SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
เทคนิคการถ่ายภาพ
1. ทากล้องให้มั่นคงไม่สั่นไหว
ปัญหาหาการถ่ายภาพออกมาแล้วไม่ชัดถือว่าเป็นปัญหาหลัก แต่มีเทคนิคง่ายๆที่ สามารถทาได้ถ่ายภาพ
ได้ดีขึ้น ซึ่งจะช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว สิ่งที่ดีที่จะช่วยไม่ให้ภาพสั่นไหวคือ การใช้ขาตั้ง
กล้องในการถ่ายภาพ แต่ถ้า คุณไม่มีขาตั้งกล้อง หรือไปใน สถานที่ไม่สามารถนาขาตั้งกล้องไปได้ ก็ให้หา
สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้ เช่น บนโต๊ะ, ฝากระโปรงรถ, หรืออะไรก็ ตามที่สามารถวางกล้องได้
แต่หากไม่มีอยากให้ทาตามวิธีง่าย ถือกล้องด้วย 2 มือ โดยมีข้อปฏิบัติ คือ
1. ให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก และให้แขนแนบชิดกับลาตัว
2. อย่าเกรงปล่อบตัวตามสบาย
3. หายใจลึกๆ และให้กลั้นหายในระหว่างที่กาลังจะกดซัตเตอร์ เพื่อไม่ให้มือสั่นในระหว่างการกดซัต
เตอร์
2. การถ่ายภาพแนวนอนกับแนวตั้ง
ในการถ่ายภาพนั้นอยากให้ลองถ่ายรูปในแบบแนวนอน ปกติ และ แบบแนวตั้งดูบ้าง ในบางสถานการณ์
การ ถ่ายภาพแบบแนวตั้งและแนวนอนจะให้อารมณ์ของ ภาพที่ออกมานั้นต่างกันไปด้วย เช่น ในการถ่ายภาพ
ตึก หรือต้นไม้ หรือวัตถุที่มีความสูง เมื่อถ่ายภาพในแนวตั้ง จะแสดงออกถึงความสูงได้อย่างเด่นชัด และถ้า
ต้องการจะสื่อให้เห็นถึงความกว้าง ก็ให้ถ่ายในลักษณะ แนวนอน ซึ่งจะเหมาะสมกับการถ่ายภาพวิว
3. การวางเส้นขอบฟ้าในการถ่ายวิว
เทคนิคในการถ่ายภาพวิวให้สวยนั้นควร คานึงถึงการจัดองค์ประกอบของภาพด้วย โดยเฉพาะ เส้นขอบ
ฟ้า โดยเฉพาะเมื่อคุณ ต้องการที่จะเน้นท้องฟ้าที่สวยงาม โดยที่ให้ คุณจัดองค์ประกอบภาพโดยให้ ท้องฟ้าอยู่
ต่าลงมา แต่ถ้าต้องการ เน้นวัตถุ หรือ วิว ที่อยู่ข้างหน้าก็ให้เน้นที่วัตถุโดยให้ เส้นขอบ ฟ้าอยู่ในระดับสูงในภาพ
4. Rule of Third
นอกเหนือจากการวางองค์ประกอบของภาพให้อยู่ตรงกลางของ ภาพแล้ว อยากให้ ลองวิธีการวาง
องค์ประกอบของภาพแบบใหม่ๆดูกัน ด้วยวิธีการง่ายๆ ขั้นแรกให้แบ่ง หน้าจอ LCD บนตัวกล้องของคุณ
ออกเป็น 9 ส่วน เหมือนในภาพ ทีนี้ลองวางสิ่งที่ ต้องการเน้นในภาพ เช่น ภาพคนให้อยู่จุดที่เส้นแนวตั้งและ
แนวนอนตัดกัน โดยวิธีนี้ จะทาให้มีความสมดุลและเป็นธรรมชาติมากกว่าให้คนอยู่ตรงกลางของภาพ ยิ่งไป
กว่านั้นถ้าให้ดวงตาของคนในภาพอยู่ระหว่างจุดตัด จะทาให้ภาพดูนุ่มนวลกว่าอยู่ ตรงกลาง หรือถ้าคุณ
ต้องการถ่ายภาพวิวโดยจะเน้นส่วนไหนก็ให้ส่วนนั้นที่ต้องการ จะเน้น มีสัดส่วน 2 ต่อ 3 ในภาพ
5. ช่วงเวลาในการถ่ายภาพ
ช่วงเวลาในการถ่ายภาพนั้นก็มีส่วนสาคัญในการถ่ายภาพ เหมือนกันโดยช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการ
ถ่ายภาพที่แจ้งก็ คือ ตอนเช้าโดยที่แสงอาทิตย์ในยามเช้านั้นจะให้อารมณ์ ของ ความเป็นธรรมชาติหรือถ้าจะ
ถ่ายดวงอาทิตย์ ช่วง ตอนเย็นๆ ก่อนพระอาทิตย์จะตกเต็มที่ก็จะให้แสงที่ สวยงาม แต่อย่างไรก็ตามช่วงเวลาที่
ควรจะเลี่ยงในการ ถ่ายภาพก็คือ ช่วงกลางวัน หรือตอนบ่ายโมงถึง บ่าย สองโมง เนื่องจากแสงอาทิตย์
ช่วงเวลานี้จะให้แสงจ้าไม่ เป็นธรรมชาติ
6. ถ่ายภาพให้ใกล้ขึ้น
การถ่ายให้ใกล้กับวัตถุมากขึ้นนั้นก็สามารถเปลื่ยนอารมณ์ และสื่อให้เห็นความสวยงามของภาพได้มาก
ยิ่งขึ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การถ่ายภาพ ดอกไม้ที่สวยงาม หรือ แจกันคริสตัล โดยการถ่ายภาพระยะใกล้นั้น
สามารถทาได้ อย่างง่ายโดยใช้โหมดถ่ายภาพMarco ซึ่งมีอยู่ในกล้อง Cyber-shot ทุกรุ่น
7. การถ่ายภาพแบบมีเงาหรือมีเงาสะท้อน
นอกเหนือจากการถ่ายรูปวิว หรือ รูปบุคคลแบบปกติแล้ว การเล่นกับเงาของวัตถุ หรือการสะท้อนของเงา
กับ กระจก, ผิวน้า สิ่งที่สะท้อนเงาได้ ก็ถือเป็นแสดงอารมณ์ของภาพอีกรูปแบบหนึ่ง นอกเหนือจากการถ่ายรูป
แบบปกติ
8. นาสิ่งที่ต้องการเน้นออกจากตรงกลางของภาพ
การวางภาพไว้ตรงกลางนั้นก็ถือว่าเป็นภาพที่สวยแล้ว แต่ถ้าลองเปลื่ยนตาแหน่งให้มาอยู่ทางด้านซ้ายหรือ
ทางด้านขวานั้น ก็จะทาให้ภาพหรือสิ่งที่ต้องการเน้นดูมีสีสันแล้วมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น โดยสามารถใช้หลักการ
Rule of Third ที่ได้นาเสนอในเบื้องต้นมาประยุกต์ประกอบกันได้
9. คุณรู้จักระยะแฟลชของกล้องคุณหรือเปล่า?
สิ่งหนึ่งที่เป็นข้อผิดพลาดในการถ่ายภาพด้วยแฟลชนั้น คือ ถ่ายภาพที่อยู่ระยะเกินกว่าระยะของแฟลช
ทาไมถึงถือเป็นข้อผิดพลาดก็เพราะว่า ภาพที่ถ่ายอยู่เกินระยะแฟลชนั้นจะทาให้ภาพ, ฉากหลัง หรือวัตถุ นั้น
มืดไม่สวยงาม ดังนั้นควรจะรู้ว่าระยะแฟลชของกล้องนั้นมีระยะเท่าไร แต่ถ้าไม่รู้ก็ให้ลองเล่นกับแฟลชดู แต่
โดยปกติแล้วระยะของแฟลชจะอยู่ที่ 1-3 เมตร ดังนั้นควรให้อยู่ระยะที่ปลอดภัยที่สุดคือ ไม่เกิน 1 เมตร
10. เทคนิคการใช้แฟลช
บางคนอาจจะคิดว่าแฟลชนั้นใช้เฉพาะถ่ายภาพตอนกลางคืน แต่จริงๆแล้ว แฟลชนั้นก็สามารถใช้ใน
สถานการณ์ที่มีแสงสว่างพอแต่ในหน้าบุคคลในภาพมี ความมืดมาก ก็สามารถใช้แฟลชช่วยในการทาให้ใบหน้า
มีความสว่างยิ่งขึ้น อันนี้สามารถใช้ในกรณีถ่ายภาพย้อนแสงได้ด้วย
ประเภทของไฟล์ภาพ
ประเภทของไฟล์มีไว้เพื่อจาแนกหน้าที่และรูปแบบของไฟล์ เพื่อให้เราทราบได้ว่าไฟล์นั้นๆ มีหน้าที่อะไร
ใช้ทาอะไร แต่ในที่นี้ ทางเรา จะแนะนาเฉพาะไฟล์ใช้ควบคู่กับการทางานกราฟฟิคเท่านั้น
ประเภทของไฟล์กราฟฟิคมี 2 ประเภท คือbased
1. ไฟล์กราฟฟิคประเภท Raster baseded
2. ไฟล์กราฟฟิคประเภท Vector based
ภาพตัวอย่างของกราฟฟิคไฟล์ทั้งสองประเภท
ภาพแตงแมวขยายใหญ่ในแบบ raster
สังเกตุได้ว่าภาพจะแตกเป็นเสี่ยงๆ เพราะ ว่าภาพเกิดขึ้น
จากจุดเล็กๆ มาเรียงกัน
ภาพแตงแมวขยายใหญ่ในแบบ vector
ภาพยังเฉียบคมแม้จะขยายเป็นพันๆ พันเท่า
(โปรดสังเกต : ขนาดขยายใหญ่กว่านะเนี่ย)
1) ไฟล์กราฟฟิคประเภท Raster based
หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "bitmap" ซึ่งเกิดจากการนาเอาจุดสีเล็กๆ หลายๆ จุดมารวมกันเพื่อให้เกิดภาพ
ซึ่งจะมีความกว้างยาว X pixel และ Y pixel และความลึกคือ Z pixel (Z pixel คือ ค่าความลึกของสี :
Color Depth) ไฟล์ Raster มีรูปแบบและวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกันไป ซึ่งเราควรจะนามาใช้ให้
เหมาะสม โดยศึกษาการใช้งานได้จากตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1.1 ชนิดของกราฟฟิคไฟล์ประเภท Raster
ไฟล์ มาจากคาว่า ลักษณะการใช้งาน
BMP Bitmap squence ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เพื่อแสดงผลภาพกราฟฟิคโปรแกรม
วินโดวส์ เป็นไฟล์ที่ไม่ค่อยมีประโยชน์ในด้านการใช้งานมาก
นัก จะใช้เพื่อเก็บกราฟฟิคไฟล์ที่เป็นต้นแบบเสียส่วนใหญ่ และ
ใช้ในการแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์
PCX - เป็นกราฟฟิคไฟล์พื้นฐานอีกชนิดหนึ่งใน PC ถูกสร้างและ
พัฒนาโดย Z-soft Corperation เพื่อใช้กับโปรแกรม PC
Paintbrush มีรูปแบบคล้ายคลึงกับไฟล์ bitmap ปัจจุบันไม่
นิยมใช้กันแล้ว
TIFF Tagged Image File
Format
เป็นกราฟฟิคไฟล์ที่สร้างมาเพื่อ โปรแกรมประเภทจัดหน้า
หนังสือ (Desktop Publishing) สามารถเก็บข้อมูล
รายละเอียดของภาพได้ค่อนข้างมาก ใช้ได้ทั้งใน Mac และ PC
มีหลายเวอร์ชั่น แต่ที่นิยมใช้กันคือ เวอร์ชั่น 4 และ 5
GIF compu surve
Graphic Interchange
File
ถูกสร้างขึ้นมาโดยบริษัท Compu surve ซึ่งเป็นบริษัทที่
ให้บริการด้านเครือข่ายของสหรัฐ เหมาะกับการเก็บไฟล์
รูปภาพขนาดเล็ก และมีจานวนของสีน้อย มีขนาดไฟล์เล็ก
เพราะสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในระบบเครือข่าย
JPG Joint Photographic
Experts Group
เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อบีบอัดข้อมูลภาพ เพื่อให้มีขนาด
กระทัดรัด เพื่อนาใช้งานในระบบอินเตอร์เนต นิยมมาใช้ใน
การแสดงผลรูปภาพบนเครือข่ายอินเตอร์เนตเช่นเดียวกับ GIF
แต่มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกัน
PICT PICTure เป็นกราฟฟิคไฟล์ประเภทเดียวกับไฟล์ BMP เป็นไฟล์ที่ใช้เพื่อ
แสดงผลภาพกราฟฟิค บนจอภาพของ แมคอินทอช
PSD - คือ กราฟฟิคไฟล์ ของโปรแกรมตบแต่งรูปภาพ (Retuching)
ยอดนิยม Adobe Photoshop ไฟล์ PSD นี้จะใช้กับ
โปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อการแก้ไขตบแต่งรูปภาพ
PNG - เป็นกราฟฟิคไฟล์ชนิดล่าสุด ที่นามาใช้แสดงผลภาพบนเวบ
เพจ
PDF - ไฟล์ PDF เป็นไฟล์เอกสารของ Adobe Acrobat ใช้ในการ
แสดงเอกสารในรูปแบบของกราฟฟิค ซึ่งจะต้องใช้ โปรแกรม
Adobe Acrobat Reader ในการอ่าน
ตารางที่ 1.1 คุณสมบัติและข้อดี, ข้อเสียของกราฟฟิคไฟล์ประเภท Raster
ไฟล์ คุณสมบัติของไฟล์ ลักษณะการใช้งาน
BMP สามารถบันทึกภาพ
ชนิดขาวดาแบบ 16 สี
และภาพสีขนาด 24
บิท (True color) ได้
สามารถเก็บองค์ประกอบของรูปได้ครบ
ขนาดของไฟล์ใหญ่
PCX บันทึกได้ตั้งแต่ภาพชนิด -
ขาวดาแบบ 16 สี, ภาพ
ขาวดา 256 ระดับ
(Grayscales), ภาพสี
แบบ 16, 256 และ
16.7ล้านสีได้
-
TIFF บันทึกภาพได้หลาย
ชนิดทั้งภาพลายเส้น
(Line-Art), ภาพ
halftone, ภาพ
grayscale และภาพสี
ตั้งแต่ 1 บิทจนถึง
ภาพสี 32 บิท
สามารถบันทึกข้อมูลได้หลายชนิดและบันทึกระดับสีได้สูง และ
มีการบีบอัดข้อมูล เพื่อประหยัดเนื้อที่ในการบันทึกได้
มีหลายเวอร์ชั่น ซึ่งต้องระวังในเซฟเพื่อใช้งานกับ โปรแกรม
ประยุกต์รุ่นเก่าๆ
GIF เก็บข้อมูลภาพใน
ลักษณะ 8 bit (256 สี)
สามารถเก็บภาพไว้ได้
หลายภาพในไฟล์เดียว
จึงสามารถทา
ภาพเคลื่อนไหวได้, มี
การบีบอัดข้อมูลแบบ
LZW (Lamp Ziv-
Welch),
นิยมใช้งานในอินเตอร์เนต มีความสามารถพิเศษมาก เช่น การ
ทาภาพโปร่งใส (Transparent), สามารถรอรับอินพุทจากผู้ใช้
เพื่อให้มีการเคลื่อนไหวภาพ, การใส่คอมเมนท์เพื่อการอ้างอิง
เก็บสีได้เพียง 256 สี (สีโปร่งใส หรือ Transparent ก็นับเป็น
1 สี) และไม่เหมาะที่จะเซฟไฟล์รูปขนาดใหญ่ๆ เพราะจะมี
ขนาดใหญ่มาก
JPG เก็บข้อมูลภาพใน
ลักษณะของการบีบอัด
ข้อมูล สามารถเก็บ
ภาพสีได้สูงถึง 16.7
ล้านสี
เหมาะสาหรับการใช้งานบนอินเตอร์เนต เพราะมีขนาดเล็ก
สามารถโหลดได้รวดเร็ว แต่ให้รายละเอียดของภาพสูง
คุณภาพของรูปจะลดลงเมื่อบีบอัดไฟล์ จึงไม่เหมาะแก่การ
นามาแก้ไขตบแต่ง
PICT ไม่ทราบข้อมูล แต่มี
ความสามารถใกล้เคียง
กับไฟล์ BMP
สามารถเก็บองค์ประกอบของรูปได้ครบ
เป็นไฟล์ของ Mac OS และไม่สามารถเซฟในโหมด CMYK
เพื่อนามาใช้งานด้านการพิมพ์ได้
PSD สามารถบันทึก
ข้อมูลภาพ ได้ทุก
รูปแบบ
มีการแบ่งเลเยอร์ เพื่อง่ายแก่การแก้ไข ในภายหลัง และ
สามารถบันทึกกราฟฟิคแบบ Vector ลงในไฟล์ได้
มีขนาดไฟล์ที่ใหญ่
PNG ยังไม่มีข้อมูล -
-
PDF ยังไม่มีข้อมูล สามารถเซฟไฟล์กราฟฟิค ทุกประเภทให้เป็น PDF ได้ (โดยใช้
โปรแกรม Adobe Acrobat) โดยยังคงลักษณะเดิมของ
เอกสารไว้ ไม่ว่าจะเปิดที่ใด
ต้องอ่านไฟล์ชนิดนี้ด้วย โปรแกรม Adobe Acrobat Reader
เท่านั้น
2) ไฟล์กราฟฟิคประเภท Vector based
คือไฟล์กราฟฟิคที่เกิดจากการ ผลคานวณทางคณิตศาสตร์เพื่อให้เกิดภาพ หรือเราจะเรียกไฟล์ชนิดนี้ได้อีก
อย่างหนึ่งว่า ไฟล์ประเภท "postscript"ไฟล์ชนิดนี้บางประเภทก็ยังสามารถเก็บภาพ bitmap เอาไว้ในตัวได้
อีกด้วย ส่วนใหญ่แล้ว ไฟล์ประเภท Vector นี้จะถูกแบ่งแยกโดยโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการแก้ไขไฟล์นั้นๆ
ไฟล์ชนิดซึ่งที่นิยมใช้กันนั้น มีดังนี้
ตารางที่ 1.1 ตัวอย่างของกราฟฟิคไฟล์ประเภท Vector
ไฟล์ มาจากคาว่า ลักษณะการใช้งาน
PS PostScript ไม่มีข้อมูลครับ
EPS Encapsulated
PostScript
เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
(Desktop Publishing) เป็นไฟล์ Vector มาตรฐาน ใช้งานได้
กับโปรแกรมหลายโปรแกรม สามารถทาการแยกสีเพื่องาน
พิมพ์ได้ นอกจากนี้ยังใช้ในการเซฟ Vector ไฟล์ จาก
โปรแกรมหนึ่งเพื่อนาไปโหลดใช้งาน ในอีกโปรแกรมหนึ่งอีก
ด้วย ไฟล์ชนิดนี้จะมีขนาดใหญ่กว่าไฟล์ vector ชนิดอื่นๆ
AI Adobe Illustrator
sequence
AI เป็นไฟล์ของ Adobe Illustrator จึงควรรแก้ไขไฟล์ AI บน
โปรแกรม Illustrator เท่านั้น
FH FreeHand คือ ไฟล์ของโปรแกรม vector ของ ค่าย Macromedia ที่มี
ชื่อว่า FreeHand (เครื่องหมาย ?ใช้แทนตัวลขเพื่อบอกเวอร์
ชั่นของไฟล์)
DWG DraWinG file คือ drawing file ของโปรแกรม AutoCAD
FLA FLAsh เป็นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Macromedia Flash ใช้ใน
การสร้างอนิเมชั่นบนเวบเพจ
SWF Shock Wave Flash เป็นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Macromedia Flash ใช้ใน
การแสดงผล Flash อนิเมชั่นบนเวบเพจ
ไฟล์ประเภท Vector ที่ใช้กับงานสื่อสิ่งพิมพ์นั้น จะสามารถสร้างไฟล์แยกสีชนิด 5 สี โดย 4 แรกคือ CMYK
และสีสุดท้ายจะเป็นข้อมูลของการจัดตาแหน่งไฟล์แยกสี 5 สี ที่เรียกว่า DCS (Digital Color Separation)
อ้างอิง
http://www.guycomputer.com/mean/picturefile.htm
http://www.yupparaj.ac.th/CAI/graphic/type.html
http://www.ceted.org/cet_media/detail.php?mode=Knowledge&pid=185
http://forum.thaidvd.net/lofiversion/index.php/t814-1100.htm
รูปแบบของไฟล์วิดีโอ
ไฟล์วิดีโอที่จะนามาใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีด้วยกันหลายแบบ ซึ่งแต่ละแบบจะมีความแตกต่างกันทั้ง
ขนาดไฟล์และคุณภาพของภาพและเสียง ไฟล์วิดีโอแบบต่าง ๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
1. MPEG (Motion Picture Exports Group) เป็นไฟล์มาตรฐานในการบีบอัดไฟล์วิดีโอซึ่งเป็นรูปแบบของ
วิดีโอที่มีคุณภาพสูงและนิยมนามาใช้กับงานวิดีโอหลายประเภท ไฟล์ MPEG ยังสามารถแบ่งออกตาม
คุณสมบัติต่าง ๆ ได้ดังนี้
 MPEG-1 เป็นรูปแบบไฟล์ที่เข้ารหัสด้วยการบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็ก เพื่อสร้างไฟล์วิดีโอในรูปแบบ
VCD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 352 X 288 และมีการบีบอัดที่สูง มีค่าบิตเรทอยู่ที่ 1.5 Mb/s 2
ช่องสัญญาณเสียง
 MPEG-2 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่สร้างมาเพื่อภาพยนตร์โดยเฉพาะ โดยจะสร้างเป็น SVCD
หรือ DVD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 1920X1080 ซึ่งอัตราการบีบอัดจะน้อยกว่ารูปแบบ MPEG-1
ไฟล์ที่ได้จึงมีขนาดใหญ่กว่าและมีคุณภาพที่ดีกว่า ซึ่งรูปแบบ MPEG-2 สามารถที่จะบีบอัดข้อมูล
ตามที่ต้องการเองได้
 MPEG-4 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่ดีกว่า MPEG-1 และ MPEG-2 เป็นไฟล์วิดีโอบีบอัดที่มี
คุณภาพสูง ซึ่งมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 720×576 รองรับสื่อวิดีโอดิจิตอลในปัจจุบัน เช่น Mobile
Phone,PSP, PDA และ iPod
2. AVI (Audio Video Interleaved) เป็นรูปแบบของไฟล์มัลติมีเดียบน Windows สาหรับเสียงและ
ภาพเคลื่อนไหวที่ใช้คุณสมบัติของ RIFF (Resource Interchange File Format) ของ Windows เป็นไฟล์
วิดีโอที่มีความละเอียดสูง เหมาะสมกับการนามาใช้ในงานตัดต่อวิดีโอ แต่ไม่นิยมนามาใช้ในสื่อดิจิตอลอื่น ๆ
เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก
3. DAT เป็นระบบของไฟล์ภาพยนตร์หรือไฟล์คาราโอเกะจากแผ่น VCD ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ MPEG-1
สามารถเปิดเล่นด้วยโปรแกรมดูหนัง เช่น Power DVD หรือ โปรแกรม Windows Media Player มีการ
เข้ารหัสบีบอัดไฟล์คล้ายกับไฟล์ MPEG สามารถเล่นได้บนเครื่องเล่น VCD หรือ DVD ทั่วไป
4. WMV (Windows Media Video) เป็นไฟล์วิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท์ สร้างขึ้นมาจากโปรแกรม
Windows Movie Maker เป็นไฟล์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันจากสื่ออินเทอร์เน็ต มีจุดประสงค์ที่สร้างขึ้นมา
เพื่อการชมวิดีโอแบบ Movie on Demand ด้วยคุณภาพที่ดีและมีขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถที่จะ Upload ขึ้น
เว็บไซต์ได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
5. MOV (QuickTime Movie) เป็นไฟล์ของโปรแกรม QuickTime จากบริษัท Apple ซึ่งมีความนิยมสูงใน
เครื่องตระกูล Macintosh สามารถใช้ได้กับเครื่องที่ใช้ระบบ Windows แต่จาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม
QuickTime ก่อน
6. VOB (Voice of Barbados) เป็นไฟล์ของ ซึ่งใช้การเข้ารหัสหรือการบีบอัดในรูปแบบซึ่งมีคุณภาพสูงทั้ง
ระบบภาพและเสียง สามารถเล่นได้จากเครื่องเล่น DVD หรือไดรว์ DVD ในเครื่องคอมพิวเตอร์
7. DV (Digital Video) ไฟล์เป็นประเภท AVI เช่นเดียวกัน แต่แตกต่างกันที่ มีการกาหนดขนาดความ
ละเอียดของภาพ ที่ต่างกัน และอัตราการส่งข้อมูลต่างกัน ไฟล์ประเภทนี้เหมาะสาหรับใช้เป็นไฟล์ต้นฉบับ ใน
การนาไปแปลงเป็น VCD/DVD ที่เรารู้จักกันดี ไฟล์ประเภทนี้มักถ่ายมาจากกล้องดิจิตอลที่บันทึกลงเทป DV,
miniDV
8. RM (Streaming RealVideo) พัฒนาโดยบริษัท Real Network ที่เคยโด่งดังมานาน เป็นไฟล์วีดีโออีก
รูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้สาหรับการเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบ “Streaming” ซึ่งมีความคมชัดของภาพ
และเสียงค่อนข้างต่า แต่เหมาะสาหรับการเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันไฟล์ FLV เป็นอีกหนึ่งที่นิยมใช้
เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต
9. DixV ไฟล์วีดีโดรูปแบบใหม่ที่นิยมใช้งานกันมาก เนื่องจากมีคุณภาพสูงในขณะที่ไฟล์มีขนาดเล็กลง
เรียกว่าคุณภาพระดับ DVD เลย เป็นไฟล์ประเภทเดียวกับ MPEG-4
10. XviD ไฟล์วีดีโอมีความใกล้เคียงกับ DixV แต่เนื่องจากเป็นไฟล์ประเภท Open Source (ฟรีในการใช้
งาน และพัฒนาต่อ)
ที่มา: นายอุทิศ แจ้งถิ่นป่า ตาแหน่ง ครู ค.ศ.2 โรงเรียนหนองฉางวิทยา สังกัด สพม. เขต
42 (อุทัยธานี-นครสวรรค์)

More Related Content

Viewers also liked

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลAtiwat Patsarathorn
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นSuphol Sutthiyutthasenee
 
ถ่ายภาพ
ถ่ายภาพถ่ายภาพ
ถ่ายภาพJame555
 
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นเทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นJintana_may
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...Atita Rmutsv
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบNipat Deenan
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Derivadas aplicações taxa de variação marginal _ máximos e mínimos_2016
Derivadas aplicações  taxa de  variação marginal _ máximos e mínimos_2016Derivadas aplicações  taxa de  variação marginal _ máximos e mínimos_2016
Derivadas aplicações taxa de variação marginal _ máximos e mínimos_2016Julio Cezar Wojciechowski
 
การถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาวการถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาวnsumato
 
Photography: 7 - Raw Format
Photography: 7 - Raw FormatPhotography: 7 - Raw Format
Photography: 7 - Raw FormatMike Cummins
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1pattaya chantokul
 

Viewers also liked (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
ถ่ายภาพ
ถ่ายภาพถ่ายภาพ
ถ่ายภาพ
 
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นเทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
Types of images
Types of imagesTypes of images
Types of images
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Derivadas aplicações taxa de variação marginal _ máximos e mínimos_2016
Derivadas aplicações  taxa de  variação marginal _ máximos e mínimos_2016Derivadas aplicações  taxa de  variação marginal _ máximos e mínimos_2016
Derivadas aplicações taxa de variação marginal _ máximos e mínimos_2016
 
การถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาวการถ่ายภาพ และดวงดาว
การถ่ายภาพ และดวงดาว
 
Photography: 7 - Raw Format
Photography: 7 - Raw FormatPhotography: 7 - Raw Format
Photography: 7 - Raw Format
 
Game development process 1 GDD
Game development process 1 GDDGame development process 1 GDD
Game development process 1 GDD
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 

Similar to 6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ

Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshopjompon
 
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie makerคู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie makerมนตรี ศรีวงศ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอSamorn Tara
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นBeerza Kub
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2suphinya44
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7Vinz Primo
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
การตัดรูปภาพใน Powerpoint
การตัดรูปภาพใน Powerpointการตัดรูปภาพใน Powerpoint
การตัดรูปภาพใน PowerpointKanchanatep Thongnum
 
ใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอNimanong Nim
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 

Similar to 6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ (20)

ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 
ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie makerคู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
 
Windows Live Movie Maker
Windows Live Movie MakerWindows Live Movie Maker
Windows Live Movie Maker
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Smart application
Smart applicationSmart application
Smart application
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 4
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 4วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 4
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 4
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
การตัดรูปภาพใน Powerpoint
การตัดรูปภาพใน Powerpointการตัดรูปภาพใน Powerpoint
การตัดรูปภาพใน Powerpoint
 
ใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 7 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

More from patmalya

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู patmalya
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียนpatmalya
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดียpatmalya
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการpatmalya
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊คpatmalya
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a daypatmalya
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผลpatmalya
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตูpatmalya
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครูpatmalya
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคตpatmalya
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจังpatmalya
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดีpatmalya
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุงpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัขpatmalya
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 tpatmalya
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้าpatmalya
 

More from patmalya (20)

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
 

6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ

  • 1. เทคนิคการถ่ายภาพ 1. ทากล้องให้มั่นคงไม่สั่นไหว ปัญหาหาการถ่ายภาพออกมาแล้วไม่ชัดถือว่าเป็นปัญหาหลัก แต่มีเทคนิคง่ายๆที่ สามารถทาได้ถ่ายภาพ ได้ดีขึ้น ซึ่งจะช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว สิ่งที่ดีที่จะช่วยไม่ให้ภาพสั่นไหวคือ การใช้ขาตั้ง กล้องในการถ่ายภาพ แต่ถ้า คุณไม่มีขาตั้งกล้อง หรือไปใน สถานที่ไม่สามารถนาขาตั้งกล้องไปได้ ก็ให้หา สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้ เช่น บนโต๊ะ, ฝากระโปรงรถ, หรืออะไรก็ ตามที่สามารถวางกล้องได้ แต่หากไม่มีอยากให้ทาตามวิธีง่าย ถือกล้องด้วย 2 มือ โดยมีข้อปฏิบัติ คือ 1. ให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก และให้แขนแนบชิดกับลาตัว 2. อย่าเกรงปล่อบตัวตามสบาย 3. หายใจลึกๆ และให้กลั้นหายในระหว่างที่กาลังจะกดซัตเตอร์ เพื่อไม่ให้มือสั่นในระหว่างการกดซัต เตอร์ 2. การถ่ายภาพแนวนอนกับแนวตั้ง ในการถ่ายภาพนั้นอยากให้ลองถ่ายรูปในแบบแนวนอน ปกติ และ แบบแนวตั้งดูบ้าง ในบางสถานการณ์ การ ถ่ายภาพแบบแนวตั้งและแนวนอนจะให้อารมณ์ของ ภาพที่ออกมานั้นต่างกันไปด้วย เช่น ในการถ่ายภาพ ตึก หรือต้นไม้ หรือวัตถุที่มีความสูง เมื่อถ่ายภาพในแนวตั้ง จะแสดงออกถึงความสูงได้อย่างเด่นชัด และถ้า ต้องการจะสื่อให้เห็นถึงความกว้าง ก็ให้ถ่ายในลักษณะ แนวนอน ซึ่งจะเหมาะสมกับการถ่ายภาพวิว 3. การวางเส้นขอบฟ้าในการถ่ายวิว เทคนิคในการถ่ายภาพวิวให้สวยนั้นควร คานึงถึงการจัดองค์ประกอบของภาพด้วย โดยเฉพาะ เส้นขอบ ฟ้า โดยเฉพาะเมื่อคุณ ต้องการที่จะเน้นท้องฟ้าที่สวยงาม โดยที่ให้ คุณจัดองค์ประกอบภาพโดยให้ ท้องฟ้าอยู่ ต่าลงมา แต่ถ้าต้องการ เน้นวัตถุ หรือ วิว ที่อยู่ข้างหน้าก็ให้เน้นที่วัตถุโดยให้ เส้นขอบ ฟ้าอยู่ในระดับสูงในภาพ 4. Rule of Third นอกเหนือจากการวางองค์ประกอบของภาพให้อยู่ตรงกลางของ ภาพแล้ว อยากให้ ลองวิธีการวาง องค์ประกอบของภาพแบบใหม่ๆดูกัน ด้วยวิธีการง่ายๆ ขั้นแรกให้แบ่ง หน้าจอ LCD บนตัวกล้องของคุณ ออกเป็น 9 ส่วน เหมือนในภาพ ทีนี้ลองวางสิ่งที่ ต้องการเน้นในภาพ เช่น ภาพคนให้อยู่จุดที่เส้นแนวตั้งและ แนวนอนตัดกัน โดยวิธีนี้ จะทาให้มีความสมดุลและเป็นธรรมชาติมากกว่าให้คนอยู่ตรงกลางของภาพ ยิ่งไป กว่านั้นถ้าให้ดวงตาของคนในภาพอยู่ระหว่างจุดตัด จะทาให้ภาพดูนุ่มนวลกว่าอยู่ ตรงกลาง หรือถ้าคุณ ต้องการถ่ายภาพวิวโดยจะเน้นส่วนไหนก็ให้ส่วนนั้นที่ต้องการ จะเน้น มีสัดส่วน 2 ต่อ 3 ในภาพ 5. ช่วงเวลาในการถ่ายภาพ
  • 2. ช่วงเวลาในการถ่ายภาพนั้นก็มีส่วนสาคัญในการถ่ายภาพ เหมือนกันโดยช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการ ถ่ายภาพที่แจ้งก็ คือ ตอนเช้าโดยที่แสงอาทิตย์ในยามเช้านั้นจะให้อารมณ์ ของ ความเป็นธรรมชาติหรือถ้าจะ ถ่ายดวงอาทิตย์ ช่วง ตอนเย็นๆ ก่อนพระอาทิตย์จะตกเต็มที่ก็จะให้แสงที่ สวยงาม แต่อย่างไรก็ตามช่วงเวลาที่ ควรจะเลี่ยงในการ ถ่ายภาพก็คือ ช่วงกลางวัน หรือตอนบ่ายโมงถึง บ่าย สองโมง เนื่องจากแสงอาทิตย์ ช่วงเวลานี้จะให้แสงจ้าไม่ เป็นธรรมชาติ 6. ถ่ายภาพให้ใกล้ขึ้น การถ่ายให้ใกล้กับวัตถุมากขึ้นนั้นก็สามารถเปลื่ยนอารมณ์ และสื่อให้เห็นความสวยงามของภาพได้มาก ยิ่งขึ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การถ่ายภาพ ดอกไม้ที่สวยงาม หรือ แจกันคริสตัล โดยการถ่ายภาพระยะใกล้นั้น สามารถทาได้ อย่างง่ายโดยใช้โหมดถ่ายภาพMarco ซึ่งมีอยู่ในกล้อง Cyber-shot ทุกรุ่น 7. การถ่ายภาพแบบมีเงาหรือมีเงาสะท้อน นอกเหนือจากการถ่ายรูปวิว หรือ รูปบุคคลแบบปกติแล้ว การเล่นกับเงาของวัตถุ หรือการสะท้อนของเงา กับ กระจก, ผิวน้า สิ่งที่สะท้อนเงาได้ ก็ถือเป็นแสดงอารมณ์ของภาพอีกรูปแบบหนึ่ง นอกเหนือจากการถ่ายรูป แบบปกติ 8. นาสิ่งที่ต้องการเน้นออกจากตรงกลางของภาพ การวางภาพไว้ตรงกลางนั้นก็ถือว่าเป็นภาพที่สวยแล้ว แต่ถ้าลองเปลื่ยนตาแหน่งให้มาอยู่ทางด้านซ้ายหรือ ทางด้านขวานั้น ก็จะทาให้ภาพหรือสิ่งที่ต้องการเน้นดูมีสีสันแล้วมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น โดยสามารถใช้หลักการ Rule of Third ที่ได้นาเสนอในเบื้องต้นมาประยุกต์ประกอบกันได้ 9. คุณรู้จักระยะแฟลชของกล้องคุณหรือเปล่า? สิ่งหนึ่งที่เป็นข้อผิดพลาดในการถ่ายภาพด้วยแฟลชนั้น คือ ถ่ายภาพที่อยู่ระยะเกินกว่าระยะของแฟลช ทาไมถึงถือเป็นข้อผิดพลาดก็เพราะว่า ภาพที่ถ่ายอยู่เกินระยะแฟลชนั้นจะทาให้ภาพ, ฉากหลัง หรือวัตถุ นั้น มืดไม่สวยงาม ดังนั้นควรจะรู้ว่าระยะแฟลชของกล้องนั้นมีระยะเท่าไร แต่ถ้าไม่รู้ก็ให้ลองเล่นกับแฟลชดู แต่ โดยปกติแล้วระยะของแฟลชจะอยู่ที่ 1-3 เมตร ดังนั้นควรให้อยู่ระยะที่ปลอดภัยที่สุดคือ ไม่เกิน 1 เมตร
  • 3. 10. เทคนิคการใช้แฟลช บางคนอาจจะคิดว่าแฟลชนั้นใช้เฉพาะถ่ายภาพตอนกลางคืน แต่จริงๆแล้ว แฟลชนั้นก็สามารถใช้ใน สถานการณ์ที่มีแสงสว่างพอแต่ในหน้าบุคคลในภาพมี ความมืดมาก ก็สามารถใช้แฟลชช่วยในการทาให้ใบหน้า มีความสว่างยิ่งขึ้น อันนี้สามารถใช้ในกรณีถ่ายภาพย้อนแสงได้ด้วย
  • 4. ประเภทของไฟล์ภาพ ประเภทของไฟล์มีไว้เพื่อจาแนกหน้าที่และรูปแบบของไฟล์ เพื่อให้เราทราบได้ว่าไฟล์นั้นๆ มีหน้าที่อะไร ใช้ทาอะไร แต่ในที่นี้ ทางเรา จะแนะนาเฉพาะไฟล์ใช้ควบคู่กับการทางานกราฟฟิคเท่านั้น ประเภทของไฟล์กราฟฟิคมี 2 ประเภท คือbased 1. ไฟล์กราฟฟิคประเภท Raster baseded 2. ไฟล์กราฟฟิคประเภท Vector based ภาพตัวอย่างของกราฟฟิคไฟล์ทั้งสองประเภท ภาพแตงแมวขยายใหญ่ในแบบ raster สังเกตุได้ว่าภาพจะแตกเป็นเสี่ยงๆ เพราะ ว่าภาพเกิดขึ้น จากจุดเล็กๆ มาเรียงกัน ภาพแตงแมวขยายใหญ่ในแบบ vector ภาพยังเฉียบคมแม้จะขยายเป็นพันๆ พันเท่า (โปรดสังเกต : ขนาดขยายใหญ่กว่านะเนี่ย) 1) ไฟล์กราฟฟิคประเภท Raster based หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "bitmap" ซึ่งเกิดจากการนาเอาจุดสีเล็กๆ หลายๆ จุดมารวมกันเพื่อให้เกิดภาพ ซึ่งจะมีความกว้างยาว X pixel และ Y pixel และความลึกคือ Z pixel (Z pixel คือ ค่าความลึกของสี : Color Depth) ไฟล์ Raster มีรูปแบบและวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกันไป ซึ่งเราควรจะนามาใช้ให้ เหมาะสม โดยศึกษาการใช้งานได้จากตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1.1 ชนิดของกราฟฟิคไฟล์ประเภท Raster ไฟล์ มาจากคาว่า ลักษณะการใช้งาน BMP Bitmap squence ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เพื่อแสดงผลภาพกราฟฟิคโปรแกรม วินโดวส์ เป็นไฟล์ที่ไม่ค่อยมีประโยชน์ในด้านการใช้งานมาก นัก จะใช้เพื่อเก็บกราฟฟิคไฟล์ที่เป็นต้นแบบเสียส่วนใหญ่ และ ใช้ในการแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์ PCX - เป็นกราฟฟิคไฟล์พื้นฐานอีกชนิดหนึ่งใน PC ถูกสร้างและ พัฒนาโดย Z-soft Corperation เพื่อใช้กับโปรแกรม PC Paintbrush มีรูปแบบคล้ายคลึงกับไฟล์ bitmap ปัจจุบันไม่ นิยมใช้กันแล้ว
  • 5. TIFF Tagged Image File Format เป็นกราฟฟิคไฟล์ที่สร้างมาเพื่อ โปรแกรมประเภทจัดหน้า หนังสือ (Desktop Publishing) สามารถเก็บข้อมูล รายละเอียดของภาพได้ค่อนข้างมาก ใช้ได้ทั้งใน Mac และ PC มีหลายเวอร์ชั่น แต่ที่นิยมใช้กันคือ เวอร์ชั่น 4 และ 5 GIF compu surve Graphic Interchange File ถูกสร้างขึ้นมาโดยบริษัท Compu surve ซึ่งเป็นบริษัทที่ ให้บริการด้านเครือข่ายของสหรัฐ เหมาะกับการเก็บไฟล์ รูปภาพขนาดเล็ก และมีจานวนของสีน้อย มีขนาดไฟล์เล็ก เพราะสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในระบบเครือข่าย JPG Joint Photographic Experts Group เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อบีบอัดข้อมูลภาพ เพื่อให้มีขนาด กระทัดรัด เพื่อนาใช้งานในระบบอินเตอร์เนต นิยมมาใช้ใน การแสดงผลรูปภาพบนเครือข่ายอินเตอร์เนตเช่นเดียวกับ GIF แต่มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกัน PICT PICTure เป็นกราฟฟิคไฟล์ประเภทเดียวกับไฟล์ BMP เป็นไฟล์ที่ใช้เพื่อ แสดงผลภาพกราฟฟิค บนจอภาพของ แมคอินทอช PSD - คือ กราฟฟิคไฟล์ ของโปรแกรมตบแต่งรูปภาพ (Retuching) ยอดนิยม Adobe Photoshop ไฟล์ PSD นี้จะใช้กับ โปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อการแก้ไขตบแต่งรูปภาพ PNG - เป็นกราฟฟิคไฟล์ชนิดล่าสุด ที่นามาใช้แสดงผลภาพบนเวบ เพจ PDF - ไฟล์ PDF เป็นไฟล์เอกสารของ Adobe Acrobat ใช้ในการ แสดงเอกสารในรูปแบบของกราฟฟิค ซึ่งจะต้องใช้ โปรแกรม Adobe Acrobat Reader ในการอ่าน ตารางที่ 1.1 คุณสมบัติและข้อดี, ข้อเสียของกราฟฟิคไฟล์ประเภท Raster ไฟล์ คุณสมบัติของไฟล์ ลักษณะการใช้งาน BMP สามารถบันทึกภาพ ชนิดขาวดาแบบ 16 สี และภาพสีขนาด 24 บิท (True color) ได้ สามารถเก็บองค์ประกอบของรูปได้ครบ ขนาดของไฟล์ใหญ่ PCX บันทึกได้ตั้งแต่ภาพชนิด -
  • 6. ขาวดาแบบ 16 สี, ภาพ ขาวดา 256 ระดับ (Grayscales), ภาพสี แบบ 16, 256 และ 16.7ล้านสีได้ - TIFF บันทึกภาพได้หลาย ชนิดทั้งภาพลายเส้น (Line-Art), ภาพ halftone, ภาพ grayscale และภาพสี ตั้งแต่ 1 บิทจนถึง ภาพสี 32 บิท สามารถบันทึกข้อมูลได้หลายชนิดและบันทึกระดับสีได้สูง และ มีการบีบอัดข้อมูล เพื่อประหยัดเนื้อที่ในการบันทึกได้ มีหลายเวอร์ชั่น ซึ่งต้องระวังในเซฟเพื่อใช้งานกับ โปรแกรม ประยุกต์รุ่นเก่าๆ GIF เก็บข้อมูลภาพใน ลักษณะ 8 bit (256 สี) สามารถเก็บภาพไว้ได้ หลายภาพในไฟล์เดียว จึงสามารถทา ภาพเคลื่อนไหวได้, มี การบีบอัดข้อมูลแบบ LZW (Lamp Ziv- Welch), นิยมใช้งานในอินเตอร์เนต มีความสามารถพิเศษมาก เช่น การ ทาภาพโปร่งใส (Transparent), สามารถรอรับอินพุทจากผู้ใช้ เพื่อให้มีการเคลื่อนไหวภาพ, การใส่คอมเมนท์เพื่อการอ้างอิง เก็บสีได้เพียง 256 สี (สีโปร่งใส หรือ Transparent ก็นับเป็น 1 สี) และไม่เหมาะที่จะเซฟไฟล์รูปขนาดใหญ่ๆ เพราะจะมี ขนาดใหญ่มาก JPG เก็บข้อมูลภาพใน ลักษณะของการบีบอัด ข้อมูล สามารถเก็บ ภาพสีได้สูงถึง 16.7 ล้านสี เหมาะสาหรับการใช้งานบนอินเตอร์เนต เพราะมีขนาดเล็ก สามารถโหลดได้รวดเร็ว แต่ให้รายละเอียดของภาพสูง คุณภาพของรูปจะลดลงเมื่อบีบอัดไฟล์ จึงไม่เหมาะแก่การ นามาแก้ไขตบแต่ง PICT ไม่ทราบข้อมูล แต่มี ความสามารถใกล้เคียง กับไฟล์ BMP สามารถเก็บองค์ประกอบของรูปได้ครบ เป็นไฟล์ของ Mac OS และไม่สามารถเซฟในโหมด CMYK เพื่อนามาใช้งานด้านการพิมพ์ได้ PSD สามารถบันทึก ข้อมูลภาพ ได้ทุก รูปแบบ มีการแบ่งเลเยอร์ เพื่อง่ายแก่การแก้ไข ในภายหลัง และ สามารถบันทึกกราฟฟิคแบบ Vector ลงในไฟล์ได้ มีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ PNG ยังไม่มีข้อมูล -
  • 7. - PDF ยังไม่มีข้อมูล สามารถเซฟไฟล์กราฟฟิค ทุกประเภทให้เป็น PDF ได้ (โดยใช้ โปรแกรม Adobe Acrobat) โดยยังคงลักษณะเดิมของ เอกสารไว้ ไม่ว่าจะเปิดที่ใด ต้องอ่านไฟล์ชนิดนี้ด้วย โปรแกรม Adobe Acrobat Reader เท่านั้น 2) ไฟล์กราฟฟิคประเภท Vector based คือไฟล์กราฟฟิคที่เกิดจากการ ผลคานวณทางคณิตศาสตร์เพื่อให้เกิดภาพ หรือเราจะเรียกไฟล์ชนิดนี้ได้อีก อย่างหนึ่งว่า ไฟล์ประเภท "postscript"ไฟล์ชนิดนี้บางประเภทก็ยังสามารถเก็บภาพ bitmap เอาไว้ในตัวได้ อีกด้วย ส่วนใหญ่แล้ว ไฟล์ประเภท Vector นี้จะถูกแบ่งแยกโดยโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการแก้ไขไฟล์นั้นๆ ไฟล์ชนิดซึ่งที่นิยมใช้กันนั้น มีดังนี้ ตารางที่ 1.1 ตัวอย่างของกราฟฟิคไฟล์ประเภท Vector ไฟล์ มาจากคาว่า ลักษณะการใช้งาน PS PostScript ไม่มีข้อมูลครับ EPS Encapsulated PostScript เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Desktop Publishing) เป็นไฟล์ Vector มาตรฐาน ใช้งานได้ กับโปรแกรมหลายโปรแกรม สามารถทาการแยกสีเพื่องาน พิมพ์ได้ นอกจากนี้ยังใช้ในการเซฟ Vector ไฟล์ จาก โปรแกรมหนึ่งเพื่อนาไปโหลดใช้งาน ในอีกโปรแกรมหนึ่งอีก ด้วย ไฟล์ชนิดนี้จะมีขนาดใหญ่กว่าไฟล์ vector ชนิดอื่นๆ AI Adobe Illustrator sequence AI เป็นไฟล์ของ Adobe Illustrator จึงควรรแก้ไขไฟล์ AI บน โปรแกรม Illustrator เท่านั้น FH FreeHand คือ ไฟล์ของโปรแกรม vector ของ ค่าย Macromedia ที่มี ชื่อว่า FreeHand (เครื่องหมาย ?ใช้แทนตัวลขเพื่อบอกเวอร์ ชั่นของไฟล์) DWG DraWinG file คือ drawing file ของโปรแกรม AutoCAD FLA FLAsh เป็นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Macromedia Flash ใช้ใน การสร้างอนิเมชั่นบนเวบเพจ SWF Shock Wave Flash เป็นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Macromedia Flash ใช้ใน การแสดงผล Flash อนิเมชั่นบนเวบเพจ
  • 8. ไฟล์ประเภท Vector ที่ใช้กับงานสื่อสิ่งพิมพ์นั้น จะสามารถสร้างไฟล์แยกสีชนิด 5 สี โดย 4 แรกคือ CMYK และสีสุดท้ายจะเป็นข้อมูลของการจัดตาแหน่งไฟล์แยกสี 5 สี ที่เรียกว่า DCS (Digital Color Separation) อ้างอิง http://www.guycomputer.com/mean/picturefile.htm http://www.yupparaj.ac.th/CAI/graphic/type.html http://www.ceted.org/cet_media/detail.php?mode=Knowledge&pid=185 http://forum.thaidvd.net/lofiversion/index.php/t814-1100.htm
  • 9. รูปแบบของไฟล์วิดีโอ ไฟล์วิดีโอที่จะนามาใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีด้วยกันหลายแบบ ซึ่งแต่ละแบบจะมีความแตกต่างกันทั้ง ขนาดไฟล์และคุณภาพของภาพและเสียง ไฟล์วิดีโอแบบต่าง ๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน 1. MPEG (Motion Picture Exports Group) เป็นไฟล์มาตรฐานในการบีบอัดไฟล์วิดีโอซึ่งเป็นรูปแบบของ วิดีโอที่มีคุณภาพสูงและนิยมนามาใช้กับงานวิดีโอหลายประเภท ไฟล์ MPEG ยังสามารถแบ่งออกตาม คุณสมบัติต่าง ๆ ได้ดังนี้  MPEG-1 เป็นรูปแบบไฟล์ที่เข้ารหัสด้วยการบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็ก เพื่อสร้างไฟล์วิดีโอในรูปแบบ VCD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 352 X 288 และมีการบีบอัดที่สูง มีค่าบิตเรทอยู่ที่ 1.5 Mb/s 2 ช่องสัญญาณเสียง  MPEG-2 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่สร้างมาเพื่อภาพยนตร์โดยเฉพาะ โดยจะสร้างเป็น SVCD หรือ DVD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 1920X1080 ซึ่งอัตราการบีบอัดจะน้อยกว่ารูปแบบ MPEG-1 ไฟล์ที่ได้จึงมีขนาดใหญ่กว่าและมีคุณภาพที่ดีกว่า ซึ่งรูปแบบ MPEG-2 สามารถที่จะบีบอัดข้อมูล ตามที่ต้องการเองได้  MPEG-4 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่ดีกว่า MPEG-1 และ MPEG-2 เป็นไฟล์วิดีโอบีบอัดที่มี คุณภาพสูง ซึ่งมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 720×576 รองรับสื่อวิดีโอดิจิตอลในปัจจุบัน เช่น Mobile Phone,PSP, PDA และ iPod 2. AVI (Audio Video Interleaved) เป็นรูปแบบของไฟล์มัลติมีเดียบน Windows สาหรับเสียงและ ภาพเคลื่อนไหวที่ใช้คุณสมบัติของ RIFF (Resource Interchange File Format) ของ Windows เป็นไฟล์ วิดีโอที่มีความละเอียดสูง เหมาะสมกับการนามาใช้ในงานตัดต่อวิดีโอ แต่ไม่นิยมนามาใช้ในสื่อดิจิตอลอื่น ๆ เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก 3. DAT เป็นระบบของไฟล์ภาพยนตร์หรือไฟล์คาราโอเกะจากแผ่น VCD ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ MPEG-1 สามารถเปิดเล่นด้วยโปรแกรมดูหนัง เช่น Power DVD หรือ โปรแกรม Windows Media Player มีการ เข้ารหัสบีบอัดไฟล์คล้ายกับไฟล์ MPEG สามารถเล่นได้บนเครื่องเล่น VCD หรือ DVD ทั่วไป 4. WMV (Windows Media Video) เป็นไฟล์วิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท์ สร้างขึ้นมาจากโปรแกรม Windows Movie Maker เป็นไฟล์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันจากสื่ออินเทอร์เน็ต มีจุดประสงค์ที่สร้างขึ้นมา เพื่อการชมวิดีโอแบบ Movie on Demand ด้วยคุณภาพที่ดีและมีขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถที่จะ Upload ขึ้น เว็บไซต์ได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว 5. MOV (QuickTime Movie) เป็นไฟล์ของโปรแกรม QuickTime จากบริษัท Apple ซึ่งมีความนิยมสูงใน เครื่องตระกูล Macintosh สามารถใช้ได้กับเครื่องที่ใช้ระบบ Windows แต่จาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม QuickTime ก่อน 6. VOB (Voice of Barbados) เป็นไฟล์ของ ซึ่งใช้การเข้ารหัสหรือการบีบอัดในรูปแบบซึ่งมีคุณภาพสูงทั้ง ระบบภาพและเสียง สามารถเล่นได้จากเครื่องเล่น DVD หรือไดรว์ DVD ในเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 10. 7. DV (Digital Video) ไฟล์เป็นประเภท AVI เช่นเดียวกัน แต่แตกต่างกันที่ มีการกาหนดขนาดความ ละเอียดของภาพ ที่ต่างกัน และอัตราการส่งข้อมูลต่างกัน ไฟล์ประเภทนี้เหมาะสาหรับใช้เป็นไฟล์ต้นฉบับ ใน การนาไปแปลงเป็น VCD/DVD ที่เรารู้จักกันดี ไฟล์ประเภทนี้มักถ่ายมาจากกล้องดิจิตอลที่บันทึกลงเทป DV, miniDV 8. RM (Streaming RealVideo) พัฒนาโดยบริษัท Real Network ที่เคยโด่งดังมานาน เป็นไฟล์วีดีโออีก รูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้สาหรับการเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบ “Streaming” ซึ่งมีความคมชัดของภาพ และเสียงค่อนข้างต่า แต่เหมาะสาหรับการเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ปัจจุบันไฟล์ FLV เป็นอีกหนึ่งที่นิยมใช้ เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต 9. DixV ไฟล์วีดีโดรูปแบบใหม่ที่นิยมใช้งานกันมาก เนื่องจากมีคุณภาพสูงในขณะที่ไฟล์มีขนาดเล็กลง เรียกว่าคุณภาพระดับ DVD เลย เป็นไฟล์ประเภทเดียวกับ MPEG-4 10. XviD ไฟล์วีดีโอมีความใกล้เคียงกับ DixV แต่เนื่องจากเป็นไฟล์ประเภท Open Source (ฟรีในการใช้ งาน และพัฒนาต่อ) ที่มา: นายอุทิศ แจ้งถิ่นป่า ตาแหน่ง ครู ค.ศ.2 โรงเรียนหนองฉางวิทยา สังกัด สพม. เขต 42 (อุทัยธานี-นครสวรรค์)