอบ ……… 5. สารละลายบางชนิดเป็นธาตุ ……… 6. โลหะเป็นธาตุชนิดหนึ่ง ……… 7. สารละลายบางชนิดเป็นของผสม ……… 8. สารบริสุทธิ์บางชนิดเป็นของผสม ……… 9. สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย เป็นสารเนื้อผสม ……… 10. สารละลายทุกชนิดเป็นสารเนื้อเดียว …….... 11. สารแขวนลอยเป็นสารเนื้อเดียวที่มีลักษณะขุ่นมัวหรือตกตะกอน ……… 12. เมื่อผ่านลาแสงเล็กๆ เข้าไปในคอลลอยด์จะเห็นเป็นลาแสงเกิดจากการกระเจิงของแสง ……… 13. อิมัลซิฟายเออร์ (emulsifier) เป็นสารที่เติมลงไปเพื่อทาหน้าที่เป็นตัวประสาน ……… 14. สารประกอบของอิมัลชันในน้านมคือโปรตีนเคซีน ……… 15. น้าส้มสายชูสามารถรวมตัวเป็นน้ามันพืชได้ ……… 16. หมอกและน้ากะทิจัดเป็นคอลลอยด์ ……… 17. สารละลายสามารถผ่านกระดาษกรอง แต่ไม่ผ่านกระดาษเซลโลเฟน ……… 18. สารแขวนลอยคือสารที่มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่า 10-4 cm ……… 19. คอลลอยด์เกิดการตกผลึกได้ ……… 20. น้าย่อยกับไขมันมีตัวประสานคือน้าดี ตอนที่ 2 จงจาแนกสารที่กาหนดให้ต่อไปนี้ว่าเป็นสารละลาย ธาตุ สารประกอบ หรือสารเนื้อผสม 1. แก๊สออกซิเจน 5. ทองเหลือง 9. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 13. น้าส้มสายชู 2. ดินทราย 6. น้าตาลทราย 10. พริกเกลือ 14. แอลกอฮอล์ล้างแผล 3. สารหนู 7. น้าเชื่อม 11. ไอโอดีน 15. กามะถัน 4. ทองแดง 8. น้า 12. น้าเกลือ 1. สารละลาย ได้แก่.......................................................................................................................................... 2. ธาตุ ได้แก่..................................................................................................................................................... 3. สารประกอบ ได้แก่..................................................................................................................................... 4. สารเนื้อผสม ได้แก่.......................................................................................................................................
  • 10. 10 ตอนที่ 3 จงอธิบายหรือแสดงวิธีคานวณการหาความเข้มข้นของสารละลายต่อไปนี้ 1. ถ้าต้องการเตรียมน้าเกลือให้มีความเข้มข้นร้อยละ 5 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีวิธีอย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. แม่ค้าขนมหวานเตรียมน้าเชื่อมโดยใช้น้าตาลทราย 10 กรัม แล้วเติมน้าจนมีปริมาตร 200 ลูกบาศก์เมตร จะได้น้าเชื่อมมีความเข้มข้นเท่าใดโดยมวลต่อปริมาตร .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. แอลกอฮอล์ล้างแผลมีความเข้มข้นร้อยละ 70 โดยปริมาตร ในแอลกอฮอล์ล้างแผล 80 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีแอลกอฮอล์และน้าละลายอยู่เท่าใด ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... 4. เมื่อละลายเกลือแกง 5 กรัม ในน้า 45 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายที่ได้มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใด โดยมวลต่อปริมาตร ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... 5. น้าเกลือเข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อแบ่งน้าเกลือนี้อกมา 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเติมน้าจนครบ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร น้าเกลือที่ได้จะมีความเข้มข้นเท่าใด ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................
  • 11. 11 ตอนที่ 4 จงบอกการเปลี่ยนแปลงสีของกระดาษลิตมัสที่เกิดขึ้น เมื่อทดสอบกับสารต่อไปนี้ โดยนาตัวอักษร ก ข หรือ ค ไปใส่ที่ด้านหน้าของแต่ละข้อ ก. สีแดงเมื่อทดสอบกับกระดาษลิตมัสสีน้าเงิน ข. สีน้าเงินเมื่อทดสอบกับกระดาษลิตมัสสีแดง ค. ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อทดสอบกับกระดาษลิตมัสมีทั้งสีแดงและสีน้าเงิน .............1. น้าอัดลม ………….6. ปุ๋ยยูเรีย .............2. น้าปูนใส ................7. โซดาแอช .............3. น้าขี้เถ้า ................8. น้าย่อยในกระเพาะอาหาร .............4. น้ากลั่น ................9. ดินประสิว .............5. น้ามะนาว ..............10. น้าโซดา ตอนที่ 5 จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 1. กรดอินทรีย์และกรดแร่เป็นกรดอ่อนหรือไม่ เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... 2. กรดทาปฏิกิริยากับเหล็กได้แก๊สไฮโดรเจนเสมอใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... 3. น้าโซดา น้าส้มสายชู น้ามะนาว มีสมบัติเป็นกรดทั้งหมดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................... 4. สารใดๆ ที่มีค่า pH ต่ากว่า 7 แสดงว่ามีสมบัติเป็นเบสใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................... 5. นาน้ามันมะพร้าวผสมกับเบส จะได้สบู่เกิดขึ้นใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................... 6. เมื่อทดสอบน้าปูนใสด้วยกระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นสีแดงใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด...................................................................................................................................................... 7. ดอกอัญชัญ ดอกชบา ดอกพู่ระหง สามารถนามาใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายแทน กระดาษลิตมัสได้หรือไม่ เพราะเหตุใด............................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 8. พิจารณาจากน้านม เลือด น้าฝน และน้าดี เลือดมีค่า pH สูงสุดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด................................... ..........................................................................................................................................................................
  • 12. 12 หน่วยที่ 3 การเคลื่อนที่ของวัตถุ ปริมาณทางกายภาพแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ปริมาณสเกลาร์ เป็นปริมาณที่ขนาดเพียงอย่างเดียว และ 2. ปริมาณเวกเตอร์ เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง การเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวข้องกับระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตามแนวทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ จากตาแหน่งเริ่มต้นไปยังตาแหน่ง สุดท้าย การกระจัด คือ เวกเตอร์ที่ชี้ตาแหน่งสุดท้ายของวัตถุเทียบกับตาแหน่งเริ่มต้น อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึ่งหน่วยเวลา การเคลื่อนที่ของวัตถุ คือ การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุนั่นเอง เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ 1. ระยะทาง 2. การกระจัด 3. อัตราเร็ว 4. ความเร็ว 5. ความเร่ง 6. เวลา ตาแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด ( Position Distance and Displacement ) ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์ การกระจัด คือ ระยะที่วัดจากจุดตั้งต้นของการเคลื่อนที่ ตรงไปยังตาแหน่งที่วัตถุอยู่ในขณะนั้น โดยไม่ สนใจว่าวัตถุจะมีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นอย่างไร จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ในขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ ได้ระยะทางและการกระจัดในเวลาเดียวกัน และต้องใช้เวลาในการเคลื่อนที่ จึงทา ให้เกิดปริมาณสัมพันธ์ขึ้น ปริมาณดังกล่าวคือ อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นเปริมาณสเกลลาร์ หน่วยในระบบ เอสไอ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที
  • 13. 13 ความเร็ว คือ ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ใช้ หน่วยเดียวกับอัตราเร็ว สมการแสดงความสัมพันธ์ของอัตราเร็ว ระยะทาง และเวลาเป็นดังนี้ ให้ v เป็นค่าอัตราเร็วหรือความเร็ว s เป็นระยะทางหรือการกระจัด t เป็นเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ จะได้ความสัมพันธ์ คือ อัตราเร็ว และความเร็ว เป็นปริมาณที่แสดงให้ทราบลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุ ถ้าในทุก ๆ หน่วยเวลาของ การเคลื่อนที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยขนาดของอัตราเร็ว หรือ ความเร็วเท่ากันตลอดการเคลื่อนที่ เรียกว่าวัตถุเคลื่อนที่ ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอหรืออัตราเร็วคงที่ ถ้าพิจารณาแล้วพบว่าในแต่ละหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่วัตถุ เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วหรือความเร็วที่แตกต่างกัน กล่าวว่า วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่ง หรือ ความเร่ง ในกรณีนี้ การหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็ว หาได้สองลักษณะคือ อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง หรือความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วใน ช่วงเวลาสั้น ๆ ช่วงใดช่วงหนึ่งของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเฉลี่ยหรือความเร็วเฉลี่ย เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วหลังจากมีการเคลื่อนที่ โดย คานวณหาจากการเฉลี่ยระยะทางทั้งหมดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่ หรือการเฉลี่ยการ กระจัดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา
  • 14. 14 แบบฝึกหัดที่ 3 การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตอนที่ 1 จงนาอักษรหน้าข้อความด้านขามาเติมลงในช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือที่สัมพันธ์กัน …………1. มะม่วงสุกหล่นจากต้น ก. แรงหมุน …………2. ดอกยางรถยนต์ ข. แรงสู่ศูนย์กลาง ...............3. เครื่องตัดกระดาษ ค. คานอันดับ 1 …………4. การผลักประตูให้เปิดออก ง. คานอันดับ 2 …………5. แรงรวมของแรงย่อยที่กระทาต่อวัตถุชิ้นเดียวกัน จ. คานอันดับ 3 …………6. ไม้กวาด ฉ. แรงโน้มถ่วง ..............7. การขว้างลูกบอลให้กระเด้งออกมาจากกาแพง ช. แรงเสียดทาน ..............8. แรงที่มีทิศทางเข้าหาศูนย์กลางของวงกลม ซ. แรงลัพธ์ ..............9. ความเร่ง ฌ. การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง ............10. การฉีดน้าจากสายยาง ญ. แรงดึงในเส้นเชือก ............11. กรรไกรตัดกระดาษ ฎ. ปริมาณเวกเตอร์ ............12. แรงที่เกิดขึ้นในขณะแขวนวัตถุ ฏ. ปริมาณสเกลาร์ ฐ. กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน ฑ. กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน ตอนที่ 2 จงตอบคาถาม หรือแสดงวิธีคานวณให้ถูกต้อง 1. การกระจัด ระยะทาง เวลา อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง น้าหนัก มวล สนามไฟฟ้า ความหนาแน่น จากปริมาณดังกล่าวข้างต้น ให้จาแนกชนิดของปริมาณให้ถูกต้อง 1.1 ปริมาณเวกเตอร์ ได้แก่............................................................................................................................... 1.2 ปริมาณสเกลาร์ ได้แก่................................................................................................................................ 2. กาหนดเวกเตอร์ ดังนี้ A B C จงหาเวกเตอร์ A + B + C (เมื่อ A = 1 หน่วย B = 3 หน่วย และ C = 3 หน่วย)
  • 15. 15 3. รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง 50 กิโลเมตร ในเวลา 30 นาที หลังจากนั้นแล่นไปทาง ทิศเหนือ 30 กิโลเมตร ในเวลา 15 นาที จงเขียนแผนผังแสดงการเดินทาง และคานวณหาระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็วของรถคันนี้ (มาตรส่วน 1 cm: 10 Km) 4. เด็กคนหนึ่งเดินทางจากบ้านไปทางทิศตะวันออกถึงตลาดเป็นระยะทาง 6 กิโลเมตร แล้วเดินต่อไปทางทิศใต้ อีก 8 กิโลเมตร ก็ถึงโรงเรียนใช้เวลาไป 20 นาที จงเขียนแผนผังแสดงการเดินทาง และคานวณหา ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็ว (มาตรส่วน 1 cm: 1 Km)
  • 16. 16 หน่วยที่ 4 พลังงานความร้อน พลังงานความร้อน หรือ พลังงานอุณหภาพ เป็น รูปแบบหนึ่งของพลังงาน มนุษย์เราได้พลังงานความ ร้อนมาจากหลายแห่งด้วยกัน เช่น จากดวงอาทิตย์, พลังงานในของเหลวร้อนใต้พื้นพิภพ , การเผาไหม้ของ เชื้อเพลิง, พลังงานไฟฟ้า, พลังงานนิวเคลียร์, พลังงานน้าในหม้อต้มน้า, พลังงานเปลวไฟ ผลของความร้อนทา ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น อุณหภูมิสูงขึ้น หรือมีการเปลี่ยนสถานะไป และนอกจากนี้แล้ว พลังงานความ ร้อน ยังสามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได้อีกด้วย หน่วยที่ใช้วัดปริมาณความร้อน คือ แคลอรี่ โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า แคลอรี่มิเตอร์ อุณหภูมิและหน่วยวัด ในชีวิตประจาวันเราจะคุ้นเคยกับการใช้พลังงานความร้อน (thermal energy) อยู่เสมอ พลังงานความร้อน เป็นพลังงานที่สามารถถ่ายเทจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เมื่อวัตถุ ดูดกลืนพลังงานความร้อนจะทาให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้น จึงเกิดการถ่ายเทพลังงานความร้อนให้กับวัตถุอื่นที่มี อุณหภูมิต่ากว่า ซึ่งต้นกาเนิดของพลังงานความร้อนมาจากดวงทิตย์ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การขัดถูกันของ วัตถุ และจากพลังงานไฟฟ้า วัตถุเมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น อุณหภูมิเป็นปริมาณที่บอกให้ ทราบถึงระดับความร้อนของวัตถุ เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิมีหลายชนิดที่นิยมใช้กันมากคือ เทอร์มอมิเตอร์ ซึ่ง เป็นเครื่องมือที่ใช้หลักการขยายตัวของของเหลวเมื่อได้รับความร้อน มีลักษณะเป็นหลอดแก้วยาว ปลายทั้งสอง ข้างปิด ปลายหลอดข้างหนึ่งเป็นกระเปาะ ซึ่งบรรจุของเหลวที่ขยายตัวได้ง่ายเมื่อได้รับความร้อน และหดตัวได้ ง่ายเมื่อได้รับความเย็น ของเหลวที่บรรจุอยู่ภายในเทอร์มอมิเตอร์นิยมใช้ปรอทซึ่งมีสีเงิน แต่บางทีก็ใช้ แอลกอฮอล์ผสมสีบรรจุในเทอร์มอมิเตอร์แทนปรอท หน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิที่นิยมกันอย่างแพร่หลายคือ องศาเซลเซียส ( ํ C) องศาฟาเรนไฮต์ ( ํ F) และเคล วิน (K) โดยกาหนดว่า อุณหภูมิที่เป็นจุดเยือกแข็งของน้าบริสุทธิ์ คือ 0 องศาเซลเซียส หรือ 32 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 273 เคลวิน และอุณหภูมิที่เป็นจุดเดือดของน้าบริสุทธิ์ คือ 100 องศาเซลเซียส หรือ 212 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 373 เคลวิน - การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของสาร ได้แก่ การนาความร้อนเป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยการสั่นของโมเลกุลของสาร การพาความร้อน เป็นการถ่ายโอนพลังงาน ความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปด้วย การแผ่รังสีความร้อน เป็นการถ่ายโอนพลังงาน ความร้อนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - วัตถุที่แตกต่างกันมีสมบัติในการดูดกลืนและคายความร้อนได้ต่างกัน - เมื่อวัตถุสองสิ่งอยู่ในสมดุลความร้อน วัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน
  • 17. 17 แบบฝึกหัดที่ 4 พลังงานความร้อน ตอนที่ 1 จงนาตัวอักษรทางขวามือมาเติมลงในช่องว่างทางซ้ายมือที่สัมพันธ์กัน ………..1. ลมบก ก. ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง ………..2. ตัวควบคุมอุณหภูมิ ข. เคลวิน ………..3. พลังงานศักย์ ค. พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ ………..4. การนาความร้อน ง. พลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุที่อยู่นิ่ง ………..5. ลมทะเล จ. เกิดในเวลากลางคืน ………..6. การพาความร้อน ฉ. เกิดในเวลากลางวัน ……….7. พลังงานจลน์ ช. การอาบน้า ……….8. กฎการอนุรักษ์พลังงาน ซ. ช้อนโลหะจุ่มในน้าร้อน ……….9. งาน ฌ. ทองเหลืองและเหล็ก ……...10. หน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิ ญ. พลังงานไม่สูญหายแต่เปลี่ยนรูปใหม่ได้ ตอนที่ 2 จงตอบคาถามให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 1. เครื่องมือที่ใช้วัดเพื่อบอกระดับความร้อน เรียกว่า............................................................................................. 2. ที่จับหูหม้อที่ทาจากพลาสติกสีดาเพื่อป้องกันสิ่งใด........................................................................................... 3. การถ่ายโอนความร้อนมี.........วิธี ได้แก่............................................................................................................. 4. การถ่ายโอนความร้อนมีหลักการคือ.................................................................................................................. 5. การถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีใดที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลาง.................................................................................... 6. การเกิดลมบก-ลมทะเลเกิดจากการถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีใด....................................................................... 7. การหุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า เกี่ยวข้องกับพลังงานรูปใดบ้าง..................................................................... 8. ชาวนาที่ใส่เสื้อสีดาอยู่กลางแดดจะรู้สึกร้อนกว่าคนที่ใส่เสื้อสีอื่น เพราะ......................................................... 9. สารชนิดหนึ่งมีจุดเดือดที่ 75 องศาเซลเซียส จะมีอุณหภูมิกี่องศาเคลวิน (แสดงวิธีคานวณ) .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 10. วัดอุณหภูมิของอากาศในห้องเรียนได้ 25 องศาเซลเซียส จะมีค่าเท่ากับกี่องศาฟาเรนไฮต์ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
  • 18. 18 หน่วยที่ 5 เรื่องบรรยากาศ บรรยากาศของโลก คือ อากาศที่ห้อหุ้มโลกของเราอยู่โดยรอบ โดยมีขอบเขตนับจากระดับน้าทะเลขึ้นไป ประมาณ 1000 กม. ที่บริเวณใกล้พื้นดินอากาศจะมีความหนาแน่นมากและความหนาแน่นของอากาศจะลดลง เมื่อสูงขึ้นไปจากระดับพื้นดินความสาคัญ  ช่วยปรับอุณหภูมิบนพื้นผิวโลกไม่ให้สูงหรือต่าเกินไป เพื่อให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ โดย ปกติในช่วงกลางวันความร้อนจากดวงอาทิตย์จะถูกอากาศ ที่ห้อหุ้มโลกไว้บางส่วน ทาให้ร้อนอย่างช้าๆ  ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีและอนุภาคต่างๆ ที่มาจากนอกโลก องค์ประกอบบรรยากาศโลก 1. ออกซิเจน เป็นส่วนประกอบที่สาคัญ และมีปริมาณอันดับ 2 ในส่วนประกอบของบรรยากาศโลก คือมี ประมาณร้อยละ 20.947 โดยปริมาตร 2. ไนโตรเจน เป็นส่วนประกอบที่มีปริมาณอันดับ 1 ในส่วนประกอบของบรรยากาศของโลก มากมายถึง ร้อยละ 78 3. อาร์กอน เป็นส่วนประกอบของบรรยากาศโลกแค่ ร้อยละ 1 การแบ่งชั้นบรรยากาศ บรรยากาศแบ่งไม่ได้แบ่งเป็นชั้นที่มองเห็นได้ แต่จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์สามารถแบ่งชั้น บรรยากาศได้เป็น 5 ชั้น ดังนี้ โทรโพสเฟียร์ (troposphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่สูงจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 15 กม. อุณหภูมิจะค่อยๆลดลงตามระดับความสูง และเป็นชั้นที่เกี่ยวข้องกับสภาพอากาศด้วย. มีปรากฏการณ์ที่สาคัญ คือ ลม เมฆ พายุ หิมะ สตราโทสเฟียร์ (stratosphere) เป็นชั้นที่มีเสถียรภาพต่าสุด มีความสูงตั้งแต่ 15-50 กม. อุณหภูมิในระดับล่างของชั้นนี้จะคงที่จนถึง ระดับความสูง 20 กม. จากนั้นอุณหภูมิจะค่อยๆสูงขึ้น ชั้นนี้เป็นชั้นที่เครื่องบินจะบินเพราะไม่มีความแปรปรวน ของสภาพอากาศและเครื่องบินทั้งหมดที่บินในชั้นจะนี้จะเป็นเครื่องบินไอพ่น มีโซสเฟียร์ (mesosphere) เป็นช่วงบรรยากาศที่อยู่สูงจากพื้นดินในช่วง 50-80 กม.อุณหภูมิลดลงตามระดับความสูง ตั้งแต่ชั้นแรก ถึงชั้นนี้อากาศยังเป็นเนื้อเดียวกันอยู่ ทั้ง 3 ชั้นรวมทั้งหมดเรียกว่า โฮโมสเฟียร์ (homosphere) บรรยากาศมีก๊าซ โอโซนอยู่มากซึ่งจะช่วยสกัดแสงอัลตร้า ไวโอเรต (UV) จาก ดวงอาทิตย์ไม่ให้มาถึงพื้นโลกมากเกินไป เทอร์โมสเฟียร์ (thermosphere) เป็นช่วงบรรยากาศที่มีระดับความสูง 80-500 กม. อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (เนื่องจากใกล้ดวง อาทิตย์มากขึ้น) จนถึงระดับประมาณ 100 กม. จากนั้นอัตราการสูงขึ้นของอุณหภูมิจะลดลง อุณหภูมิเฉลี่ยของ
  • 19. 19 ชั้นนี้คือ 227-1727 องศาเซลเซียส ชั้นนี้ยังมีแก็สที่เป็นประจุไฟฟ้าเรียกว่า ไอออน สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุบาง ชนิดได้ เราอาจเรียกชั้นนี้ว่า ไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere) ก็ได้ เอกโซสเฟียร์ (exosphere) เริ่มตั้งแต่ 500 กม.จากผิวโลกขึ้นไป บรรยากาศชั้นนี้เจือจางมากจนไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชั้น บรรยากาศ องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียม ไม่มีรอยต่อที่ชัดเจนระหว่างบรรยากาศกับ อวกาศ มีอุณหภูมิประมาณ 726 องศาเซลเซียส ถึงแม้อุณหภูมิจะสูงแต่เนื่องจากอากาศเบาบางมาก จึงแทบไม่มี ผลต่อยานอวกาศ บรรยากาศนี้ถือว่าไม่ดีนัก - ส่วนประกอบของอากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน 78.08% แก๊สออกซิเจน 20.95% แก๊สอาร์กอน 0.93% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% และแก๊สอื่น ๆ 0.01% - บรรยากาศ แบ่งเป็นชั้นตามอุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน - อุณหภูมิของอากาศ คือ ค่าที่ใช้บอกถึงระดับความร้อนหรือเย็นของอากาศ โดยใช้เทอร์มอมิเตอร์เป็น เครื่องมือวัด - ความดันอากาศ คือ แรงดันของอากาศต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่รองรับแรงดัน โดยใช้บารอมิเตอร์เป็น เครื่องมือวัด - ปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ 1. ความดันอากาศขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ เมื่ออากาศร้อน อากาศมีความหนาแน่นน้อย ความดันอากาศต่า 2. ความดันอากาศขึ้นอยู่กับความชื้น อากาศชื้นมีไอน้า จะมีความดันอากาศต่า 3. ความดันอากาศขึ้นอยู่กับความสูง ยิ่งสูง อากาศยิ่งเบาบาง ความดันอากาศจึงลดลง - ความชื้นของอากาศ คือ สภาวะที่อากาศมีไอน้าผสมอยู่ โดยน้าจะระเหยเป็นไอไปปะปนในอากาศ ปริมาณของน้าที่มีในอากาศขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศ ถ้าอากาศมีอุณหภูมิสูง จะสามารถรับไอน้าได้มากกว่า อากาศที่มีอุณหภูมิต่า โดยใช้ไฮโกรมิเตอร์ และไซโครมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัด - ลม คือ มวลของอากาศที่เกิดการเคลื่อนที่ โดยใช้ศรลมสาหรับวัดทิศทางลม แอนนิมอนิเตอร์สาหรับวัด ความเร็วของลม และแอโรเวนสาหรับวัดทิศทางและความเร็วของลม - ลมบก คือ ลมที่พัดจากฝั่งออกสู่ทะเล เกิดในเวลากลางคืน - ลมทะเล คือ ลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่ฝั่ง เกิดในเวลากลางวัน - พายุหมุนเขตร้อน คือ พายุที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อน โดยมีลมพัดหมุนเวียนเข้าหา ศูนย์กลางความกดอากาศต่า - พายุฟ้าคะนอง คือ ปรากฏการณ์ของอากาศซึ่งมีกระแสลมแรง ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฝน การเกิดเมฆ พายุฟ้าคะนอง มักจะเกิดขึ้นในบริเวณอากาศร้อน และมีความชื้นมาก - มรสุมหรือลมมรสุม เป็นลมที่พัดตามฤดูกาล เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดินและ พื้นน้า
  • 20. 20 - ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้หรือลมมรสุมฤดูร้อน เป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่พื้นดินโดยพัดจาก มหาสมุทรอินเดียผ่านอ่าวไทย เกิดในฤดูร้อน เป็นลมที่นาความชุ่มชื้นหรือฝนจากทะเลมาสู่แผ่นดิน - ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือลมมรสุมฤดูหนาว เป็นลมพัดจากใจกลางทวีปที่มีความกด อากาศสูงไปสู่ทะเล หรือบริเวณที่มีความกดอากาศต่า โดยพัดจากประเทศจีนและไซบีเรีย ผ่านภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นลมที่นาความแห้งแล้งและความหนาวเย็น - เมฆ คือ ละอองน้าที่เกิดจากไอน้าในอากาศลอยตัวสูงขึ้นไปกระทบกับอากาศเย็นเบื้องสูงรวมตัวเป็น กลุ่มก้อน มองเห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบา - หมอก คือ เมฆที่เกิดในระดับใกล้พื้นดิน เกิดจากไอน้าในอากาศที่ล่องลอยในอากาศกระทบกับความ เย็นของอากาศเบื้องต่า กลั่นตัวเป็นละอองน้าเล็ก ๆ มองเห็นเป็นไอสีขาว ลอยไล่เลี่ยกับพื้นโลก - ฝน คือ หยาดน้าฟ้า ที่มีรูปลักษณะเป็นเม็ดของเหลว คือน้าฝน เกิดจากไอน้าที่กลั่นตัวเป็นสายของ น้า แล้วรวมตัวกันมีขนาดโตจนมีน้าหนักมากพอที่จะตกลงสู่พื้นโลก - น้าค้าง คือละอองไอน้าที่รวมตัวเป็นหยดน้าที่เกาะตามใบไม้ใบหญ้าใกล้พื้นดิน ส่วนมากจะเกิดตอน ใกล้สว่าง - น้าค้างแข็ง คือ ผลึกน้าแข็งที่เกาะตัวเป็นชั้นบาง ๆ บนวัตถุหรือพื้นผิวของใบไม้ใบหญ้า ที่อุณหภูมิ ของอากาศเย็นลงต่ากว่าจุดเยือกแข็ง โดยหยดน้ากลายเป็นน้าแข็ง - ลูกเห็บ หมายถึง เกล็ดน้าแข็งซึ่งมีรูปร่างและขนาดต่าง ๆ กัน แต่มีขนาดโต - การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายลักษณะอากาศในปัจจุบัน 1 วัน หรือล่วงหน้าในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ครอบคลุมแต่ละพื้นที่ของจังหวัดหรือแต่ละภาคของประเทศ - สภาพลมฟ้าอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงบนโลกทาให้เกิดพายุ ปรากฏการณ์เอลนิโญ ลานีญา ซึ่งส่งผลต่อ การดารงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม - เอลนิโญ คือ การที่อุณหภูมิที่ผิวน้าทะเลบริเวณตอนกลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขต ร้อนมีค่าสูงกว่าปกติ และแผ่ขยายกว้างไกลออกไป - ลานีญา คือ การที่อุณหภูมิที่ผิวน้าทะเลบริเวณตอนกลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขต ร้อน มีค่าต่ากว่าปกติ เป็นปรากฏการณ์ที่มีลักษณะตรงข้ามกับเอลนิโญ - ปรากฏการณ์เรือนกระจก หมายถึง การที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทาตัวเสมือนกระจกที่ยอมให้ รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมายังผิวพื้นโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวที่โลกคายออกไป ไม่ให้หลุดออกนอกบรรยากาศ ทาให้โลกไม่เย็นจัดในเวลากลางคืน บรรยากาศเปรียบเสมือนผ้าห่มผืนใหญ่ที่ คลุมโลกไว้ แก๊สที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมาได้แต่ไม่ยอมให้รังสีคลื่นยาวที่โลกคาย ออกไปหลุดออกนอกบรรยากาศ เรียกว่า แก๊สเรือนกระจก
  • 21. 21 - แก๊สเรือนกระจก ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน และ แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ - ภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดการละลายของธารน้าแข็ง ระดับน้าทะเลสูงขึ้น การกัดเซาะของชายฝั่ง เพิ่มขึ้น น้าท่วม ไฟป่า ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ และทาให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป
  • 22. 22 แบบฝึกหัดที่ 5 บรรยากาศ และลมฟ้าอากาศ ตอนที่ 1 จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ไม่ถูกต้อง ………...1. หยาดน้าฟ้า คือ น้าที่อยู่ในสถานะของแข็งหรือของเหลว ที่ตกลงมาจากบรรยากาศสู่พื้นโลก …………2. เครื่องมือวัดปริมาณน้าฝนเรียกว่า rain gauge …………3. บริเวณที่มีความกดอากาศสูงจะเกิดพายุดีเปรสชั่น …………4. ความแตกต่างของอุณหภูมิของอากาศเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดลม …………5. กระแสลมพัดเวียนออกจากบริเวณความกดอากาศต่าในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา …………6. ลมมรสุมฤดูร้อนเป็นลมที่พัดจากทะเลและมหาสมุทรเข้าสู่ภาคพื้นทวีป …………7. ลมประจาเวลา คือ ลมที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างกัน …………8. ลมบกเป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่ฝั่ง …………9. ลมทะเลเกิดในเวลากลางคืน ………..10. พายุดีเปรสชันมีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางไม่เกิน 63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ………..11. พายุไต้ฝุ่นเกิดบริเวณอ่าวเบงกอล ………..12. ศรลมเป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจวัดทิศทาลม ………..13. แอโรเวนเป็นเครื่องมือที่วัดเฉพาะความเร็วลม ………..14. บารอมิเตอร์แบบปรอทเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันบรรยากาศ ………..15. ความชื้นในอากาศคือปริมาณของไอน้าในอากาศ ………..16. การพยากรณ์อากาศระยะนานเป็นการพยากรณ์อากาศตั้งแต่ 10 วันขึ้นไป ………..17. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นแก๊สสาคัญที่เป็นตัวการทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ………..18. ลม คือ มวลอากาศที่เคลื่อนที่ในทิศทางใดทิศทางหนึ่งในแนวระดับ ………..19. น้าค้างเกิดจากการกลั่นตัวของไอน้าในอากาศที่ระดับพื้นผิวโลก ………..20. ไอน้าจะเกิดเป็นน้าค้างแข็งเมื่ออากาศเย็นลงจนถึงจุดเยือกแข็ง ตอนที่ 2 จงตอบคาถามหรือแสดงวิธีคานวณให้ถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์ 1. บรรยากาศชั้นใดที่มีแก๊สที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลกมากที่สุด...................................... 2. บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีความสาคัญอย่างไร.......................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ขณะที่เรากาลังเดินทางขึ้นบนภูเขาสูงจะรู้สึกหูอื้อ สาเหตุเกิดจาก.................................................................... ........................................................................................................................................................................... 4. อากาศอิ่มตัวด้วยไอน้า หมายถึง....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 5. ที่จังหวัดปราจีนบุรีวัดปริมาณน้าฝนได้ 70 มิลลิเมตร แสดงว่าฝนตกมีความแรงขนาด....................................