SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ประวัติความเปนมา โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี


                                               โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี มีชื่อยอวา รสจ. เรียกเปนภาษาอังกฤษ
                                               วา Education Section of Chantaburi Diocese ใชชื่อยอวา E.S.C.D. เปนกลุมโรงเรียน
                                               ภายใตเจาของเดียวกัน คือสังฆมณฑลจันทบุรี ซึ่งมีพระสังฆราชลอเรนชเทียนชัย สมาน
                                               จิต เปนประมุขสูงสุด ในปจจุบันบริหารงานโดยผานทางพระสงฆ ซิสเตอรและฆราวาสใน
                                               ตําแหนงผูรับใบอนุญาตผูจัดการและครูใหญตามลําดับ


                                               กว า จะมาเป น ป ก แผ น มั่ น คงในป จ จุ บั น โรงเรี ย นของสั ง ฆมณฑลได เ ริ ม ก อ ตั้ ง ล ม ลุ ก
                                               คลุกคลาน ผานรอนผานหนาวมาหลายยุคหลายสมัยดวยกัน รวม 100 ป ดังพอจะสรุปยอๆ
                                               ไดเปน 3 ชวงที่สําคัญ คือ


                                               ชวงแรก ระยะแรกตั้งกลุมคริสตชนป ค.ศ. 1900 -1940 ในระยะเริ่มแรกนี้ โรงเรียนที่
                                               เกิดขึ้นจะอยูในลักษณะ “ โรงเรียนวัด ” เพราะเมื่อ พระสงฆไดตั้งกลุมคริสตชน และสราง
                                               วัดขึ้นมาแลวสิ่งหนึ่งที่ขาดเสียไมไดก็คือ การจัดหาสถานที่เพื่อใชในการสอนคําสอน บาง
                                               ทีมีการดัดแปลงเรือนไม 2 ชั้น ชั้นบนใชเปนวัด
                                               สวนชั้นลางใชสอนคําสอน


                                             ในขณะเดียวกันก็มีการสอนวิชาการอื่น ๆ ดว ย
แตมักสอนเปนภาษาวัด จุดมุงหมายหลักก็คือ เพื่อใหเด็ก ๆ มีโอกาสเรียนคําสอนอยูใกลชิด
กับวัด ตอ มามีก ารขยับขยาย สรา งเป นโรงเรีย นขึ้น เพื่อ เปด โอกาสให เด็ก ที่ไมไ ดเรี ยนคํ า
สอนไดเลาเรียนบาง แตก็มุงหนักไปทางศาสนาและบทสวด
ชวงที่สอง วิกฤติการณสงครามอินโดจีน ถึงยุคฟนฟู (ป ค.ศ. 1941 -1980 ) ป ค.ศ. 1941 เกิดสงคราสมและความขัดแยงในแถบอิน
โดจีนสรางความวุนวายไปทั่วอาณาบริเวณนี้ วิกฤติการณอินโดจีนและภัยที่เกิดขึ้นในระหวางที่มีสงครามไดมีผลกระทบตอวัด โรงเรียน
และกลุมคริสตชนเปนอยางมาก วัดบางแหงถูกเผาโรงเรียนถูกปด กลุมคริสตชนบางแหงถูกกลาวหาวาไมรักชาติ


โรงเรียนถูกมองว าเป นโรงเรี ยนของฝรั่ งเศส ทางราชการไดเ พงเล็งจั บตาดู
ความเคลื่ อ นไหวการดํ า เนิ น กิ จ การของโรงเรี ย น ทํ า ให โ รงเรี ย นที่ เ ริ่ ม
ดําเนินการอยูนั้นตองปดตัวลงเกือบทุกโรงเรียน ยกเวน โรงเรียนดาราสมุทรที่
ศรีราชาเทานั้น ที่ยังเปดสอนอยูอยางตอเนื่อง


ภายหลังสงครามอินโดจีนสงบ โรงเรียนของวัดหลายแหงไดฟนฟู และกําเนิด
ขึ้นมา แตมีการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปพอสมควร
เชน การปรับใหเขากับระเบียบกฎเกณฑ ของราชการ มีการขออนุญาตเปด
โรงเรียนอยางเปนทางการ มีรัฐ บาล คอยควบคุมทิศ ทางและเป าหมายของ
โรงเรียนจึงมิใชเนนแตเพียงสอนคําสอนเทานั้น


ชวงที่สาม วิกฤติการณแหงความอยูรอดของโรงเรียนเอกชนสูความเปนหนึ่ง
เดียว ของกลุมโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี (ป ค.ศ. 1981 –
ปจจุบัน) ในชวงนีถือวาเปนชวงที่โรงเรียนตางๆ ของสังฆมณฑลไดมีรูปแบบ
                  ้
การดําเนินที่ชัดเจน เปนปกแผนมั่นคงมากขึ้น


                                    ในหวงเวลาตั้งแตป ค.ศ. 1981 เปนตนมา แมอุปสรรคตาง ๆ ในชวงวิกฤติการณแหงสงครามอินโดจีน
                                    ผานพนไปแลว          การดําเนินการโรงเรียนในสังฆมณฑลยังคงมีปญหาอุปสรรคตามมาสวนหนึ่งคง
                                    เนื่องมาจากคาใชจายในกิจการของโรงเรียนสูงขึ้น     ทั้งในดานการพัฒนาการศึกษา         และคาจาง
                                    เงินเดือนครู อีกทั้งโรงเรียนของวัดมีเปาหมายบริหารใหลูกหลานคริสตังค เพื่อจะไดเรียนคําสอน จึง
ไมเก็บคาเลาเรียน หรือเก็บคาเลาเรียน แตเพียงเล็กนอยเทานั้น กอปรกับทางรัฐบาล
                                              ในขณะนั้นมีนโยบายลดจํานวนโรงเรียนเอกชนที่ ไมมีคุณภาพและจะไม ชวยเหลือเงิ น
                                              อุดหนุนอีกตอไปกอใหเกิด “ กระแสวิกฤติการณแหงการอยูรอด ” ของโรเรียนเอกชน
                                              โดยทั่วไป โรงเรียนของสังฆมณฑลในขณะนั้ น ซึ่งสวนใหญอยูตามวัดทั่วสังฆมณฑล
                                              ไดรับผลกระทบกระเทือนเปนอยางมาก


                                              บรรดาพระสงฆและฆราวาสที่ดูแล
                                              รับผิดชอบ และมีสวนรวมดําเนินการกิจการ
                                              โรงเรียนของสังฆมณฑลเหลานั้นตางรูสึก
                                              ตระหนัก และเปนหวงในความอยูรอดของ
                                              โรงเรียนจึงไดหาแนวทางเขามารวมงาน
และรวมมือชวยเหลือกัน เพื่อฟนฝาอุปสรรคเหลานี้รวมกัน
ดังนั้นจึงไดมีการประชุมคณะผูบริหารทั้งหมดจํานวน 11 โรงเรียนเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 24
มิถุนายน 1982 และไดแตงตั้งคณะกรรมการโรงเรียนสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ชุดแรกขึ้น
อันประกอบดวยคุณพอวีระ ผังรักษ คุณพอสงา จันทรสมศักดิ์ คุณพอบุญยง วรศิลป คุณพอ
บรรจง พานุพันธ ม.กมล เอี้ยพิน และ ซิสเตอรจํารัส อานามนารถ


กลุมโรงเรียนของสังฆมณฑลจันทบุรีไดมีการประชุมอยางสม่ําเสมอเพื่อวางแผนแนวทาง
ปฏิบัติ มีรูปแบบและโครงการทํางานรวมกันของโรงเรียนสังฆมณฑล โดยผานทาง
คณะกรรมการชุดตาง ๆ ที่ไดรับแตงตั้งและเลือกตั้งมาตามวาระตามยุคสมัย




                                                                                                              www.escd.or.th

More Related Content

Viewers also liked

20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배
20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배
20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배Myeongnyun Mission Church
 
3000tuphienamvagiainghia
3000tuphienamvagiainghia3000tuphienamvagiainghia
3000tuphienamvagiainghiaThanh Huyen Vo
 
Indoor fountains
Indoor fountainsIndoor fountains
Indoor fountainsmariat1873
 

Viewers also liked (6)

Cynthia
CynthiaCynthia
Cynthia
 
20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배
20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배
20150322 주일예배, 호14장01 16절, 다시 복음으로, 창립기념예배
 
3000tuphienamvagiainghia
3000tuphienamvagiainghia3000tuphienamvagiainghia
3000tuphienamvagiainghia
 
Anexo sesion 1 ugel
Anexo sesion 1 ugelAnexo sesion 1 ugel
Anexo sesion 1 ugel
 
Neurolinguistica
NeurolinguisticaNeurolinguistica
Neurolinguistica
 
Indoor fountains
Indoor fountainsIndoor fountains
Indoor fountains
 

Similar to History

หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555waranyuati
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์Tongsamut vorasan
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
เทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชาเทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชา
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชาapichetniyomdecha
 
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภาเทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภาkamonnet
 
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
เทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์รามเทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์ราม
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์รามTooNz Chatpilai
 
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
เทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวีเทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวี
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวีsawitreesantawee
 
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhiChoen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhiKridgarin
 

Similar to History (20)

หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
History
HistoryHistory
History
 
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
เทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชาเทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชา
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
 
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภาเทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
 
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
เทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์รามเทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์ราม
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
 
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
เทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวีเทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวี
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
 
เทศบาล5
เทศบาล5 เทศบาล5
เทศบาล5
 
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhiChoen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
 

History

  • 1. ประวัติความเปนมา โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี มีชื่อยอวา รสจ. เรียกเปนภาษาอังกฤษ วา Education Section of Chantaburi Diocese ใชชื่อยอวา E.S.C.D. เปนกลุมโรงเรียน ภายใตเจาของเดียวกัน คือสังฆมณฑลจันทบุรี ซึ่งมีพระสังฆราชลอเรนชเทียนชัย สมาน จิต เปนประมุขสูงสุด ในปจจุบันบริหารงานโดยผานทางพระสงฆ ซิสเตอรและฆราวาสใน ตําแหนงผูรับใบอนุญาตผูจัดการและครูใหญตามลําดับ กว า จะมาเป น ป ก แผ น มั่ น คงในป จ จุ บั น โรงเรี ย นของสั ง ฆมณฑลได เ ริ ม ก อ ตั้ ง ล ม ลุ ก คลุกคลาน ผานรอนผานหนาวมาหลายยุคหลายสมัยดวยกัน รวม 100 ป ดังพอจะสรุปยอๆ ไดเปน 3 ชวงที่สําคัญ คือ ชวงแรก ระยะแรกตั้งกลุมคริสตชนป ค.ศ. 1900 -1940 ในระยะเริ่มแรกนี้ โรงเรียนที่ เกิดขึ้นจะอยูในลักษณะ “ โรงเรียนวัด ” เพราะเมื่อ พระสงฆไดตั้งกลุมคริสตชน และสราง วัดขึ้นมาแลวสิ่งหนึ่งที่ขาดเสียไมไดก็คือ การจัดหาสถานที่เพื่อใชในการสอนคําสอน บาง ทีมีการดัดแปลงเรือนไม 2 ชั้น ชั้นบนใชเปนวัด สวนชั้นลางใชสอนคําสอน ในขณะเดียวกันก็มีการสอนวิชาการอื่น ๆ ดว ย แตมักสอนเปนภาษาวัด จุดมุงหมายหลักก็คือ เพื่อใหเด็ก ๆ มีโอกาสเรียนคําสอนอยูใกลชิด กับวัด ตอ มามีก ารขยับขยาย สรา งเป นโรงเรีย นขึ้น เพื่อ เปด โอกาสให เด็ก ที่ไมไ ดเรี ยนคํ า สอนไดเลาเรียนบาง แตก็มุงหนักไปทางศาสนาและบทสวด
  • 2. ชวงที่สอง วิกฤติการณสงครามอินโดจีน ถึงยุคฟนฟู (ป ค.ศ. 1941 -1980 ) ป ค.ศ. 1941 เกิดสงคราสมและความขัดแยงในแถบอิน โดจีนสรางความวุนวายไปทั่วอาณาบริเวณนี้ วิกฤติการณอินโดจีนและภัยที่เกิดขึ้นในระหวางที่มีสงครามไดมีผลกระทบตอวัด โรงเรียน และกลุมคริสตชนเปนอยางมาก วัดบางแหงถูกเผาโรงเรียนถูกปด กลุมคริสตชนบางแหงถูกกลาวหาวาไมรักชาติ โรงเรียนถูกมองว าเป นโรงเรี ยนของฝรั่ งเศส ทางราชการไดเ พงเล็งจั บตาดู ความเคลื่ อ นไหวการดํ า เนิ น กิ จ การของโรงเรี ย น ทํ า ให โ รงเรี ย นที่ เ ริ่ ม ดําเนินการอยูนั้นตองปดตัวลงเกือบทุกโรงเรียน ยกเวน โรงเรียนดาราสมุทรที่ ศรีราชาเทานั้น ที่ยังเปดสอนอยูอยางตอเนื่อง ภายหลังสงครามอินโดจีนสงบ โรงเรียนของวัดหลายแหงไดฟนฟู และกําเนิด ขึ้นมา แตมีการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปพอสมควร เชน การปรับใหเขากับระเบียบกฎเกณฑ ของราชการ มีการขออนุญาตเปด โรงเรียนอยางเปนทางการ มีรัฐ บาล คอยควบคุมทิศ ทางและเป าหมายของ โรงเรียนจึงมิใชเนนแตเพียงสอนคําสอนเทานั้น ชวงที่สาม วิกฤติการณแหงความอยูรอดของโรงเรียนเอกชนสูความเปนหนึ่ง เดียว ของกลุมโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี (ป ค.ศ. 1981 – ปจจุบัน) ในชวงนีถือวาเปนชวงที่โรงเรียนตางๆ ของสังฆมณฑลไดมีรูปแบบ ้ การดําเนินที่ชัดเจน เปนปกแผนมั่นคงมากขึ้น ในหวงเวลาตั้งแตป ค.ศ. 1981 เปนตนมา แมอุปสรรคตาง ๆ ในชวงวิกฤติการณแหงสงครามอินโดจีน ผานพนไปแลว การดําเนินการโรงเรียนในสังฆมณฑลยังคงมีปญหาอุปสรรคตามมาสวนหนึ่งคง เนื่องมาจากคาใชจายในกิจการของโรงเรียนสูงขึ้น ทั้งในดานการพัฒนาการศึกษา และคาจาง เงินเดือนครู อีกทั้งโรงเรียนของวัดมีเปาหมายบริหารใหลูกหลานคริสตังค เพื่อจะไดเรียนคําสอน จึง
  • 3. ไมเก็บคาเลาเรียน หรือเก็บคาเลาเรียน แตเพียงเล็กนอยเทานั้น กอปรกับทางรัฐบาล ในขณะนั้นมีนโยบายลดจํานวนโรงเรียนเอกชนที่ ไมมีคุณภาพและจะไม ชวยเหลือเงิ น อุดหนุนอีกตอไปกอใหเกิด “ กระแสวิกฤติการณแหงการอยูรอด ” ของโรเรียนเอกชน โดยทั่วไป โรงเรียนของสังฆมณฑลในขณะนั้ น ซึ่งสวนใหญอยูตามวัดทั่วสังฆมณฑล ไดรับผลกระทบกระเทือนเปนอยางมาก บรรดาพระสงฆและฆราวาสที่ดูแล รับผิดชอบ และมีสวนรวมดําเนินการกิจการ โรงเรียนของสังฆมณฑลเหลานั้นตางรูสึก ตระหนัก และเปนหวงในความอยูรอดของ โรงเรียนจึงไดหาแนวทางเขามารวมงาน และรวมมือชวยเหลือกัน เพื่อฟนฝาอุปสรรคเหลานี้รวมกัน ดังนั้นจึงไดมีการประชุมคณะผูบริหารทั้งหมดจํานวน 11 โรงเรียนเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 1982 และไดแตงตั้งคณะกรรมการโรงเรียนสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ชุดแรกขึ้น อันประกอบดวยคุณพอวีระ ผังรักษ คุณพอสงา จันทรสมศักดิ์ คุณพอบุญยง วรศิลป คุณพอ บรรจง พานุพันธ ม.กมล เอี้ยพิน และ ซิสเตอรจํารัส อานามนารถ กลุมโรงเรียนของสังฆมณฑลจันทบุรีไดมีการประชุมอยางสม่ําเสมอเพื่อวางแผนแนวทาง ปฏิบัติ มีรูปแบบและโครงการทํางานรวมกันของโรงเรียนสังฆมณฑล โดยผานทาง คณะกรรมการชุดตาง ๆ ที่ไดรับแตงตั้งและเลือกตั้งมาตามวาระตามยุคสมัย www.escd.or.th