SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไร ?
อย่าสับสน! ระหว่างคาว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสกับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นเป็นแค่ชื่อเรียกสาหรับโปรแกรม
ประเภทหนึ่งที่มี พฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรคที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมักทาอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่
แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต เราลองมาดูรายละเอียดกันหน่อยดีไหม
เกี่ยวกับตัวไวรัสคอมพิวเตอร์นี้ ลองติดตามดู
ไวรัสคืออะไร
ประเภทของไวรัส
อาการของเครื่องที่ติดไวรัส
การตรวจหาไวรัส
คาแนะนาและการป้องกันไวรัส
การกาจัดไวรัส

         ไวรัสคืออะไร
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสาเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็
สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนาเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีก
เครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจา คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่อ งจากไวรัส
ก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจาได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทางานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับ
ประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทาการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทางานแล้ว
จุดประสงค์ของการทางานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทาลายโปรแกรม
หรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น

         ประเภทของไวรัส
บูตเซกเตอร์ไวรัส
Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector Viruses คือไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์ การใช้งานของบูต
เซกเตอร์ คือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทางานขึ้นมาตอนแรก เครื่องจะเข้าไปอ่านบูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมี
โปรแกรมเล็กๆ ไว้ใช้ในการเรียกระบบปฏิบัติการขึ้นมาทางานอีกทีหนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัสจะเข้าไปแทนที่โปรแกรมดังกล่าว
และไวรัส ประเภทนี้ถ้าไปติดอยู่ในฮาร์ดดิสก์ โดยทั่วไป จะเข้าไปอยู่บริเวณที่เรียกว่า Master Boot Sector หรือ Parition
Table ของฮาร์ดดิสก์นั้น
ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใดมีไวรัสประเภทนี้ติดอยู่ ทุกๆ ครั้งที่บูตเครื่องขึ้นมาโดยพยายามเรียก ดอสจากดิสก์นี้ ตัวโปรแกรม
ไวรัสจะทางานก่อนและจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใน หน่วยความจาเพื่อเตรียมพร้อมที่ จะทางานตามที่ได้ถูกโปรแกรมมา แล้วตัว
ไวรัสจึงค่อยไป เรียกดอสให้ขึ้นมาทางานต่อไป ทาให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
โปรแกรมไวรัส
Program Viruses หรือ File Intector Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่งที่จะติดอยู่กับโปรแกรม ซึ่งปกติก็คือ ไฟล์ที่มี
นามสกุลเป็น COM หรือ EXE และบางไวรัสสามารถเข้า ไปติดอยู่ในโปรแกรมที่มีนามสกุลเป็น sys และโปรแกรมประเภท
Overlay Programsได้ด้วย โปรแกรมโอเวอร์เลย์ปกติจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลที่ขึ้นต้นด้วย OV วิธีการที่ไวรัสใช้เพื่อที่จะ เข้า
ไปติดโปรแกรมมีอยู่สองวิธี คือ การแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ในโปรแกรมผลก็คือหลังจากที่ โปรแกรมนั้นติดไวรัสไปแล้ว ขนาด
ของโปรแกรมจะใหญ่ขึ้น หรืออาจมีการสาเนาตัวเองเข้าไปทับส่ วนของโปรแกรมที่มีอยู่เดิมดังนั้นขนาดของโปรแกรมจะไม่
เปลี่ยนและยากที่ จะซ่อมให้กลับเป็นดังเดิม
การทางานของไวรัส โดยทั่วไป คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนของไวรัสจะทางานก่อนและจะถือโอกาสนี้ฝังตัว
เข้าไปอยู่ในหน่วยความจาทันทีแล้วจึงค่อยให้ โปรแกรมนั้ นทางานตามปกติต่อไป เมื่อไวรัสเข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจา
แล้วหลังจากนี้ไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมอื่นๆ ขึ้นมาทางานต่อ ตัวไวรัสก็จะสาเนาตัวเองเข้าไป ในโปรแกรมเหล่านี้ทันที เป็น
การแพร่ระบาดต่อไป
วิธีการแพร่ระบาดของโปรแกรม ไวรัสอีกแบบหนึ่งคือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่มีไวรัสติดอยู่ ตัวไวรัสจะเข้าไปหาโปรแกรม
อื่นๆ ที่อยู่ในดิสก์เพื่อทาสาเนาตัวเองลงไปทันทีแล้วจึงค่อยให้โปรแกรมที่ถูกเรียก นั้นทางานตามปกติต่อไป
ม้าโทรจัน
ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาให้ทาตัวเหมือนว่าเป็น โปรแกรมธรรมดาทั่วๆ ไป เพื่อหลอกล่อ
ผู้ใช้ให้ทาการเรียกขึ้นมาทางาน แต่เมื่อถูกเรียกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่มทาลายตามที่โปรแกรมมาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียน
ขึ้นมาใหม่ทั้งชุด โดยคนเขียนจะทาการตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคาอธิบายการใช้งานที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะ
เรียกใช้ตายใจ
จุดประสงค์ของคนเขียนม้าโทรจัน อาจจะเช่นเดียวกับคนเขียนไวรัส คือเข้าไปทาอันตรายต่อข้อมูลที่มีอยู่ในเครื่อง หรืออาจ
มีจุดประสงค์เพื่อที่จะล้วงเอาความลับของระบบคอมพิวเตอร์
ม้าโทรจันนี้อาจจะถือว่าไม่ใช่ไวรัส เพราะเป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาโดดๆ และจะไม่มีการเข้ าไปติดในโปรแกรมอื่นเพื่อ
สาเนาตัวเอง แต่จะใช้ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ใช้เป็นตัวแพร่ระบาดซอฟต์แวร์ที่มีม้าโทรจันอยู่ในนั้น และนับว่าเป็นหนึ่ง
ในประเภทของโปรแกรม ที่มีความอันตรายสูง เพราะยากที่จะตรวจสอบและสร้างขึ้นมาได้ง่าย ซึ่งอาจใช้แค่แบตซ์ไฟล์ก็
สามารถโปรแกรมประเภทม้าโทรจันได้
โพลีมอร์ฟิกไวรัส
Polymorphic Viruses เป็นชื่อที่ใช้ในการเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปลี่ยนตัวเอง ได้เมื่อมีสร้างสาเนาตัวเอง
เกิดขึ้น ซึ่งอาจได้ถึงหลายร้อยรูปแบบ ผลก็คือ ทาให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อการถูกตรวจจับ โดยโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้
วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ๆ ในปัจจุบันที่มีความสามารถนี้เริ่มมีจานวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
สทีลต์ไวรัส
Stealth Viruses เป็นชื่อเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อินเฟกเตอร์ ไวรัสประเภท
ที่ไปติดโปรแกรมใดแล้วจะทาให้ขนาดของ โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้าโปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทีลต์ไวรัส จะไม่สามารถ
ตรวจดูขนาดที่แท้จริง ของโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากตัว ไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คาสั่ง DIR หรือ
โปรแกรมใดก็ตามเพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น

        อาการของเครื่องที่ติดไวรัส
สามารถสังเกตการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้อาจเป็นไปได้ว่าได้มีไวรัสเข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้ว
อาการที่ว่านั้นได้แก่
               ใช้เวลานานผิดปกติในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาทางาน
               ขนาดของโปรแกรมใหญ่ขึ้น
               วันเวลาของโปรแกรมเปลี่ยนไป
               ข้อความที่ปกติไม่ค่อยได้เห็นกลับถูกแสดงขึ้นมาบ่อ ๆ
               เกิดอักษรหรือข้อความประหลาดบนหน้าจอ
               เครื่องส่งเสียงออกทางลาโพงโดยไม่ได้เกิดจากโปรแกรมที่ใช้อยู่
               แป้นพิมพ์ทางานผิดปกติหรือไม่ทางานเลย
               ขนาดของหน่วยความจาที่เหลือลดน้อยกว่าปกติ โดยหาเหตุผลไม่ได้
               ไฟล์แสดงสถานะการทางานของดิสก์ติดค้างนานกว่าที่เคยเป็น
               ไฟล์ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เคยใช้อยู่ๆ ก็หายไป
               เครื่องทางานช้าลง
               เครื่องบูตตัวเองโดยไม่ได้สั่ง
               ระบบหยุดทางานโดยไม่ทราบสาเหตุ
   เซกเตอร์ที่เสียมีจานวนเพิ่มขึ้นโดยมีการรายงานว่าจานวนเซกเตอร์ที่เสียมีจานวน เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนโดย
                 ที่
                ยังไม่ได้ใช้โปรแกรมใดเข้าไปตรวจหาเลย

          การตรวจหาไวรัส
การสแกน
โปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกน (Scanning) เรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) โดยจะมีการดึงเอาโปรแกรมบางส่วน
ของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเราเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (Virus Signature) และเมื่อสแกนเนอร์ถูก
เรียกขึ้นมาทางานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจา บูตเซกเตอร์และไฟล์โดยใช้ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่
ข้อดีของวิธีการนี้ก็คือ เราสามารถตรวจสอบซอฟแวร์ที่มาใหม่ได้ทันทีเลยว่าติดไวรัสหรือไม่ เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสถูกเรียก
ขึ้นมาทางานตั้งแต่เริ่มแรก แต่วิธีนี้มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ คือ
     1. ฐานข้อมูลที่เก็บไวรัสซิกเนเจอร์จะต้องทันสมัยอยู่เสมอ แลครอบคลุมไวรัสทุกตัว มากที่สุดเท่าที่จะทาได้
     2. เพราะสแกนเนอร์จะไม่สามารถตรวจจับไวรัสที่ยังไม่มี ซิกเนเจอร์ของไวรัสนั้นเก็บอยู่ในฐานข้อมูลได้
     3. ยากที่จะตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิก เนื่องจากไวรัสประเภทนี้เปลี่ยนแปลง ตัวเองได้
     4. จึงทาให้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้สามารถนามาตรวจสอบได้ก่อนที่ไวรัส จะเปลี่ยนตัวเองเท่านั้น
     5. ถ้ามีไวรัสประเภทสทีลต์ไวรัสติดอยู่ในเครื่องตัวสแกนเนอร์อาจจะไม่สามารถ ตรวจหาไวรัสนี้ได้
     6. ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดและเทคนิคที่ใช้ของตัวไวรัสและ ของตัวสแกนเนอร์เองว่าใครเก่งกว่า
     7. เนื่องจากไวรัสมีตัวใหม่ๆ ออกมาอยู่เสมอๆ ผู้ใช้จึงจาเป็นจะต้องหาสแกนเนอร์ ตัวที่ใหม่ที่สุดมาใช้
     8. มีไวรัสบางตัวจะเข้าไปติดในโปรแกรมทันทีที่โปรแกรมนั้นถูกอ่าน และถ้าสมมติ
     9. ว่าสแกนเนอร์ที่ใช้ไม่สามารถตรวจจับได้ และถ้าเครื่องมีไวรัสนี้ติดอยู่ เมื่อมีการ
     10. เรียกสแกนเนอร์ขึ้นมาทางาน สแกนเนอร์จะเข้าไปอ่านโปรแกรมทีละโปรแกรม เพื่อตรวจสอบ
     11. ผลก็คือจะทาให้ไวรัสตัวนี้เข้าไปติดอยู่ในโปรแกรมทุกตัวที่ถูก สแกนเนอร์นั้นอ่านได้
     12. สแกนเนอร์รายงานผิดพลาดได้ คือ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้บังเอิญไปตรงกับที่มี
     13. อยู่ในโปรแกรมธรรมดาที่ไม่ได้ติดไวรัส ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในกรณีที่ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่ใช้มีขนาดสั้นไป
     14. ก็จะทาให้โปรแกรมดังกล่าวใช้งานไม่ได้อีกต่อไป
การตรวจการเปลี่ยนแปลง
การตรวจการเปลี่ยนแปลง คือ การหาค่าพิเศษอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) ซึ่งเกิดจากการนาเอาชุดคาสั่งและ
ข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคานวณ หรืออาจใช้ข้อมูลอื่น ๆ ของไฟล์ ได้แก่ แอตริบิวต์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคานวณ
ด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคาสั่งหรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรม จะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เราจึงสามารถ
นาเอาตัวเลขเหล่านี้มาผ่านขั้นตอนการคานวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งวิธีการคานวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มี หลายแบบ และมี
ระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรม ภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัสนั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือ
เขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคานวณครั้งใหม่ จะเปลี่ยนไปจากที่คานวณได้ก่อนหน้านี้
ข้อดีของการตรวจการเปลี่ยนแปลงก็คือ สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ๆ ได้ และยังมีความสามารถในการตรวจจับไวรัสประเภท
โพลีมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ก็ยังยากสาหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะ
สามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้หรือไม่ และมีวิธีการตรวจการเปลี่ยนแปลงนี้จะตรวจจับไวรัสได้ก็ ต่อเมื่อไวรัสได้เข้า
ไปติดอยู่ในเครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคานวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้ต้องแน่ใจว่า
บริสุทธิ์พอ คือต้องไม่มีโปรแกรมใดๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคานวณที่รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลาบาก
ภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป
การเฝ้าดู
เพื่อที่จะให้โปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารถเฝ้าดูการทางานของเครื่องได้ตลอดเวลานั้น จึงได้มีโปรแกรมตรวจจับไวรัสที่ถูก
สร้างขึ้นมาเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือ ดีไวซ์ไดรเวอร์ โดยเทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการ
เปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้
การทางานโดยทั่วไปก็คือ เมื่อซอฟแวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทางานก็จะเข้าไปตรวจในหน่วยความจาของ
เครื่ อ งก่อนว่ามีไ วรั ส ติ ดอยู่ ห รื อไม่ โ ดยใช้ไวรั ส ซิกเนเจอร์ ที่มี อยู่ในฐานข้ อมูล จากนั้ นจึงค่ อยนาตัว เองเข้า ไปฝั ง อยู่ใ น
หน่วยความจา และต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาใช้งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้
เทคนิ คการสแกนหรื อตรวจการเปลี่ ย นแปลงเพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหา ก็จะอนุญาตให้ โ ปรแกรมนั้น ขึ้นมาทางานได้
นอกจากนี้โปรแกรมตรวจจับ ไวรัสบางตัวยังสามารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย
ข้อดีของวิธีนี้คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมา โปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดยอัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้
สแกนเนอร์ จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ ก็ต่อเมื่อทาการเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทางานก่อนเท่านั้น
ข้อเสียของโปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูก็คือ จะมีเวลาที่เสียไปสาหรับการตรวจหาไวรัสก่อนทุกครั้ง และเนื่องจากเป็น
โปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดรเวอร์ จึงจาเป็นจะต้องใช้หน่วยความจาส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทางาน ทาให้
หน่วยความจาในเครื่องเหลื อน้อยลง และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ ก็คือ จาเป็นจะต้องมีการปรับปรุง ฐานข้อมูลของไวรัส
ซิกเนเจอร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ

         คาแนะนาและการป้องกันไวรัส
        สารองไฟล์ข้อมูลที่สาคัญ
        สาหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
        ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
        อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
        เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
        เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
        เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
        เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
        สารองข้อมูลที่สาคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
        เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สาหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทางานได้
        เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

          การกาจัดไวรัส
เมื่อแน่ใจว่าเครื่องติดไวรัสแล้ว ให้ทาการแก้ไขด้วยความใคร่ครวญและระมัดระวังอย่างมาก เพราะบางครั้งตัวคนแก้เองจะ
เป็นตัวทาลายมากกว่าตัวไวรัสจริงๆ เสียอีก การฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ใหม่อีกครั้งก็ไม่ใช่ วิธีที่ดีที่สุดเสมอไป ยิ่งแย่ไปกว่านั้นถ้า
ทาไปโดยยังไม่ได้มีการสารองข้อมูลขึ้นมาก่อน การแก้ไขนั้นถ้าผู้ใช้มีความรู้เกี่ยวกับไวรัสที่ กาลังติดอยู่ว่ าเป็นประเภทใดก็
จะช่วยได้อย่างมาก และข้อเสนอแนะต่อไปนี้อาจจะมีประโยชน์ต่อท่าน
บูตเครื่องใหม่ทันทีที่ทราบว่าเครื่องติดไวรัส
เมื่อทราบว่าเครื่องติดไวรัส ให้ทาการบูตเครื่องใหม่ทันที โดยเรียกดอสขึ้นมาทางานจากฟลอปปีดิสก์ที่ได้เตรียมไว้ เพราะถ้า
ไปเรียกดอสจากฮาร์ดดิสก์ เป็นไปได้ว่า ตัวไวรัสอาจกลับเข้าไปในหน่วยความจาได้อีก เมื่อเสร็จขั้นตอนการเรียกดอสแล้ว
ห้ามเรียกโปรแกรมใด ๆ ก็ตามในดิสก์ที่ติดไวรัส เพราะไม่ทราบว่าโปรแกรมใดบ้างที่มีไวรัสติดอยู่

เรียกโปรแกรมจัดการไวรัสขั้นมาตรวจหาและทาลาย
ให้เรียกโปรแกรมตรวจจับไวรั ส เพื่อตรวจสอบดูว่ามีโปรแกรมใดบ้างติดไวรัส ถ้าโปรแกรมตรวจ หาไวรัสที่ใช้อยู่สามารถ
กาจัดไวรัสตัวที่พบได้ ก็ให้ลองทาดู แต่ก่อนหน้านี้ให้ทาการคัดลอกเพื่อสารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเสียก่อน โดยโปรแกรม
จัดการไวรัสบางโปรแกรมสามารถสั่งให้ทาสารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเป็ นอีกชื่อหนึ่งก่อนที่จะกาจัดไวรัส เช่น MSAV ของ
ดอสเอง เป็นต้น
การทาสารองก็เพราะว่า เมื่อไวรัสถูกกาจัดออกจากโปรแกรมไป โปรแกรมนั้นอาจไม่สามารถทางานได้ตามปกติ หรือทางาน
ไม่ได้เลยก็เป็นไปได้ วิธีการตรวจขั้นต้นคือ ให้ลอง เปรียบเทียบขนาดของโปรแกรมหลังจากที่ถูกกาจั ดไวรัสไปแล้วกับขนาด
เดิม ถ้ามีขนาดน้อยกว่า แสดงว่าไม่สาเร็จ หากเป็นเช่นนั้นให้เอาโปรแกรมที่ติดไวรัสที่สารองไว้ แล้วหาโปรแกรมจัดการ
ไวรัสตัวอื่นมาใช้แทน แต่ถ้ามีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับของเดิม เป็นไปได้ว่าการกาจัดไวรัสอาจสาเร็จ โดยอาจลองเรียก
โปรแกรมตรวจหาไวรัสเพื่อทดสอบโปรแกรมอีกครั้ง
หากผลการตรวจสอบออกมาว่าปลอดเชื้อ ก็ให้ลองเรียกโปรแกรมที่ถูกกาจัดไวรัสไปนั้นขึ้นมาทดสอบการทางานดูอย่าง
ละเอียดว่าเป็นปกติดีอยู่หรือไม่อีกครั้ง ในช่วงดังกล่าวควรเก็บโปรแกรมนี้ที่สารองไปขณะที่ติดไวรัสอยู่ไว้ เผื่อว่าภายหลัง
พบว่าโปรแกรมทางานไม่เป็นไปตามปกติ ก็สามารถลองเรียกโปรแกรมจัดการไวรัสตัวอื่นขึ้นมากาจัดต่อไปได้ในภายหลัง แต่
ถ้าแน่ใจว่าโปรแกรมทางานเป็นปกติดี ก็ทาการลบโปรแกรมสารองที่ยังติดไวรัสติดอยู่ทิ้งไปทันที เป็นการป้องกันไม่ให้มีการ
เรียกขึ้นมาใช้งานภายหลังเพราะความบังเอิญได้

ที่มา : http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/virus/index.html

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Janchai Pokmoonphon
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + VuforiaDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงUtai Sukviwatsirikul
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6TataNitchakan
 

What's hot (20)

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
 
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6
 

Similar to ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไร

ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1Yaowapol Upunno
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1Yaowapol Upunno
 
slidevirus
slidevirusslidevirus
slidevirusZull QR
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์Teng44
 
โปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมป้องกันไวรัสโปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมป้องกันไวรัสchaiwat vichianchai
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์phataravarin89
 
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์Amporn Patin
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2พ่อ อาชีวะ
 
ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??Amporn Patin
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerceTitima
 
Microsoft security essentials
Microsoft security essentialsMicrosoft security essentials
Microsoft security essentialsthepvista
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์katlove2541
 

Similar to ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไร (20)

Virus
VirusVirus
Virus
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1ไวรัสคอมพิวเตอร์1
ไวรัสคอมพิวเตอร์1
 
slidevirus
slidevirusslidevirus
slidevirus
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมป้องกันไวรัสโปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมป้องกันไวรัส
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
 
ไวรัส
ไวรัสไวรัส
ไวรัส
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
 
ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
Microsoft security essentials
Microsoft security essentialsMicrosoft security essentials
Microsoft security essentials
 
Virus New
Virus NewVirus New
Virus New
 
ไวรัส
ไวรัสไวรัส
ไวรัส
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ม.4 software
ม.4 softwareม.4 software
ม.4 software
 

More from วิโรจน์ พรรณหาญ

พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551วิโรจน์ พรรณหาญ
 
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521วิโรจน์ พรรณหาญ
 
รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้
รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้
รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้วิโรจน์ พรรณหาญ
 
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)วิโรจน์ พรรณหาญ
 

More from วิโรจน์ พรรณหาญ (10)

ประโยชน์ของ มะระ
ประโยชน์ของ มะระประโยชน์ของ มะระ
ประโยชน์ของ มะระ
 
ประโยชน์ของ มะระ
ประโยชน์ของ มะระประโยชน์ของ มะระ
ประโยชน์ของ มะระ
 
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2551
 
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.2521
 
สี ฤกษ์ ในการออกรถ
สี ฤกษ์ ในการออกรถสี ฤกษ์ ในการออกรถ
สี ฤกษ์ ในการออกรถ
 
Ac66 01-001
Ac66 01-001Ac66 01-001
Ac66 01-001
 
รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้
รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้
รวมสารพัดชื่อไวรัสคอม + อาการ + วิธีแก้
 
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
 
ไวรัสและหนอนคอมพิวเตอร์
ไวรัสและหนอนคอมพิวเตอร์ไวรัสและหนอนคอมพิวเตอร์
ไวรัสและหนอนคอมพิวเตอร์
 
มาทำความร จ_ก facebook
มาทำความร  จ_ก facebookมาทำความร  จ_ก facebook
มาทำความร จ_ก facebook
 

ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไร

  • 1. ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไร ? อย่าสับสน! ระหว่างคาว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสกับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นเป็นแค่ชื่อเรียกสาหรับโปรแกรม ประเภทหนึ่งที่มี พฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรคที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมักทาอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต เราลองมาดูรายละเอียดกันหน่อยดีไหม เกี่ยวกับตัวไวรัสคอมพิวเตอร์นี้ ลองติดตามดู ไวรัสคืออะไร ประเภทของไวรัส อาการของเครื่องที่ติดไวรัส การตรวจหาไวรัส คาแนะนาและการป้องกันไวรัส การกาจัดไวรัส ไวรัสคืออะไร ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสาเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็ สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนาเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีก เครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจา คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่อ งจากไวรัส ก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจาได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทางานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับ ประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทาการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทางานแล้ว จุดประสงค์ของการทางานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทาลายโปรแกรม หรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น ประเภทของไวรัส บูตเซกเตอร์ไวรัส Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector Viruses คือไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์ การใช้งานของบูต เซกเตอร์ คือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทางานขึ้นมาตอนแรก เครื่องจะเข้าไปอ่านบูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมี โปรแกรมเล็กๆ ไว้ใช้ในการเรียกระบบปฏิบัติการขึ้นมาทางานอีกทีหนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัสจะเข้าไปแทนที่โปรแกรมดังกล่าว และไวรัส ประเภทนี้ถ้าไปติดอยู่ในฮาร์ดดิสก์ โดยทั่วไป จะเข้าไปอยู่บริเวณที่เรียกว่า Master Boot Sector หรือ Parition Table ของฮาร์ดดิสก์นั้น ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใดมีไวรัสประเภทนี้ติดอยู่ ทุกๆ ครั้งที่บูตเครื่องขึ้นมาโดยพยายามเรียก ดอสจากดิสก์นี้ ตัวโปรแกรม ไวรัสจะทางานก่อนและจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใน หน่วยความจาเพื่อเตรียมพร้อมที่ จะทางานตามที่ได้ถูกโปรแกรมมา แล้วตัว ไวรัสจึงค่อยไป เรียกดอสให้ขึ้นมาทางานต่อไป ทาให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น โปรแกรมไวรัส Program Viruses หรือ File Intector Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่งที่จะติดอยู่กับโปรแกรม ซึ่งปกติก็คือ ไฟล์ที่มี นามสกุลเป็น COM หรือ EXE และบางไวรัสสามารถเข้า ไปติดอยู่ในโปรแกรมที่มีนามสกุลเป็น sys และโปรแกรมประเภท Overlay Programsได้ด้วย โปรแกรมโอเวอร์เลย์ปกติจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลที่ขึ้นต้นด้วย OV วิธีการที่ไวรัสใช้เพื่อที่จะ เข้า ไปติดโปรแกรมมีอยู่สองวิธี คือ การแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ในโปรแกรมผลก็คือหลังจากที่ โปรแกรมนั้นติดไวรัสไปแล้ว ขนาด ของโปรแกรมจะใหญ่ขึ้น หรืออาจมีการสาเนาตัวเองเข้าไปทับส่ วนของโปรแกรมที่มีอยู่เดิมดังนั้นขนาดของโปรแกรมจะไม่ เปลี่ยนและยากที่ จะซ่อมให้กลับเป็นดังเดิม การทางานของไวรัส โดยทั่วไป คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนของไวรัสจะทางานก่อนและจะถือโอกาสนี้ฝังตัว เข้าไปอยู่ในหน่วยความจาทันทีแล้วจึงค่อยให้ โปรแกรมนั้ นทางานตามปกติต่อไป เมื่อไวรัสเข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจา
  • 2. แล้วหลังจากนี้ไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมอื่นๆ ขึ้นมาทางานต่อ ตัวไวรัสก็จะสาเนาตัวเองเข้าไป ในโปรแกรมเหล่านี้ทันที เป็น การแพร่ระบาดต่อไป วิธีการแพร่ระบาดของโปรแกรม ไวรัสอีกแบบหนึ่งคือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่มีไวรัสติดอยู่ ตัวไวรัสจะเข้าไปหาโปรแกรม อื่นๆ ที่อยู่ในดิสก์เพื่อทาสาเนาตัวเองลงไปทันทีแล้วจึงค่อยให้โปรแกรมที่ถูกเรียก นั้นทางานตามปกติต่อไป ม้าโทรจัน ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาให้ทาตัวเหมือนว่าเป็น โปรแกรมธรรมดาทั่วๆ ไป เพื่อหลอกล่อ ผู้ใช้ให้ทาการเรียกขึ้นมาทางาน แต่เมื่อถูกเรียกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่มทาลายตามที่โปรแกรมมาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียน ขึ้นมาใหม่ทั้งชุด โดยคนเขียนจะทาการตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคาอธิบายการใช้งานที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะ เรียกใช้ตายใจ จุดประสงค์ของคนเขียนม้าโทรจัน อาจจะเช่นเดียวกับคนเขียนไวรัส คือเข้าไปทาอันตรายต่อข้อมูลที่มีอยู่ในเครื่อง หรืออาจ มีจุดประสงค์เพื่อที่จะล้วงเอาความลับของระบบคอมพิวเตอร์ ม้าโทรจันนี้อาจจะถือว่าไม่ใช่ไวรัส เพราะเป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาโดดๆ และจะไม่มีการเข้ าไปติดในโปรแกรมอื่นเพื่อ สาเนาตัวเอง แต่จะใช้ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ใช้เป็นตัวแพร่ระบาดซอฟต์แวร์ที่มีม้าโทรจันอยู่ในนั้น และนับว่าเป็นหนึ่ง ในประเภทของโปรแกรม ที่มีความอันตรายสูง เพราะยากที่จะตรวจสอบและสร้างขึ้นมาได้ง่าย ซึ่งอาจใช้แค่แบตซ์ไฟล์ก็ สามารถโปรแกรมประเภทม้าโทรจันได้ โพลีมอร์ฟิกไวรัส Polymorphic Viruses เป็นชื่อที่ใช้ในการเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปลี่ยนตัวเอง ได้เมื่อมีสร้างสาเนาตัวเอง เกิดขึ้น ซึ่งอาจได้ถึงหลายร้อยรูปแบบ ผลก็คือ ทาให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อการถูกตรวจจับ โดยโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้ วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ๆ ในปัจจุบันที่มีความสามารถนี้เริ่มมีจานวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ สทีลต์ไวรัส Stealth Viruses เป็นชื่อเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อินเฟกเตอร์ ไวรัสประเภท ที่ไปติดโปรแกรมใดแล้วจะทาให้ขนาดของ โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้าโปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทีลต์ไวรัส จะไม่สามารถ ตรวจดูขนาดที่แท้จริง ของโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากตัว ไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คาสั่ง DIR หรือ โปรแกรมใดก็ตามเพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น อาการของเครื่องที่ติดไวรัส สามารถสังเกตการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้อาจเป็นไปได้ว่าได้มีไวรัสเข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้ว อาการที่ว่านั้นได้แก่  ใช้เวลานานผิดปกติในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาทางาน  ขนาดของโปรแกรมใหญ่ขึ้น  วันเวลาของโปรแกรมเปลี่ยนไป  ข้อความที่ปกติไม่ค่อยได้เห็นกลับถูกแสดงขึ้นมาบ่อ ๆ  เกิดอักษรหรือข้อความประหลาดบนหน้าจอ  เครื่องส่งเสียงออกทางลาโพงโดยไม่ได้เกิดจากโปรแกรมที่ใช้อยู่  แป้นพิมพ์ทางานผิดปกติหรือไม่ทางานเลย  ขนาดของหน่วยความจาที่เหลือลดน้อยกว่าปกติ โดยหาเหตุผลไม่ได้  ไฟล์แสดงสถานะการทางานของดิสก์ติดค้างนานกว่าที่เคยเป็น  ไฟล์ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เคยใช้อยู่ๆ ก็หายไป  เครื่องทางานช้าลง  เครื่องบูตตัวเองโดยไม่ได้สั่ง  ระบบหยุดทางานโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • 3. เซกเตอร์ที่เสียมีจานวนเพิ่มขึ้นโดยมีการรายงานว่าจานวนเซกเตอร์ที่เสียมีจานวน เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนโดย ที่  ยังไม่ได้ใช้โปรแกรมใดเข้าไปตรวจหาเลย การตรวจหาไวรัส การสแกน โปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกน (Scanning) เรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) โดยจะมีการดึงเอาโปรแกรมบางส่วน ของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเราเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (Virus Signature) และเมื่อสแกนเนอร์ถูก เรียกขึ้นมาทางานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจา บูตเซกเตอร์และไฟล์โดยใช้ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่ ข้อดีของวิธีการนี้ก็คือ เราสามารถตรวจสอบซอฟแวร์ที่มาใหม่ได้ทันทีเลยว่าติดไวรัสหรือไม่ เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสถูกเรียก ขึ้นมาทางานตั้งแต่เริ่มแรก แต่วิธีนี้มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ คือ 1. ฐานข้อมูลที่เก็บไวรัสซิกเนเจอร์จะต้องทันสมัยอยู่เสมอ แลครอบคลุมไวรัสทุกตัว มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ 2. เพราะสแกนเนอร์จะไม่สามารถตรวจจับไวรัสที่ยังไม่มี ซิกเนเจอร์ของไวรัสนั้นเก็บอยู่ในฐานข้อมูลได้ 3. ยากที่จะตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิก เนื่องจากไวรัสประเภทนี้เปลี่ยนแปลง ตัวเองได้ 4. จึงทาให้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้สามารถนามาตรวจสอบได้ก่อนที่ไวรัส จะเปลี่ยนตัวเองเท่านั้น 5. ถ้ามีไวรัสประเภทสทีลต์ไวรัสติดอยู่ในเครื่องตัวสแกนเนอร์อาจจะไม่สามารถ ตรวจหาไวรัสนี้ได้ 6. ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดและเทคนิคที่ใช้ของตัวไวรัสและ ของตัวสแกนเนอร์เองว่าใครเก่งกว่า 7. เนื่องจากไวรัสมีตัวใหม่ๆ ออกมาอยู่เสมอๆ ผู้ใช้จึงจาเป็นจะต้องหาสแกนเนอร์ ตัวที่ใหม่ที่สุดมาใช้ 8. มีไวรัสบางตัวจะเข้าไปติดในโปรแกรมทันทีที่โปรแกรมนั้นถูกอ่าน และถ้าสมมติ 9. ว่าสแกนเนอร์ที่ใช้ไม่สามารถตรวจจับได้ และถ้าเครื่องมีไวรัสนี้ติดอยู่ เมื่อมีการ 10. เรียกสแกนเนอร์ขึ้นมาทางาน สแกนเนอร์จะเข้าไปอ่านโปรแกรมทีละโปรแกรม เพื่อตรวจสอบ 11. ผลก็คือจะทาให้ไวรัสตัวนี้เข้าไปติดอยู่ในโปรแกรมทุกตัวที่ถูก สแกนเนอร์นั้นอ่านได้ 12. สแกนเนอร์รายงานผิดพลาดได้ คือ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้บังเอิญไปตรงกับที่มี 13. อยู่ในโปรแกรมธรรมดาที่ไม่ได้ติดไวรัส ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในกรณีที่ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่ใช้มีขนาดสั้นไป 14. ก็จะทาให้โปรแกรมดังกล่าวใช้งานไม่ได้อีกต่อไป การตรวจการเปลี่ยนแปลง การตรวจการเปลี่ยนแปลง คือ การหาค่าพิเศษอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) ซึ่งเกิดจากการนาเอาชุดคาสั่งและ ข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคานวณ หรืออาจใช้ข้อมูลอื่น ๆ ของไฟล์ ได้แก่ แอตริบิวต์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคานวณ ด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคาสั่งหรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรม จะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เราจึงสามารถ นาเอาตัวเลขเหล่านี้มาผ่านขั้นตอนการคานวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งวิธีการคานวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มี หลายแบบ และมี ระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรม ภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัสนั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือ เขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคานวณครั้งใหม่ จะเปลี่ยนไปจากที่คานวณได้ก่อนหน้านี้ ข้อดีของการตรวจการเปลี่ยนแปลงก็คือ สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ๆ ได้ และยังมีความสามารถในการตรวจจับไวรัสประเภท โพลีมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ก็ยังยากสาหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะ สามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้หรือไม่ และมีวิธีการตรวจการเปลี่ยนแปลงนี้จะตรวจจับไวรัสได้ก็ ต่อเมื่อไวรัสได้เข้า ไปติดอยู่ในเครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคานวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้ต้องแน่ใจว่า บริสุทธิ์พอ คือต้องไม่มีโปรแกรมใดๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคานวณที่รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลาบาก ภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป การเฝ้าดู เพื่อที่จะให้โปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารถเฝ้าดูการทางานของเครื่องได้ตลอดเวลานั้น จึงได้มีโปรแกรมตรวจจับไวรัสที่ถูก สร้างขึ้นมาเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือ ดีไวซ์ไดรเวอร์ โดยเทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการ เปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้
  • 4. การทางานโดยทั่วไปก็คือ เมื่อซอฟแวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทางานก็จะเข้าไปตรวจในหน่วยความจาของ เครื่ อ งก่อนว่ามีไ วรั ส ติ ดอยู่ ห รื อไม่ โ ดยใช้ไวรั ส ซิกเนเจอร์ ที่มี อยู่ในฐานข้ อมูล จากนั้ นจึงค่ อยนาตัว เองเข้า ไปฝั ง อยู่ใ น หน่วยความจา และต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาใช้งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้ เทคนิ คการสแกนหรื อตรวจการเปลี่ ย นแปลงเพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหา ก็จะอนุญาตให้ โ ปรแกรมนั้น ขึ้นมาทางานได้ นอกจากนี้โปรแกรมตรวจจับ ไวรัสบางตัวยังสามารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย ข้อดีของวิธีนี้คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมา โปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดยอัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้ สแกนเนอร์ จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ ก็ต่อเมื่อทาการเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทางานก่อนเท่านั้น ข้อเสียของโปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูก็คือ จะมีเวลาที่เสียไปสาหรับการตรวจหาไวรัสก่อนทุกครั้ง และเนื่องจากเป็น โปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดรเวอร์ จึงจาเป็นจะต้องใช้หน่วยความจาส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทางาน ทาให้ หน่วยความจาในเครื่องเหลื อน้อยลง และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ ก็คือ จาเป็นจะต้องมีการปรับปรุง ฐานข้อมูลของไวรัส ซิกเนเจอร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ คาแนะนาและการป้องกันไวรัส  สารองไฟล์ข้อมูลที่สาคัญ  สาหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์  ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์  อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น  เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท  เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ  เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง  เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส  สารองข้อมูลที่สาคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์  เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สาหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทางานได้  เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น การกาจัดไวรัส เมื่อแน่ใจว่าเครื่องติดไวรัสแล้ว ให้ทาการแก้ไขด้วยความใคร่ครวญและระมัดระวังอย่างมาก เพราะบางครั้งตัวคนแก้เองจะ เป็นตัวทาลายมากกว่าตัวไวรัสจริงๆ เสียอีก การฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ใหม่อีกครั้งก็ไม่ใช่ วิธีที่ดีที่สุดเสมอไป ยิ่งแย่ไปกว่านั้นถ้า ทาไปโดยยังไม่ได้มีการสารองข้อมูลขึ้นมาก่อน การแก้ไขนั้นถ้าผู้ใช้มีความรู้เกี่ยวกับไวรัสที่ กาลังติดอยู่ว่ าเป็นประเภทใดก็ จะช่วยได้อย่างมาก และข้อเสนอแนะต่อไปนี้อาจจะมีประโยชน์ต่อท่าน บูตเครื่องใหม่ทันทีที่ทราบว่าเครื่องติดไวรัส เมื่อทราบว่าเครื่องติดไวรัส ให้ทาการบูตเครื่องใหม่ทันที โดยเรียกดอสขึ้นมาทางานจากฟลอปปีดิสก์ที่ได้เตรียมไว้ เพราะถ้า ไปเรียกดอสจากฮาร์ดดิสก์ เป็นไปได้ว่า ตัวไวรัสอาจกลับเข้าไปในหน่วยความจาได้อีก เมื่อเสร็จขั้นตอนการเรียกดอสแล้ว ห้ามเรียกโปรแกรมใด ๆ ก็ตามในดิสก์ที่ติดไวรัส เพราะไม่ทราบว่าโปรแกรมใดบ้างที่มีไวรัสติดอยู่ เรียกโปรแกรมจัดการไวรัสขั้นมาตรวจหาและทาลาย ให้เรียกโปรแกรมตรวจจับไวรั ส เพื่อตรวจสอบดูว่ามีโปรแกรมใดบ้างติดไวรัส ถ้าโปรแกรมตรวจ หาไวรัสที่ใช้อยู่สามารถ กาจัดไวรัสตัวที่พบได้ ก็ให้ลองทาดู แต่ก่อนหน้านี้ให้ทาการคัดลอกเพื่อสารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเสียก่อน โดยโปรแกรม จัดการไวรัสบางโปรแกรมสามารถสั่งให้ทาสารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเป็ นอีกชื่อหนึ่งก่อนที่จะกาจัดไวรัส เช่น MSAV ของ ดอสเอง เป็นต้น การทาสารองก็เพราะว่า เมื่อไวรัสถูกกาจัดออกจากโปรแกรมไป โปรแกรมนั้นอาจไม่สามารถทางานได้ตามปกติ หรือทางาน ไม่ได้เลยก็เป็นไปได้ วิธีการตรวจขั้นต้นคือ ให้ลอง เปรียบเทียบขนาดของโปรแกรมหลังจากที่ถูกกาจั ดไวรัสไปแล้วกับขนาด
  • 5. เดิม ถ้ามีขนาดน้อยกว่า แสดงว่าไม่สาเร็จ หากเป็นเช่นนั้นให้เอาโปรแกรมที่ติดไวรัสที่สารองไว้ แล้วหาโปรแกรมจัดการ ไวรัสตัวอื่นมาใช้แทน แต่ถ้ามีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับของเดิม เป็นไปได้ว่าการกาจัดไวรัสอาจสาเร็จ โดยอาจลองเรียก โปรแกรมตรวจหาไวรัสเพื่อทดสอบโปรแกรมอีกครั้ง หากผลการตรวจสอบออกมาว่าปลอดเชื้อ ก็ให้ลองเรียกโปรแกรมที่ถูกกาจัดไวรัสไปนั้นขึ้นมาทดสอบการทางานดูอย่าง ละเอียดว่าเป็นปกติดีอยู่หรือไม่อีกครั้ง ในช่วงดังกล่าวควรเก็บโปรแกรมนี้ที่สารองไปขณะที่ติดไวรัสอยู่ไว้ เผื่อว่าภายหลัง พบว่าโปรแกรมทางานไม่เป็นไปตามปกติ ก็สามารถลองเรียกโปรแกรมจัดการไวรัสตัวอื่นขึ้นมากาจัดต่อไปได้ในภายหลัง แต่ ถ้าแน่ใจว่าโปรแกรมทางานเป็นปกติดี ก็ทาการลบโปรแกรมสารองที่ยังติดไวรัสติดอยู่ทิ้งไปทันที เป็นการป้องกันไม่ให้มีการ เรียกขึ้นมาใช้งานภายหลังเพราะความบังเอิญได้ ที่มา : http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/virus/index.html