SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
โดย นางสาว อรนุช สายบุตร เลขที่ ๒๐
1



                                              กุหลาบ
                                     ั      ่ ้
   กุหลาบที่ปลูกในประเทศไทยปั จจุบนนี้มีอยูดวยกันหลายประเภทซึ่ งถ้า แบ่งออกโดยสังเขปจะได้ดงนี้      ั
  1. กุหลาบตัดดอกหรือไฮบริดที (Hybrid Tea หรื อ HT)J ปกติมก ออกดอกเป็ นดอกเดี่ยวมีขนาดโต
                                                                      ั
                  ่
กลีบดอกซ้อน พุมต้นตั้งตรงสู งประมาณ 1-2 เมตร กุหลาบที่มีขายทัวไป ตามท้องตลาดขณะนี้มกจะเป็ น
                                                                    ่                          ั
กุหลาบประเภทนี้ อย่างไร ก็ตาม พันธุ์ ไฮบริ ดที นั้น มิได้ใช้ปลูกเป็ นไม้ตดดอกได้ดีทุกพันธุ์ ดังนั้น
                                                                         ั
จาเป็ น ต้องคัดเลือกพันธุ์ให้เหมาะสมสาหรับแต่ละท้องที่ ลักษณะที่เหมาะสมสาหรับจะใช้ เป็ นพันธุ์
สาหรับตัดดอก คือ




                         1. แข็งแรง ต้นโต เลี้ยงง่ายและเจริ ญเติบโตได้ดี
                         2. ออกดอกสม่าเสมอไม่โทรมไวเมื่อถูกตัดดอกไปมาก ๆ
                         3. ทนต่อโรคและแมลงได้ดีพอสมควร
                         4. ลาต้นตั้งตรง ซึ่ งจะทาให้ปลูกได้ชิดกันเป็ นการประหยัดเนื้อที่
                         5. ให้กิ่งก้านยาวตรง มีหนามน้อย ใบงามสมดุลกับกิ่ง
                         6. ฟอร์มดอกดี ทรงดอกยาวแบบแจกันหรื อปลายกลีบดอกแหลม
                         7. กลีบดอกไม่ซอนหนาเกินไปจนดอกบานไม่ออก
                                            ้
                         8. กลีบดอกหนา ทนต่อการบรรจุหีบห่ อและขนส่ ง
                         9. ดอกมีสีสะดุดตาและไม่เปลี่ยนสี เมื่อดอกโรย
                         10. ไม่เหี่ ยวเฉาง่ายหลังจากตัดแล้ว
                         11. ดอกมีกลิ่นหอม (ถ้าเป็ นไปได้)
2




                         พันธุ์เรดมาสเตอร์ พชพันธุ์แกรนด์ มาสเตอร์ พช
                                            ื                       ี

                 ั                            ั                         ่
          ปั จจุบนกุหลาบที่นิยมปลูกเป็ นไม้ตดดอกในประเทศไทยมีอยูมากมายหลายพันธุ์ แต่พนธุ์ที่กรม ั
ส่ งเสริ มการเกษตรแนะนาให้ปลูกมีดงนี้    ั
      พันธุ์ดอกสี แดง ได้แก่ พันธุ์บราโว. เรดมาสเตอร์พีช, คริ สเตียนดิออร์ , โอลิมเปี ยด, นอริ คา, แก
                                                                                                  ้
           รนด์มาสเตอร์พีช, ปาปามิลแลนด์, เวก้า
      พันธุ์ดอกสี เหลือง ได้แก่ พันธุ์คิงส์แรนซัม, ซันคิงส์, เฮสมุดสมิดท์,นิวเดย์ โอรี โกลด์ และเมลิ
           ลอน
      พันธุ์ดอกสี ส้ม ได้แก่ พันธุ์ซนดาวน์เนอร์ , แซนดรา, ซุปเปอร์สตาร์หรื อทรอพปิ คานา
                                       ั
      พันธุ์ดอกสี ชมพู ได้แก่ พันธุ์มิสออลอเมริ กาบิวตี้ หรื อมาเรี ย, คาสลาส, ไอเฟลทาวเวอร์ , สวาท
           มอร์ , เฟรนด์ชิพ,เพอร์ฟูมดีไลท์, จูวงแซล, เฟิ ร์สท์ไพรซ์, อเควเรี ยส, ซูซานแฮมเชียร์
                                                ั
      พันธุ์ดอกสี ขาว ได้แก่ พันธุ์ไวท์คริ สต์มาส เอทีนา
      พันธุ์ดอกสี อื่นๆ ได้แก่ พันธุ์แยงกี้ดูเดิ้ล, ดับเบิลดีไลท์, เบลแอนจ์
                                                           ้

     นอกจากนี้ยงมีกุหลาบสาหรับเด็ดดอกร้อยพวงมาลัย เช่น กุหลาบพันธุ์ฟูซิเลียร์ ซึ่งมีดอกสี ส้ม
               ั




                                 พันธุ์นิวเดย์ พันธุ์มิสออลอเมริกนบิวตี้
                                                                 ั
3




                                      พันธุ์เพอร์ ฟูมดีไลท์

2. กุหลาบพวง หรือ ฟลอริบันด้ า ( Foribunda หรือ F.) กุหลาบพวงมีความแข็งแรงทนทานกว่า
กุหลาบตัดดอกออกดอกดกแต่ดอกไม่ใหญ่เท่ากับกุหลาบตัดดอกแต่มีครบทุกสี และออกดอกเป็ นช่อทีละ
                                                                       ่
หลาย ๆ ดอก จึงนิยมเรี ยกว่ากุหลาบพวง และมักบานพร้อมกัน ดอกมีขนาดเล็ก พุมต้นตั้งตรงสู ง
ประมาณครึ่ งเมตรถึง 1 เมตรเหมาะสมที่จะปลูกในแปลงประดับและในกระถางเช่น พันธุ์ฟูซีเลียร์ , พันธุ์
แองเจลเฟส
3. ประเภทแกรนดิฟลอร่ า (Grandiflora หรือ Gr. ) กุหลาบประเภทนี้เป็ นกุหลาบลูกผสมระหว่าง
                                                                                      ้
กุหลาบตัดดอกและกุหลาบพวง มีลกษณะเป็ นดอกเดี่ยว แต่ดอกเล็กกว่ากุหลาบตัดดอก มีกานยาว ต้นโต
                                    ั
สู ง และแข็งแรง เช่น พันธุ์คาเมล็อท, พันธุ์คาเสทไนท์
4. กุหลาบ หรือ มินิเอเจอร์ (Miniature หรือ Min.) เป็ นกุหลาบที่มีขนาดพุมต้นเล็ก สู ง 1- 2 ฟุต
                                                                            ่
ออกดอกเป็ นพวงและดอกมีขนาดเล็ก นิยมปลูกประดับแปลง และใช้เป็ นไม้กระถาง เช่น พันธุ์เบบี้ มาส
เคอร์เหรด
5. กุหลาบเลือย หรือ ไคลมเบอร์ (Climher หรือ Cl.) กุหลาบชนิดนี้ลาต้นสู งตรง นาไปเลื้อยพันกับ
                ้
สิ่ งต่าง ๆ ได้ ดอกมีท้ งเป็ นดอกขนาดใหญ่ และดอกเป็ นพวง เช่น พันธุ์ดอนจวน, พันธุ์คอกเทล
                        ั                                                          ็
6. ประเภทโพลีแอนท่ า (Polyantha หรือ Pol.) เป็ นกุหลาบลูกผสมระหว่างพันธุ์โรซ่า มัลติฟอร่ า
                                ่
กับ โรซ่า ไชเนนซิ สมีขนาดพุมต้นเตี้ย แข็งแรงและทนทานมาก ออกดอกเป็ นพวงคล้ายกุหลาบพวง
ลักษณะดอกและต้นคล้ายกุหลาบหนูแต่จะแตกต่างกับกุหลาบหนูตรงที่กหลาบโพลีแอนท่าจะมีหูใบที่มี
                                                                      ุ
ลักษณะของพันธุ โรซ่า มัลติฟลอร่ ากุหลาบประเภทนี้ เช่น พันธุ์วายวอน ราเบีย
7. ประเภทแรมเบลอร์ (Rambler หรือ R) มีลาต้นยาวและอ่อนโค้งออกดอกเป็ นพวง และดอกมี
ขนาดเล็ก เช่น พันธ์ไดโรที เปอร์ กิน
4


8. กุหลาบพุ่ม หรือซรับโรส (Shrub หรือ S.) ได้แก่กุหลาบพันธุ์ป่าหรื อลูกผสมของพันธุ์ป่า ซึ่งมี
              ่
ทรงต้นเป็ นพุมออกดอกเป็ นช่อ ดอกมีขนาดเล็กส่ วนมากมีกลีบชั้นเดียว เช่น พันธ์โรซ่ า นิติดา, โรซ่า
                                                                                        ้
มัลติฟลอร่ า, โรซ่า รู โกซ่า



                          การขยายพันธุ์กหลาบที่นิยมใช้ มี 3 วิธี คือ
                                        ุ
1. การตัดชา
          วิธีการตัดชาที่นิยมทาอยูทวไปคือ เลือกกิ่งกุหลาบที่ไม่แก่และไม่อ่อน จนเกินไปนามาตัดเป็ น
                                   ่ ั่
                                                            ่ ้
ท่อนประมาณ12-15 เซนติเมตร หรื อ 1 คืบ รอยตัดต้อง อยูใต้ขอพอดีแล้วตัดใบตรงโคนกิ่งออก จากนั้น
เฉื อนโคนทิง แล้วจุ่มโคนกิ่งตัดชานี้ ในฮอร์ โมนเร่ งราก เซ่น เซอราดิกส์ เบอร์ 2 (เพื่อช่วยเร่ งให้ออกราก
               ้
เร็ วขึ้น) แล้วผึ่ง ให้แห้งนาไปปั กชาในแปลงพ่นหมอกกลางแจ้ง ถ้าไม่มีแปลงพ่นหมอกก็ใช้เครื่ องพ่นน้ า
รดสนามหญ้าก็ได้แล้วให้น้ าเป็ นระยะ ๆ ตามความจาเป็ น โดยมีหลักว่าอย่า ให้ใบกุหลาบแห้ง กิ่งกุหลาบ
จะออกรากใน 12-15 วัน แล้วแต่พนธุ์ การชากิ่งนี้ นิยมทากันมากในปั จจุบนเพราะได้จานวนต้นมากใน
                                        ั                                 ั
ระยะเวลาสั้นเสี ยค่าใช้จ่าย น้อยแต่กิ่งชานี้ เมื่อนาไปปลูกต้นจะโทรมเร็ วภายใน 3- 4 ปี ซึ่งกุหลาบพันธุ์สี
เหลือง และสี ขาวมักจะออกรากยาก




                         ตัดกิงกุหลาบเป็ นท่ อน
                              ่                            เฉือนโคนกิงทิง ประมาณ 12-15 ซม.
                                                                     ่ ้




                                   จุ่มโคนกิงตัดชาในฮอร์ โมนเร่ งราก
                                            ่
5


2. การตอน
         กิ่งที่ใช้ตอนมักมาจากกิ่งที่มีสภาพแตกต่างกันทั้งกิ่งอ่อนและกิ่งแก่ คละกันไปทาให้การ
เจริ ญเติบโตของต้นกุหลาบหลังลงแปลงปลูกในแปลงไม่สม่าเสมอ ซึ่ งการตอนนี้จะใช้เวลาในการเกิด
รากนานประมาณ 4-7 สัปดาห์ ทั้งนี้แล้วแต่ พันธุ์ที่จะใช้ตอน



3. การติดตา
          วิธีการทาต้นกุหลาบติดตานี้ค่อนข้างยุงยากและต้องใช้เวลาในการทา นานกว่า 2 วิธีแรกคือ ตั้งแต่
                                                  ่
เริ่ มตัดชาต้นตอป่ าจนถึงพันธุ์ดีทีนาไปติดนั้นออก ดอกแรกจะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือน โดยในขั้นแรก
จะต้องตัดชาต้นตอป่ า (ของกุหลาบป่ า) ให้ออกรากและเลี้ยงต้นตอป่ านั้นให้แตกยอดใหม่ยาวเกิน 1 ฟุต
ขึ้นไป ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 3 เดือน (หลังตัดชาและออกราก) จากนั้นจึงนา ตาพันธุ์ดีที่ตองการไปติดตา
                                                                                           ้
ที่บริ เวณโคนของต้นตอป่ า การติดตานี้จะต้องอาศัย ฝี มือและความชานาญพอสมควรโดยจะใช้วการติด         ิ
ตาแบบใดก็ได้ เช่น แบบตัวที เป็ นต้น
วิธีติดตา วิธีติดตากุหลาบที่ได้ผลดีคือการติดตาแบบที่เรี ยกว่ารู ปตัวที หรื อ แบบโล่ มีวธีทาดังนี้คือ
                                                                                         ิ
          1. เลือกบริ เวณที่จะติดตา ซึ่ งโดยทัวไปแล้วจะพยายามติดตาให้ต่าที่สุด เท่าที่จะทาได้คือ ประมาณ
                                              ่
ไม่เกิน 3 นิ้วนับจากผิวดิน แล้วใช้กรรไกรหรื อมีด ตัดหนามตรงบริ เวณที่จะติดตาออกโดยรอบกิ่ง
          2. ใช้ปลายมีดกรี ดที่เปลือกเป็ นรู ปตัวที แล้วเผยอเปลือกตรงรอยกรี ด ด้านบนให้เปิ ดออกเล็กน้อย
          3. เฉื อนตาเป็ นรู ปโล่ ให้ได้แผ่นตายาวประมาณ 1 นิ้ว และให้แผ่นตานั้น มีเนื้อไม้ติดมาด้วยเพียง
บางๆ ไม่ตองแกะเนื้ อไม้ติดมามาก ให้ลอกเนื้อไม้ออกอย่าง ระมัดระวังอย่าให้แผ่นตาโค้งงอหรื อบอบช้ า
              ้
          4. นาแผ่นตาไปเสี ยบลงที่รอยกรี ดของต้นตออย่างระมัดระวังอย่าให้แผ่นตาช้ า โดยใช้มือซ้ายจับ
แผ่นตา(ตรงก้านใบ) ค่อย ๆ กดลงไปขณะเดียวกันมือขวาก็ค่อยเปิ ดเปลือกช่วยแล้วพันด้วยพลาสติก
เพื่อให้ตาเจริ ญเติบโตเร็ วขึ้นควรปล่อยให้กิ่งใหม่ เจริ ญเติบโตจนกระทังกิ่งใหม่ยาว พอสมควรแล้วจึงตัด
                                                                       ่
ต้นตอที่อยูเ่ หนื อกิ่งใหม่ออกทั้งหมด สาหรับพลาสติก ที่ติดตาอยูน้ นอาจจะปล่อยให้ผุหรื อหลุดไปเองก็
                                                                   ่ ั
ได้ถาเห็นว่าแผ่นพลาสติกนั้นรัด ต้นเดิมแน่นเกินไปหรื อไปขัดขวางการเจริ ญเติบโตของกิ่งใหม่ก็ให้แกะ
       ้
ออกส่ าหรับกิ่งที่แตกออกมาใหม่น้ ี ควรมีไม้ผกพยุงกิ่งไว้เสมอเพราะอาจจะเกิดการฉี กขาดตรงรอยต่อได้
                                                    ู
ง่ายเนื่องจากรอยประสานยังไม่แข็งแรงนัก
          ในกรณี ที่การติดตานั้นไม่ได้ผล คือ แผ่นตาที่นาไปติดตานั้นเปลี่ยนเป็ นสี น้ าตาลหรื อสี ดาให้รีบ
แกะแผ่นพลาสติกและแผ่นตานั้นออกแล้วติดตาใหม่ในด้านตรงข้ามกับของเดิม หากไม่ได้ผลอีกต้อง
เลี้ยงดูตนตอนั้นจนกว่ารอยแผลจะเชื่อม ก้นดีแล้วจึงนามาติดตาใหม่ได้
          ้
            สาหรับการติดตาในกุหลาบแบบทรงต้นสู ง (Standard) นั้นก็ทาเช่นเดียวกัน เพียงแต่ตาแหน่งที่
            ่
ติดตาอยูในระดับสู งกว่าเท่านั้นเอง การติดตาจะติดที่ตนตอหรื อกิ่ง ขนาดใหญ่ที่แตกออกมาก็ได้
                                                          ้
6


การเตรียมดินและการปลูก
         ถึงแม้กุหลาบจะปลูกได้ในดินเกือบทุกชนิด แต่ดินที่ต่างกันก็ยอมทาให้การเจริ ญเติบโตดีเลว
                                                                       ่
ต่างกันออกไป ดังนั้นก่อนปลูกควรเตรี ยมดินดังนี้
       ในภาคกลางซึ่ งมีสภาพดินค่อนข้างเหนียวและค่อนข้างเป็ นกรดจัดระดับน้ าใต้ดินสู ง เกษตรกรผู้
ปลูกกุหลาบจะนิยมปลูกแบบร่ องสวนซึ่ งมีคูน้ าคันกลาง โดยเริ่ มเตรี ยมดินในฤดูแล้ง คือจะต้องฟันดิน
                                                      ่
และตากดินให้แห้ง เพื่อกาจัดวัชพืชก่อน ในขณะที่ตากดินนี้อาจโรยปูนขาวลงไปด้วยก็ได้ เมื่อดินแห้งดี
แล้วจึงกลับหน้าดินและชักดินในแต่ละแปลงให้มีขอบสู ง ตรงกลางเป็ นแอ่งเล็กน้อย ขนาด ของแปลง
กว้างและยาวตามพื้นที่เดิมที่เคยปลูกผักมาแล้ว การวางระยะห่างของ ต้นที่จะปลูกอาจใช้ระยะ 50 x 50
เซนติเมตร จานวนแถวในแต่ละแปลงไม่ควร เกิน 3 แถว เพื่อความสะดวกในการตัดดอกและตัดแต่งกิ่ง
ตรงแถวกลาง
         สาหรับในภาคอื่นที่มีสภาพดินค่อนข้างร่ วนหรื อดินร่ วนปนทราย อาจ ปลูกแบบเจาะหลุมปลูก
หรื อแยกแปลงปลูกก็ได้โดยวัดขนาดแปลงปลูกกว้าง 1 .20 เมตร เว้นทางเดิน 1 เมตร ความยาวของแปลง
ปลูกตามขนาดของพื้นที่ และใช้ ระยะปลูก 60 x60 เซนติเมตร ซึ่งจะได้จานวนต้นประมาณ 2,000 ต้นต่อ
ไร่ (หรื อ ทาแปลงปลูกกว้าง1เมตร เว้นทางเดิน 1 เมตร และใช้ระยะปลูก 50 x 50 เซนติเมตร สาหรับพันธุ์
                             ่
กุหลาบที่ขนาดของทรงพุมไม่แผ่กว้างมากนัก) ก่อนปลูกควรหว่าน ปูนขาวและไถพรวนตากดินไว้ให้
แห้ง
       กุหลาบสามารถปลูกได้ท้ งในดินที่เป็ นกรดหรื อด่าง แต่เจริ ญได้ดีในดิน ที่ค่อนข้างเป็ นกรด
                                      ั
เล็กน้อย คือ มี pH ประมาณ 4.5-6.5 ถ้าดินเป็ นกรดมากให้เติม ปูนขาว 60-100 กิโลกรัมต่อ 100 ตารางวา
แต่ถาดินเป็ นด่างก็ใส่ กามะถันผง 20-50 กิโลกรัมต่อ 100 ตารางวา เมื่อเตรี ยมแปลงปลูกเรี ยบร้อยแล้ว ให้
     ้
ขุดหลุม ปลูกกว้างและลึก 30 x 30 เซนติเมตร (ถ้าเตรี ยมหลุมปลูกกว้างและลึกกว่านี้ จะ เป็ นการดียงขึ้น)  ิ่
จากนั้นก็จะใส่ ปุ๋ยคอก เช่น ขี้เป็ ด ขี้ไก่ ขี้วว ฯลฯ ประมาณหลุมละ 1 บุงกี๋ ใส่ ปุ๋ยซุ ปเปอร์ ฟอสเฟต หรื อ
                                                ั                        ้
กระดูกป่ นเป็ นปุ๋ ยรองก้นหลุม ๆ ละ 1 กามือ
คลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วจึงนากิ่งพันธุ์กุหลาบซึ่ งอาจจะเป็ นกิ่งตอนหรื อต้นติดตา ลงไปปลูก กลบดินที่โคน
ต้นให้กระชับและรดน้ าให้ชุ่ม
         กิ่งพันธุ์ท่ีนิยมนามาปลูกเพื่อตัดดอกเป็ นการค้าในปั จจุบน ได้แก่ กิ่งตัดชา และกิ่งตอนจะมี
                                                                 ั
เกษตรกรบางรายที่ปลูกโดยใช้ตนติดตา แต่มีนอยราย
                                    ้               ้


        ในระยะแรกของการปลูกจะเป็ นระยะที่ตนกุหลาบเจริ ญเติบโตสร้างใบ และกิ่ง ควรใส่ ปุ๋ยเคมีที่มี
                                              ้
สู ตรตัวแรกคือไนโตรเจนสู ง โดยใส่ ทุก 15 หรื อ 30 วัน อัตราการใส่ 1 กามือต่อต้น ก่อนใส่ ปุ๋ยควรมีการ
พรวนดินตื้นๆอย่าให้กระทบ รากมากนัก แล้วโรยปุ๋ ยให้รอบ ๆ ต้นห่างจากโคนต้น 4-6 นิ้วแล้วแต่ขนาด
ของ ทรงพุม จากนั้นก็รดน้ าตามให้ซุ่ม (แต่อย่ารดน้ าจนโชก) เมื่อกุหลาบเริ่ มให้ดอก ควรใช้ปุ๋ยเคมีที่มี
           ่
7


ฟอสฟอรัสและโปแตสเซี่ ยมสู งควบคู่กนไปเพื่อเร่ งการออกดอก และทาให้กานดอกแข็งแรง นอกจากนี้
                                      ั                                  ้
อาจจะให้ปุ๋ยทางใบเพิ่มเติมก็จะเป็ นการดี ข้อควรระวังในการใส่ ปุ๋ย หลังจากปลูกแล้วคือควรโรยปุ๋ ยให้
กระจายรอบ ๆ ต้น อย่างสม่าเสมออย่าใส่ เป็ นกระจุก ๆที่จุดใดจุดหนึ่งเพราะอาจทาให้เกิดความเสี ยหาย
ต่อต้นกุหลาบได้ เนื่องจากมีความเข้มข้นของปุ๋ ยตรงจุดที่ใส่ มากเกินไป


          เนื่องจากกุหลาบเป็ นพืชที่ตองการแสงแดดจัดอย่างน้อยวันละ 6 ชัวโมง ดังนั้นสถานที่ปลูก
                                      ้                               ่
กุหลาบจึงต้องเป็ นที่โล่งแจ้งและจะต้องมีความชื้นสู งด้วย การ คลุมแปลงปลูกจึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นส่ าหรับ
การปลูกกุหลาบโดยใช้วสดุที่หาได้ง่ายใน ท้องถิ่นนั้นๆ เซ่น หญ้าแห้ง ฟาง เปลือกถัวลิสง ซังข้าวโพด
                            ั                                                    ่
                                                        ่
ชานอ้อย ขุยมะพ้าว แกลบ และขี้เลื่อย เป็ นต้น ควรจาไว้วาวัสดุที่จะนามาคลุมแปลงปลูกนี้ควรเป็ น วัสดุ
ที่เก่า คือ เริ่ มสลายตัวแล้วมิฉะนั้นจะทาให้เกิดการขาดไนโตรเจนกับต้น กุหลาบ ดังนั้นถ้าไซ้วสดุที่คลุม
                                                                                             ั
แปลงค่อนข้างใหม่ควรเติมปุ๋ ยไนโตรเจนลงไปด้วย การคลุมแปลงนี้นอกจากจะช่วยรักษาความชื้นและ
                                                               ั
อุณหภูมิรวมทั้งเพิ่มความโปร่ ง ของดิน และเพิ่มอินทรี ยวัตถุให้กบดินในแปลงปลูกแล้วยังช่วยป็ องกัน
วัชพืชให้ขืน ช้าอีกด้วย




         กุหลาบเป็ นพืชที่ตองการความชื้นสู ง ปริ มาณน้ าที่รดลงไปในดินปลูกควร กะให้น้ าซึ มได้ลึก
                            ้
                                                                                           ่ ั
ประมาณ16-18 นิ้วและอาจเว้นระยะการรดน้ าได้คือ ไม่จาเป็ น ต้องรดน้ าทุกวัน (ทั้ งนี้ข้ ึนอยูกบสภาพดิน
ปลูก) มีขอควรจาอย่างยิงในการรดน้ า กุหลาบคือ อย่ารดน้ าให้โดนใบเนื่ องจากโรคบางโรคที่อยูตามใบ
            ้             ่                                                                    ่
หรื อกิ่งจะแพร่ ระบาดกระจายไปได้โดยง่าย การให้น้ าก็ไม่ควรให้น้ ากระแทกดินปลูกแรงๆ เพราะเม็ดดิน
                                                                ่
จะกระเด็นขึ้นไปจับใบกุหลาบ ทาให้เชื้อโรคบางชนิดที่อาศัยอยูในดินระบาดกลับ ขึ้นไปที่ตนโดยง่าย  ้
และถ้าจาเป็ นจะต้องรดน้ าให้เปี ยกใบควรจะรดน้ าในตอนเช้า


       อาจจะใช้แรงงานคนเก็บถอนหรื อใช้สารเคมีกาจัดวัชพืชซึ่ งมีท้ งชนิดคุม กาเนิดและชนิดที่ถูก
                                                                  ั
                                    ่
ทาลายต้นตาย (อัตราการใช้จะระบุอยูที่ฉลากของขวด) ข้อควรระวังในการใช้สารเคมีเพื่อกาจัดวัชพืชนี้
คือ พยายามหลีกเลี่ยงที่จะฉี ดพ่นสาร ให้ถูกต้นหรื อใบกุหลาบและไม่ใช้ถงฉี ดพ่นปะปนกับถังที่ใช้พน
                                                                    ั                         ่
สารเคมีป้องกันกาจัด โรคและแมลง
8


         การตัดแต่งกิ่งเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับการปลูกกุหลาบ ถ้าผูปลูกกุหลาบไม่มี การตัดแต่งกิ่งเลยก็จะ
                                                                 ้
ทาให้ตนกุหลาบเจริ ญเติบโตอย่างอิสระ แตกกิ่งก้านมาก เกินไป ทาให้ดอกมีขนาดเล็ก ไม่เป็ นที่ตองการ
       ้                                                                                         ้
                                                                        ่
ของตลาดดังนั้น เกษตรกรจึง ควรมีการตัดแต่งกิ่งเพื่อให้ตนได้รูปทรง พุมต้นและโคนต้นโปร่ งได้รับ
                                                          ้
แสงแดด มากขึ้น ดอกที่ได้จะมี ขนาดใหญ่และมีคุณภาพดี นอกจากนี้การตัดแต่งกิ่งยังช่วย กาจัดโรคและ
                    ่ ่
แมลงที่แอบแฝงอยูในพุมต้นได้ดีอีกด้วย รวมทั้งสามารถแต่งดิน ในแปลงปลูกได้สะดวก ทาให้กุหลาบที่
ได้มีการตัดแต่งกิ่งแล้วเจริ ญเติบโตดีข้ ึน

                       การตัดแต่ งกิงกุหลาบสามารถ ทาได้ 2 แบบคือ
                                    ่

1. การตัดแต่ งกิงแบบให้ เหลือกิงไว้กบต้ นยาว คือ ตัดแต่งกิ่งออกเพียงเล็กน้อย โดยให้เหลือกิ่งที่มีใบ
                 ่                 ่ ั
สมบูรณ์ไว้มากเพื่อให้มีอาหารเลี้ยงต้นมาก การตัดแต่งกิ่งมีหลักในการพิจารณาเลือกกิ่งที่จะต้องตัดออก
                                                                               ่
คือกิ่งที่แห้งตาย กิ่งที่เป็ นโรคหรื อถูกแมลงทาลาย กิ่งไขว้ที่เจริ ญเข้าหาทรงพุม กิ่งที่ลมเอนไม่เป็ น
                                                                                         ้
ระเบียบ ควรจะต้องให้ตาที่อยูบนสุ ดของกิ่งหันออกนอกพุมต้น เพื่อให้กิ่งที่แตกใหม่หน ออกนอกทรง
                                 ่                          ่                              ั
   ่                                                                             ั
พุมด้วยและตัดกิ่งให้เฉี ยง 45 องศา สาหรับการตัดแต่งกิ่งแบบให้ เหลือกิ่งไว้กบต้นยาวนี้ใช้ได้กบกุหลาบ ั
ที่ปลูกจากกิ่งตัดชาและกิ่งตอน




                              การตัดแต่ งกิงแบบให้ เหลือกิ่งไว้กบต้ นยาว
                                           ่                    ั

2. การตัดแต่ งกิงแบบให้ เลือกกิงไว้กบต้ นสั้ น คือ ตัดแต่งกิ่งจนเหลือกิ่งบนต้นสู งจากพื้นดินประมาณ 30-
                 ่               ่ ั
45 เซนติเมตร แล้วเหลือกิ่งไว้ 3-4 กิ่งเท่านั้นการตัดแต่งกิ่งแบบนี้จะตัดแต่งได้เฉพาะต้นกุหลาบที่ปลูก
จากต้นติดตา เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ถ้าต้นติดตานั้นมีอายุนอยกว่า 2 ปี ให้ตดแต่งกิ่งแบบแรก แต่ตองตัด
                                                              ้                ั                 ้
เพิ่มเติมอีก คือ กิ่งแก่ที่ไม่ตองการและกิ่งชักเกอร์ (กิ่งของต้นตอซึ่ งเป็ นกุหลาบ พันธุ์ป่า)
                               ้
สาหรับระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการตัดแต่งกิ่ง คือ ต้นฤดูฝน เมื่อตัดแต่งกิ่งให้นอยลงตามความต้องการ
                                                                                  ้
แล้วควรใช้ปูนแดงผสมกับยากันราหรื อใช้สีน้ ามันทาบนรอยแผลที่ตดเพื่อป้ องกันการเน่าลุกลามของเชื้อ
                                                                         ั
รา จากรอบแผลที่ตดนอกจากนี้ควรเก็บกิ่งและใบที่ตดออก ทาความสะอาดแปลงให้เรี ยบร้อยด้วยแล้วจึง
                      ั                                  ั
9


แต่งดินในแปลงปลูก คือไถพรวนหน้าดิน ใส่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ ยเคมี รวมทั้งใช้วสดุคลุมแปลงปลูกพร้อมทั้งรด
                                                                    ั
น้ าให้ชุ่มด้วย จะทาให้กุหลาบแตกตาได้เร็ วและได้ตนที่สมบูรณ์
                                                 ้




                             การตัดแต่ งกิงแบบให้ เหลือกิ่งไว้กบต้ นสั้ น
                                          ่                    ั


        1. โรคใบจุด เกิดจากเชื้อรา มีลกษณะอาการเป็ นจุดดากลมบนใบส่ วนใหญ่จะเป็ นกับใบแก่จะทา
                                       ั
ให้ใบเหลืองและร่ วงในเวลาต่อมา บางครั้งถ้าเป็ นมากอาจ ลุกลามมาที่กิ่งด้วย ระบาดมากในฤดูฝน ควร
ป้ องกันโดยฉี ดพ่นด้วยสารเคมี เช่น ดูปราวิท ไดเทนเอ็ม-45 แคปแทน เบนเสท และเบนโนมิล
        2. โรคราแปง เกิดจากเชื้อรา โรคนี้ จะเป็ นกับยอดอ่อนและดอกอ่อนมีลกษณะเป็ นปุยขาวคล้าย
                   ้                                                        ั
แป้ งทาให้ส่วนของพืชที่เป็ นโรคนี้เกิดอาการหงิกงอไม่เจริ ญเติบโตต่อไป ระบาดมากในฤดูหนาว ควร
ป้ องกันโดยฉี ดพ่นด้วยสารเคมี เช่น เบนเสท ดาโคนิล และคาราแทน
        3. โรคหนามดา เกิดจากเชื้อราโดยเชื้ อรานี้จะเข้าทาลายแผลที่เกิดจากรอยตัดหรื อเด็ดหนามของกิ่ง
อ่อนแล้วลุกลามไปเรื่ อยๆ ตามกิ่งก้าน ทาให้กิ่งก้าน เหี่ ยวแห้งตายไปในที่สุดควรป้ องกันโดยทาแผลจาก
รอยตัดด้วยปูนแดง
        4. โรคใบจุดสี น้ าตาลหรื อโรคตากบ เกิดจากเชื้ อรา มีลกษณะอาการเป็ นจุดกลมสี น้ าตาลขนาด 1/4
                                                              ั
นิ้วแล้วจะเปลี่ยนเป็ นวงกลมสี เทามีขอบสี ม่วง-แดง ระบาดมากในฤดูฝน ควรป้ องกันโดยใช้สารเคมีเบน
เสท ไดเทนหรื อแบนแซดดี
       5. โรคไวรัส เกิดจากเชื้ อไวรัส ลักษณะอาการจะปรากฎให้เห็นที่ใบ โดยใบจะด่างเหลือง เมื่อพบว่า
ต้นกุหลาบเป็ นโรคนี้ให้ถอนและเผาทาลายเสี ย


                                                                     ่
     1. หนอนเจาะดอก เป็ นหนอนผีเสื้ อกลางคืนขนาดเล็กซึ่ งจะวางไข่อยูที่กลีบดอกด้านนอก เมื่อไข่
                                    ่
ฟักออกเป็ นตัวจะกัดกินดอกและอาศัยอยูในดอก ระบาดมากช่วงที่กุหลาบให้ดอกดกหรื อในช่วงฤดู
หนาว ควรป้ องกันโดยใช้สารเคมี ประเภทดูดซึม เช่น ดิลดริ น ฟอสดริ น
                                                            ่
     2. หนอนกินใบ เป็ นหนอนของผีเสื้ อกลางคืน มักวางไข่อยูใต้ใบ เมื่อไข่ฟักเป็ นตัวหนอนก็จะ
ทาลายใบที่อาศัย บางชนิดทาลายเฉพาะผิวเนื้อใต้ใบทาให้ใบมีลกษณะโปร่ งใสมองเห็นได้ชดเจน
                                                          ั                          ั
สารเคมีที่ใซ้ได้ผลดี เช่นเอนดริ น
10


        3. หนอนเจาะต้ น เป็ นหนอนของผึ้งบางชนิดและหนอนของแมลงวันบางชนิด อาจจะเป็ นหนอน
ของพวกต่อแตนด้วย หนอนชนิดนี้จะเจาะกินไส้กลาง และบริ เวณท่อน้ าของกิ่งหรื อต้น ทาให้กิ่งและต้น
แห้งตาย ควรป้ องกันกาจัดโดยการ ตรวจดูบริ เวณรอยต่อระหว่างกิ่งแห้งและกิ่งดี หากพบตัวหนอนก็
ทาลายเสี ยหรื อ ป้ องกันโดยการตัดแต่งกิ่งตามกาหนด
        4. แมลงปี กแข็ง บางทีเรี ยกด้วงปี กแข็ง มีท้ งชนิดตัวสี ดาและสี น้ าตาลขนาดประมาณ 1.5-2
                                                     ั
เซนติเมตรออกหากินในเวลากลางคืนระหว่าง 1-3 ทุ่ม โดยการกัดกินใบกุหลาบ ส่ วนในเวลากลางวันจะ
              ่
ซ่อนตัวอยูตามกอหญ้า ป้ องกัน โดยใช้สารเคมี เช่น คลอเดน หรื อ เซพวิน
        5. ผึงกัดใบ จะกัดกินใบกุหลาบในช่วงเวลากลางวัน สังเกตได้ที่รอยแผลมักจะเป็ นรอยเหมือนถูก
                ้
เฉือนด้วยมีดคมๆ เป็ นรู ปโค้งป้ องกันได้เช่นเดียวกับแมลงปี กแข็ง
        6. เพลียไฟ เป็ นแมลงปากดูด มีสีน้ าตาลดา ตัวอ่อนสี ขาวนวลจะดูดกินน้ าเลี้ยงจากใบและดอก
                    ้
ทาให้ดอกที่ถูกทาลายไม่บาน ระบาดมากในฤดูร้อน ป้ องกันโดยการฉี ดพ่นด้วยสารเคมี เช่น โตกุไทออน
คลอเดนหรื อนิโคตินซัลเฟต
        7. เพลียแปง เป็ นแมลงปากดูดมักเกาะกินตามใบอ่อนหรื อง่ามใบ ทาให้ใบหงิกงอ ควรป้ องกัน
                      ้ ้
กาจัดโดยใช้สารเคมีกาจัดแต่ตองผสมสารเคลือบใบลงไป ด้วยเพราะบนตัวเพลี้ยแป้ งจะมีขนปุยสี ขาวปก
                               ้
คลุม ซึ่งมีลกษณะเป็ นมันจับน้ า ได้ยาก
                  ั
        8. เพลียหอย เป็ นแมลงปากดูด มักเกาะทาลายโดยดูดน้ าเลี้ยงจากลาต้น จะสังเกตเป็ นเป็ นจุดสี
                       ้
            ่
น้ าตาลอยูบนกิ่งของกุหลาบ เพลี้ยหอยนี้มีลกษณะพิเศษ คือ ตัวของมันจะมีเปลือกหุมหนาทาให้แมลงซึม
                                              ั                                      ้
เข้าถึงตัวได้ยากฉะนั้นวิธีกาจัดที่ได้ผลดีก็คือ ใช้น้ ามันทาหรื อฉี ดพ่นเคลือบตัวมันไว้ ทาให้เพลี้ยไม่มีทาง
หายใจ และตายในที่สุดแต่เมื่อเพลี้ยตายแล้วจะไม่หลุดจากลาต้นจะยังติดอยูที่เดิม   ่
        9. เพลียอ่อน เป็ นแมลงปากดูด ทาลายพืชตรงบริ เวณส่ วนที่เป็ นยอดอ่อนและใบอ่อน ทาให้
                         ้
ใบเหลืองและร่ วงหล่น ควรป้ องกันกาจัดโดยใช้สารเคมี เช่น ฟอสดริ น เอนดริ น และพาราไธออน
 เป็ นต้น
                                                                                                 ่
        10. แมงมุมแดง เป็ นแมงชนิดหนึ่งที่ไม่ใช่ แมลง ตัวมีขนาดเล็กมากเห็นเพียงจุดสี แดงอยูตามใต้ใบ
โดยจะเกาะและดูดน้ าเลี้ยงจากใบที่ถูกทาลายนั้น ปรากฎเป็ นจุดสี เหลืองซึ่งมองเห็นได้บนหลังใบ
สาหรับสารเคมีที่ใช้กาจัดได้ผล คือ เคลเทน


         การตัดดอกกุหลาบเพื่อจาหน่ายนั้น ควรให้มีกิ่งเหลืออยูอย่างน้อย 2 กิ่ง เสมอ (กิ่งที่มีใบย่อยครบ
                                                             ่
                                                                   ้
5 ใบ)ไม่ควรตัดชิดโคนกิ่ง และเมื่อตัดดอกออกจาก ต้นแล้วให้รีบแช่กานดอกในน้ าทันทีเพื่อป้ องกันการ
สู ญเสี ยน้ าจากกิ่งโดยทัวไป เกษตรกรนิยมตัดดอกในตอนบ่ายและเย็น หรื ออาจตัดในตอนเช้าก็ได้ (เพื่อ
                         ่
จะได้ส่งตลาดทันเวลา)แต่เนื่ องจากดอกกุหลาบมีอายุการใช้งานสั้นและกลีบดอก ก็ช้ าได้ง่าย ฉะนั้นการ
11


ตัดดอกกุหลาบในช่วงที่ยงไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดปั ญหาได้ เช่น ถ้าตัดดอกตูมเกินไป ดอกก็จะไม่บาน
                      ั
และคอดอกจะโค้งงอง่าย แต่ถาตัดดอกที่บานเกินไป ดอกกุหลาบจะบานเร็ ว และมีอายุการปั กแจกันสั้น
                           ้

More Related Content

What's hot

งานSh
งานShงานSh
งานShxavi2536
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPornthip Nabnain
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งbanhongschool
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80banhongschool
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดMint Jiratchaya
 
การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)Press Trade
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowersTew Nararit
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์dechathon
 
ไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่าน
ไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่านไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่าน
ไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่านjiraprapasarat
 

What's hot (20)

งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
เกม
เกมเกม
เกม
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
 
ไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่าน
ไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่านไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่าน
ไม้นิ้ว เอื้องจำปาน่าน
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 

Similar to กุหลาบ

ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
กระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าวกระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าวChalida Somjai
 
กระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าวกระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าวChalida Somjai
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่Lilly Phattharasaya
 
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)Soda Soda
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีKrittamook Sansumdang
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชvarut
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยsakuntra
 

Similar to กุหลาบ (20)

ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
3.2 ornamental plant
3.2  ornamental plant3.2  ornamental plant
3.2 ornamental plant
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
กระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าวกระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าว
 
กระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าวกระถางกาบมะพร้าว
กระถางกาบมะพร้าว
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
LA445 02
LA445 02LA445 02
LA445 02
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 

กุหลาบ

  • 1. โดย นางสาว อรนุช สายบุตร เลขที่ ๒๐
  • 2. 1 กุหลาบ ั ่ ้ กุหลาบที่ปลูกในประเทศไทยปั จจุบนนี้มีอยูดวยกันหลายประเภทซึ่ งถ้า แบ่งออกโดยสังเขปจะได้ดงนี้ ั 1. กุหลาบตัดดอกหรือไฮบริดที (Hybrid Tea หรื อ HT)J ปกติมก ออกดอกเป็ นดอกเดี่ยวมีขนาดโต ั ่ กลีบดอกซ้อน พุมต้นตั้งตรงสู งประมาณ 1-2 เมตร กุหลาบที่มีขายทัวไป ตามท้องตลาดขณะนี้มกจะเป็ น ่ ั กุหลาบประเภทนี้ อย่างไร ก็ตาม พันธุ์ ไฮบริ ดที นั้น มิได้ใช้ปลูกเป็ นไม้ตดดอกได้ดีทุกพันธุ์ ดังนั้น ั จาเป็ น ต้องคัดเลือกพันธุ์ให้เหมาะสมสาหรับแต่ละท้องที่ ลักษณะที่เหมาะสมสาหรับจะใช้ เป็ นพันธุ์ สาหรับตัดดอก คือ 1. แข็งแรง ต้นโต เลี้ยงง่ายและเจริ ญเติบโตได้ดี 2. ออกดอกสม่าเสมอไม่โทรมไวเมื่อถูกตัดดอกไปมาก ๆ 3. ทนต่อโรคและแมลงได้ดีพอสมควร 4. ลาต้นตั้งตรง ซึ่ งจะทาให้ปลูกได้ชิดกันเป็ นการประหยัดเนื้อที่ 5. ให้กิ่งก้านยาวตรง มีหนามน้อย ใบงามสมดุลกับกิ่ง 6. ฟอร์มดอกดี ทรงดอกยาวแบบแจกันหรื อปลายกลีบดอกแหลม 7. กลีบดอกไม่ซอนหนาเกินไปจนดอกบานไม่ออก ้ 8. กลีบดอกหนา ทนต่อการบรรจุหีบห่ อและขนส่ ง 9. ดอกมีสีสะดุดตาและไม่เปลี่ยนสี เมื่อดอกโรย 10. ไม่เหี่ ยวเฉาง่ายหลังจากตัดแล้ว 11. ดอกมีกลิ่นหอม (ถ้าเป็ นไปได้)
  • 3. 2 พันธุ์เรดมาสเตอร์ พชพันธุ์แกรนด์ มาสเตอร์ พช ื ี ั ั ่ ปั จจุบนกุหลาบที่นิยมปลูกเป็ นไม้ตดดอกในประเทศไทยมีอยูมากมายหลายพันธุ์ แต่พนธุ์ที่กรม ั ส่ งเสริ มการเกษตรแนะนาให้ปลูกมีดงนี้ ั  พันธุ์ดอกสี แดง ได้แก่ พันธุ์บราโว. เรดมาสเตอร์พีช, คริ สเตียนดิออร์ , โอลิมเปี ยด, นอริ คา, แก ้ รนด์มาสเตอร์พีช, ปาปามิลแลนด์, เวก้า  พันธุ์ดอกสี เหลือง ได้แก่ พันธุ์คิงส์แรนซัม, ซันคิงส์, เฮสมุดสมิดท์,นิวเดย์ โอรี โกลด์ และเมลิ ลอน  พันธุ์ดอกสี ส้ม ได้แก่ พันธุ์ซนดาวน์เนอร์ , แซนดรา, ซุปเปอร์สตาร์หรื อทรอพปิ คานา ั  พันธุ์ดอกสี ชมพู ได้แก่ พันธุ์มิสออลอเมริ กาบิวตี้ หรื อมาเรี ย, คาสลาส, ไอเฟลทาวเวอร์ , สวาท มอร์ , เฟรนด์ชิพ,เพอร์ฟูมดีไลท์, จูวงแซล, เฟิ ร์สท์ไพรซ์, อเควเรี ยส, ซูซานแฮมเชียร์ ั  พันธุ์ดอกสี ขาว ได้แก่ พันธุ์ไวท์คริ สต์มาส เอทีนา  พันธุ์ดอกสี อื่นๆ ได้แก่ พันธุ์แยงกี้ดูเดิ้ล, ดับเบิลดีไลท์, เบลแอนจ์ ้ นอกจากนี้ยงมีกุหลาบสาหรับเด็ดดอกร้อยพวงมาลัย เช่น กุหลาบพันธุ์ฟูซิเลียร์ ซึ่งมีดอกสี ส้ม ั พันธุ์นิวเดย์ พันธุ์มิสออลอเมริกนบิวตี้ ั
  • 4. 3 พันธุ์เพอร์ ฟูมดีไลท์ 2. กุหลาบพวง หรือ ฟลอริบันด้ า ( Foribunda หรือ F.) กุหลาบพวงมีความแข็งแรงทนทานกว่า กุหลาบตัดดอกออกดอกดกแต่ดอกไม่ใหญ่เท่ากับกุหลาบตัดดอกแต่มีครบทุกสี และออกดอกเป็ นช่อทีละ ่ หลาย ๆ ดอก จึงนิยมเรี ยกว่ากุหลาบพวง และมักบานพร้อมกัน ดอกมีขนาดเล็ก พุมต้นตั้งตรงสู ง ประมาณครึ่ งเมตรถึง 1 เมตรเหมาะสมที่จะปลูกในแปลงประดับและในกระถางเช่น พันธุ์ฟูซีเลียร์ , พันธุ์ แองเจลเฟส 3. ประเภทแกรนดิฟลอร่ า (Grandiflora หรือ Gr. ) กุหลาบประเภทนี้เป็ นกุหลาบลูกผสมระหว่าง ้ กุหลาบตัดดอกและกุหลาบพวง มีลกษณะเป็ นดอกเดี่ยว แต่ดอกเล็กกว่ากุหลาบตัดดอก มีกานยาว ต้นโต ั สู ง และแข็งแรง เช่น พันธุ์คาเมล็อท, พันธุ์คาเสทไนท์ 4. กุหลาบ หรือ มินิเอเจอร์ (Miniature หรือ Min.) เป็ นกุหลาบที่มีขนาดพุมต้นเล็ก สู ง 1- 2 ฟุต ่ ออกดอกเป็ นพวงและดอกมีขนาดเล็ก นิยมปลูกประดับแปลง และใช้เป็ นไม้กระถาง เช่น พันธุ์เบบี้ มาส เคอร์เหรด 5. กุหลาบเลือย หรือ ไคลมเบอร์ (Climher หรือ Cl.) กุหลาบชนิดนี้ลาต้นสู งตรง นาไปเลื้อยพันกับ ้ สิ่ งต่าง ๆ ได้ ดอกมีท้ งเป็ นดอกขนาดใหญ่ และดอกเป็ นพวง เช่น พันธุ์ดอนจวน, พันธุ์คอกเทล ั ็ 6. ประเภทโพลีแอนท่ า (Polyantha หรือ Pol.) เป็ นกุหลาบลูกผสมระหว่างพันธุ์โรซ่า มัลติฟอร่ า ่ กับ โรซ่า ไชเนนซิ สมีขนาดพุมต้นเตี้ย แข็งแรงและทนทานมาก ออกดอกเป็ นพวงคล้ายกุหลาบพวง ลักษณะดอกและต้นคล้ายกุหลาบหนูแต่จะแตกต่างกับกุหลาบหนูตรงที่กหลาบโพลีแอนท่าจะมีหูใบที่มี ุ ลักษณะของพันธุ โรซ่า มัลติฟลอร่ ากุหลาบประเภทนี้ เช่น พันธุ์วายวอน ราเบีย 7. ประเภทแรมเบลอร์ (Rambler หรือ R) มีลาต้นยาวและอ่อนโค้งออกดอกเป็ นพวง และดอกมี ขนาดเล็ก เช่น พันธ์ไดโรที เปอร์ กิน
  • 5. 4 8. กุหลาบพุ่ม หรือซรับโรส (Shrub หรือ S.) ได้แก่กุหลาบพันธุ์ป่าหรื อลูกผสมของพันธุ์ป่า ซึ่งมี ่ ทรงต้นเป็ นพุมออกดอกเป็ นช่อ ดอกมีขนาดเล็กส่ วนมากมีกลีบชั้นเดียว เช่น พันธ์โรซ่ า นิติดา, โรซ่า ้ มัลติฟลอร่ า, โรซ่า รู โกซ่า การขยายพันธุ์กหลาบที่นิยมใช้ มี 3 วิธี คือ ุ 1. การตัดชา วิธีการตัดชาที่นิยมทาอยูทวไปคือ เลือกกิ่งกุหลาบที่ไม่แก่และไม่อ่อน จนเกินไปนามาตัดเป็ น ่ ั่ ่ ้ ท่อนประมาณ12-15 เซนติเมตร หรื อ 1 คืบ รอยตัดต้อง อยูใต้ขอพอดีแล้วตัดใบตรงโคนกิ่งออก จากนั้น เฉื อนโคนทิง แล้วจุ่มโคนกิ่งตัดชานี้ ในฮอร์ โมนเร่ งราก เซ่น เซอราดิกส์ เบอร์ 2 (เพื่อช่วยเร่ งให้ออกราก ้ เร็ วขึ้น) แล้วผึ่ง ให้แห้งนาไปปั กชาในแปลงพ่นหมอกกลางแจ้ง ถ้าไม่มีแปลงพ่นหมอกก็ใช้เครื่ องพ่นน้ า รดสนามหญ้าก็ได้แล้วให้น้ าเป็ นระยะ ๆ ตามความจาเป็ น โดยมีหลักว่าอย่า ให้ใบกุหลาบแห้ง กิ่งกุหลาบ จะออกรากใน 12-15 วัน แล้วแต่พนธุ์ การชากิ่งนี้ นิยมทากันมากในปั จจุบนเพราะได้จานวนต้นมากใน ั ั ระยะเวลาสั้นเสี ยค่าใช้จ่าย น้อยแต่กิ่งชานี้ เมื่อนาไปปลูกต้นจะโทรมเร็ วภายใน 3- 4 ปี ซึ่งกุหลาบพันธุ์สี เหลือง และสี ขาวมักจะออกรากยาก ตัดกิงกุหลาบเป็ นท่ อน ่ เฉือนโคนกิงทิง ประมาณ 12-15 ซม. ่ ้ จุ่มโคนกิงตัดชาในฮอร์ โมนเร่ งราก ่
  • 6. 5 2. การตอน กิ่งที่ใช้ตอนมักมาจากกิ่งที่มีสภาพแตกต่างกันทั้งกิ่งอ่อนและกิ่งแก่ คละกันไปทาให้การ เจริ ญเติบโตของต้นกุหลาบหลังลงแปลงปลูกในแปลงไม่สม่าเสมอ ซึ่ งการตอนนี้จะใช้เวลาในการเกิด รากนานประมาณ 4-7 สัปดาห์ ทั้งนี้แล้วแต่ พันธุ์ที่จะใช้ตอน 3. การติดตา วิธีการทาต้นกุหลาบติดตานี้ค่อนข้างยุงยากและต้องใช้เวลาในการทา นานกว่า 2 วิธีแรกคือ ตั้งแต่ ่ เริ่ มตัดชาต้นตอป่ าจนถึงพันธุ์ดีทีนาไปติดนั้นออก ดอกแรกจะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือน โดยในขั้นแรก จะต้องตัดชาต้นตอป่ า (ของกุหลาบป่ า) ให้ออกรากและเลี้ยงต้นตอป่ านั้นให้แตกยอดใหม่ยาวเกิน 1 ฟุต ขึ้นไป ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 3 เดือน (หลังตัดชาและออกราก) จากนั้นจึงนา ตาพันธุ์ดีที่ตองการไปติดตา ้ ที่บริ เวณโคนของต้นตอป่ า การติดตานี้จะต้องอาศัย ฝี มือและความชานาญพอสมควรโดยจะใช้วการติด ิ ตาแบบใดก็ได้ เช่น แบบตัวที เป็ นต้น วิธีติดตา วิธีติดตากุหลาบที่ได้ผลดีคือการติดตาแบบที่เรี ยกว่ารู ปตัวที หรื อ แบบโล่ มีวธีทาดังนี้คือ ิ 1. เลือกบริ เวณที่จะติดตา ซึ่ งโดยทัวไปแล้วจะพยายามติดตาให้ต่าที่สุด เท่าที่จะทาได้คือ ประมาณ ่ ไม่เกิน 3 นิ้วนับจากผิวดิน แล้วใช้กรรไกรหรื อมีด ตัดหนามตรงบริ เวณที่จะติดตาออกโดยรอบกิ่ง 2. ใช้ปลายมีดกรี ดที่เปลือกเป็ นรู ปตัวที แล้วเผยอเปลือกตรงรอยกรี ด ด้านบนให้เปิ ดออกเล็กน้อย 3. เฉื อนตาเป็ นรู ปโล่ ให้ได้แผ่นตายาวประมาณ 1 นิ้ว และให้แผ่นตานั้น มีเนื้อไม้ติดมาด้วยเพียง บางๆ ไม่ตองแกะเนื้ อไม้ติดมามาก ให้ลอกเนื้อไม้ออกอย่าง ระมัดระวังอย่าให้แผ่นตาโค้งงอหรื อบอบช้ า ้ 4. นาแผ่นตาไปเสี ยบลงที่รอยกรี ดของต้นตออย่างระมัดระวังอย่าให้แผ่นตาช้ า โดยใช้มือซ้ายจับ แผ่นตา(ตรงก้านใบ) ค่อย ๆ กดลงไปขณะเดียวกันมือขวาก็ค่อยเปิ ดเปลือกช่วยแล้วพันด้วยพลาสติก เพื่อให้ตาเจริ ญเติบโตเร็ วขึ้นควรปล่อยให้กิ่งใหม่ เจริ ญเติบโตจนกระทังกิ่งใหม่ยาว พอสมควรแล้วจึงตัด ่ ต้นตอที่อยูเ่ หนื อกิ่งใหม่ออกทั้งหมด สาหรับพลาสติก ที่ติดตาอยูน้ นอาจจะปล่อยให้ผุหรื อหลุดไปเองก็ ่ ั ได้ถาเห็นว่าแผ่นพลาสติกนั้นรัด ต้นเดิมแน่นเกินไปหรื อไปขัดขวางการเจริ ญเติบโตของกิ่งใหม่ก็ให้แกะ ้ ออกส่ าหรับกิ่งที่แตกออกมาใหม่น้ ี ควรมีไม้ผกพยุงกิ่งไว้เสมอเพราะอาจจะเกิดการฉี กขาดตรงรอยต่อได้ ู ง่ายเนื่องจากรอยประสานยังไม่แข็งแรงนัก ในกรณี ที่การติดตานั้นไม่ได้ผล คือ แผ่นตาที่นาไปติดตานั้นเปลี่ยนเป็ นสี น้ าตาลหรื อสี ดาให้รีบ แกะแผ่นพลาสติกและแผ่นตานั้นออกแล้วติดตาใหม่ในด้านตรงข้ามกับของเดิม หากไม่ได้ผลอีกต้อง เลี้ยงดูตนตอนั้นจนกว่ารอยแผลจะเชื่อม ก้นดีแล้วจึงนามาติดตาใหม่ได้ ้ สาหรับการติดตาในกุหลาบแบบทรงต้นสู ง (Standard) นั้นก็ทาเช่นเดียวกัน เพียงแต่ตาแหน่งที่ ่ ติดตาอยูในระดับสู งกว่าเท่านั้นเอง การติดตาจะติดที่ตนตอหรื อกิ่ง ขนาดใหญ่ที่แตกออกมาก็ได้ ้
  • 7. 6 การเตรียมดินและการปลูก ถึงแม้กุหลาบจะปลูกได้ในดินเกือบทุกชนิด แต่ดินที่ต่างกันก็ยอมทาให้การเจริ ญเติบโตดีเลว ่ ต่างกันออกไป ดังนั้นก่อนปลูกควรเตรี ยมดินดังนี้ ในภาคกลางซึ่ งมีสภาพดินค่อนข้างเหนียวและค่อนข้างเป็ นกรดจัดระดับน้ าใต้ดินสู ง เกษตรกรผู้ ปลูกกุหลาบจะนิยมปลูกแบบร่ องสวนซึ่ งมีคูน้ าคันกลาง โดยเริ่ มเตรี ยมดินในฤดูแล้ง คือจะต้องฟันดิน ่ และตากดินให้แห้ง เพื่อกาจัดวัชพืชก่อน ในขณะที่ตากดินนี้อาจโรยปูนขาวลงไปด้วยก็ได้ เมื่อดินแห้งดี แล้วจึงกลับหน้าดินและชักดินในแต่ละแปลงให้มีขอบสู ง ตรงกลางเป็ นแอ่งเล็กน้อย ขนาด ของแปลง กว้างและยาวตามพื้นที่เดิมที่เคยปลูกผักมาแล้ว การวางระยะห่างของ ต้นที่จะปลูกอาจใช้ระยะ 50 x 50 เซนติเมตร จานวนแถวในแต่ละแปลงไม่ควร เกิน 3 แถว เพื่อความสะดวกในการตัดดอกและตัดแต่งกิ่ง ตรงแถวกลาง สาหรับในภาคอื่นที่มีสภาพดินค่อนข้างร่ วนหรื อดินร่ วนปนทราย อาจ ปลูกแบบเจาะหลุมปลูก หรื อแยกแปลงปลูกก็ได้โดยวัดขนาดแปลงปลูกกว้าง 1 .20 เมตร เว้นทางเดิน 1 เมตร ความยาวของแปลง ปลูกตามขนาดของพื้นที่ และใช้ ระยะปลูก 60 x60 เซนติเมตร ซึ่งจะได้จานวนต้นประมาณ 2,000 ต้นต่อ ไร่ (หรื อ ทาแปลงปลูกกว้าง1เมตร เว้นทางเดิน 1 เมตร และใช้ระยะปลูก 50 x 50 เซนติเมตร สาหรับพันธุ์ ่ กุหลาบที่ขนาดของทรงพุมไม่แผ่กว้างมากนัก) ก่อนปลูกควรหว่าน ปูนขาวและไถพรวนตากดินไว้ให้ แห้ง กุหลาบสามารถปลูกได้ท้ งในดินที่เป็ นกรดหรื อด่าง แต่เจริ ญได้ดีในดิน ที่ค่อนข้างเป็ นกรด ั เล็กน้อย คือ มี pH ประมาณ 4.5-6.5 ถ้าดินเป็ นกรดมากให้เติม ปูนขาว 60-100 กิโลกรัมต่อ 100 ตารางวา แต่ถาดินเป็ นด่างก็ใส่ กามะถันผง 20-50 กิโลกรัมต่อ 100 ตารางวา เมื่อเตรี ยมแปลงปลูกเรี ยบร้อยแล้ว ให้ ้ ขุดหลุม ปลูกกว้างและลึก 30 x 30 เซนติเมตร (ถ้าเตรี ยมหลุมปลูกกว้างและลึกกว่านี้ จะ เป็ นการดียงขึ้น) ิ่ จากนั้นก็จะใส่ ปุ๋ยคอก เช่น ขี้เป็ ด ขี้ไก่ ขี้วว ฯลฯ ประมาณหลุมละ 1 บุงกี๋ ใส่ ปุ๋ยซุ ปเปอร์ ฟอสเฟต หรื อ ั ้ กระดูกป่ นเป็ นปุ๋ ยรองก้นหลุม ๆ ละ 1 กามือ คลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วจึงนากิ่งพันธุ์กุหลาบซึ่ งอาจจะเป็ นกิ่งตอนหรื อต้นติดตา ลงไปปลูก กลบดินที่โคน ต้นให้กระชับและรดน้ าให้ชุ่ม กิ่งพันธุ์ท่ีนิยมนามาปลูกเพื่อตัดดอกเป็ นการค้าในปั จจุบน ได้แก่ กิ่งตัดชา และกิ่งตอนจะมี ั เกษตรกรบางรายที่ปลูกโดยใช้ตนติดตา แต่มีนอยราย ้ ้ ในระยะแรกของการปลูกจะเป็ นระยะที่ตนกุหลาบเจริ ญเติบโตสร้างใบ และกิ่ง ควรใส่ ปุ๋ยเคมีที่มี ้ สู ตรตัวแรกคือไนโตรเจนสู ง โดยใส่ ทุก 15 หรื อ 30 วัน อัตราการใส่ 1 กามือต่อต้น ก่อนใส่ ปุ๋ยควรมีการ พรวนดินตื้นๆอย่าให้กระทบ รากมากนัก แล้วโรยปุ๋ ยให้รอบ ๆ ต้นห่างจากโคนต้น 4-6 นิ้วแล้วแต่ขนาด ของ ทรงพุม จากนั้นก็รดน้ าตามให้ซุ่ม (แต่อย่ารดน้ าจนโชก) เมื่อกุหลาบเริ่ มให้ดอก ควรใช้ปุ๋ยเคมีที่มี ่
  • 8. 7 ฟอสฟอรัสและโปแตสเซี่ ยมสู งควบคู่กนไปเพื่อเร่ งการออกดอก และทาให้กานดอกแข็งแรง นอกจากนี้ ั ้ อาจจะให้ปุ๋ยทางใบเพิ่มเติมก็จะเป็ นการดี ข้อควรระวังในการใส่ ปุ๋ย หลังจากปลูกแล้วคือควรโรยปุ๋ ยให้ กระจายรอบ ๆ ต้น อย่างสม่าเสมออย่าใส่ เป็ นกระจุก ๆที่จุดใดจุดหนึ่งเพราะอาจทาให้เกิดความเสี ยหาย ต่อต้นกุหลาบได้ เนื่องจากมีความเข้มข้นของปุ๋ ยตรงจุดที่ใส่ มากเกินไป เนื่องจากกุหลาบเป็ นพืชที่ตองการแสงแดดจัดอย่างน้อยวันละ 6 ชัวโมง ดังนั้นสถานที่ปลูก ้ ่ กุหลาบจึงต้องเป็ นที่โล่งแจ้งและจะต้องมีความชื้นสู งด้วย การ คลุมแปลงปลูกจึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นส่ าหรับ การปลูกกุหลาบโดยใช้วสดุที่หาได้ง่ายใน ท้องถิ่นนั้นๆ เซ่น หญ้าแห้ง ฟาง เปลือกถัวลิสง ซังข้าวโพด ั ่ ่ ชานอ้อย ขุยมะพ้าว แกลบ และขี้เลื่อย เป็ นต้น ควรจาไว้วาวัสดุที่จะนามาคลุมแปลงปลูกนี้ควรเป็ น วัสดุ ที่เก่า คือ เริ่ มสลายตัวแล้วมิฉะนั้นจะทาให้เกิดการขาดไนโตรเจนกับต้น กุหลาบ ดังนั้นถ้าไซ้วสดุที่คลุม ั แปลงค่อนข้างใหม่ควรเติมปุ๋ ยไนโตรเจนลงไปด้วย การคลุมแปลงนี้นอกจากจะช่วยรักษาความชื้นและ ั อุณหภูมิรวมทั้งเพิ่มความโปร่ ง ของดิน และเพิ่มอินทรี ยวัตถุให้กบดินในแปลงปลูกแล้วยังช่วยป็ องกัน วัชพืชให้ขืน ช้าอีกด้วย กุหลาบเป็ นพืชที่ตองการความชื้นสู ง ปริ มาณน้ าที่รดลงไปในดินปลูกควร กะให้น้ าซึ มได้ลึก ้ ่ ั ประมาณ16-18 นิ้วและอาจเว้นระยะการรดน้ าได้คือ ไม่จาเป็ น ต้องรดน้ าทุกวัน (ทั้ งนี้ข้ ึนอยูกบสภาพดิน ปลูก) มีขอควรจาอย่างยิงในการรดน้ า กุหลาบคือ อย่ารดน้ าให้โดนใบเนื่ องจากโรคบางโรคที่อยูตามใบ ้ ่ ่ หรื อกิ่งจะแพร่ ระบาดกระจายไปได้โดยง่าย การให้น้ าก็ไม่ควรให้น้ ากระแทกดินปลูกแรงๆ เพราะเม็ดดิน ่ จะกระเด็นขึ้นไปจับใบกุหลาบ ทาให้เชื้อโรคบางชนิดที่อาศัยอยูในดินระบาดกลับ ขึ้นไปที่ตนโดยง่าย ้ และถ้าจาเป็ นจะต้องรดน้ าให้เปี ยกใบควรจะรดน้ าในตอนเช้า อาจจะใช้แรงงานคนเก็บถอนหรื อใช้สารเคมีกาจัดวัชพืชซึ่ งมีท้ งชนิดคุม กาเนิดและชนิดที่ถูก ั ่ ทาลายต้นตาย (อัตราการใช้จะระบุอยูที่ฉลากของขวด) ข้อควรระวังในการใช้สารเคมีเพื่อกาจัดวัชพืชนี้ คือ พยายามหลีกเลี่ยงที่จะฉี ดพ่นสาร ให้ถูกต้นหรื อใบกุหลาบและไม่ใช้ถงฉี ดพ่นปะปนกับถังที่ใช้พน ั ่ สารเคมีป้องกันกาจัด โรคและแมลง
  • 9. 8 การตัดแต่งกิ่งเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับการปลูกกุหลาบ ถ้าผูปลูกกุหลาบไม่มี การตัดแต่งกิ่งเลยก็จะ ้ ทาให้ตนกุหลาบเจริ ญเติบโตอย่างอิสระ แตกกิ่งก้านมาก เกินไป ทาให้ดอกมีขนาดเล็ก ไม่เป็ นที่ตองการ ้ ้ ่ ของตลาดดังนั้น เกษตรกรจึง ควรมีการตัดแต่งกิ่งเพื่อให้ตนได้รูปทรง พุมต้นและโคนต้นโปร่ งได้รับ ้ แสงแดด มากขึ้น ดอกที่ได้จะมี ขนาดใหญ่และมีคุณภาพดี นอกจากนี้การตัดแต่งกิ่งยังช่วย กาจัดโรคและ ่ ่ แมลงที่แอบแฝงอยูในพุมต้นได้ดีอีกด้วย รวมทั้งสามารถแต่งดิน ในแปลงปลูกได้สะดวก ทาให้กุหลาบที่ ได้มีการตัดแต่งกิ่งแล้วเจริ ญเติบโตดีข้ ึน การตัดแต่ งกิงกุหลาบสามารถ ทาได้ 2 แบบคือ ่ 1. การตัดแต่ งกิงแบบให้ เหลือกิงไว้กบต้ นยาว คือ ตัดแต่งกิ่งออกเพียงเล็กน้อย โดยให้เหลือกิ่งที่มีใบ ่ ่ ั สมบูรณ์ไว้มากเพื่อให้มีอาหารเลี้ยงต้นมาก การตัดแต่งกิ่งมีหลักในการพิจารณาเลือกกิ่งที่จะต้องตัดออก ่ คือกิ่งที่แห้งตาย กิ่งที่เป็ นโรคหรื อถูกแมลงทาลาย กิ่งไขว้ที่เจริ ญเข้าหาทรงพุม กิ่งที่ลมเอนไม่เป็ น ้ ระเบียบ ควรจะต้องให้ตาที่อยูบนสุ ดของกิ่งหันออกนอกพุมต้น เพื่อให้กิ่งที่แตกใหม่หน ออกนอกทรง ่ ่ ั ่ ั พุมด้วยและตัดกิ่งให้เฉี ยง 45 องศา สาหรับการตัดแต่งกิ่งแบบให้ เหลือกิ่งไว้กบต้นยาวนี้ใช้ได้กบกุหลาบ ั ที่ปลูกจากกิ่งตัดชาและกิ่งตอน การตัดแต่ งกิงแบบให้ เหลือกิ่งไว้กบต้ นยาว ่ ั 2. การตัดแต่ งกิงแบบให้ เลือกกิงไว้กบต้ นสั้ น คือ ตัดแต่งกิ่งจนเหลือกิ่งบนต้นสู งจากพื้นดินประมาณ 30- ่ ่ ั 45 เซนติเมตร แล้วเหลือกิ่งไว้ 3-4 กิ่งเท่านั้นการตัดแต่งกิ่งแบบนี้จะตัดแต่งได้เฉพาะต้นกุหลาบที่ปลูก จากต้นติดตา เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ถ้าต้นติดตานั้นมีอายุนอยกว่า 2 ปี ให้ตดแต่งกิ่งแบบแรก แต่ตองตัด ้ ั ้ เพิ่มเติมอีก คือ กิ่งแก่ที่ไม่ตองการและกิ่งชักเกอร์ (กิ่งของต้นตอซึ่ งเป็ นกุหลาบ พันธุ์ป่า) ้ สาหรับระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการตัดแต่งกิ่ง คือ ต้นฤดูฝน เมื่อตัดแต่งกิ่งให้นอยลงตามความต้องการ ้ แล้วควรใช้ปูนแดงผสมกับยากันราหรื อใช้สีน้ ามันทาบนรอยแผลที่ตดเพื่อป้ องกันการเน่าลุกลามของเชื้อ ั รา จากรอบแผลที่ตดนอกจากนี้ควรเก็บกิ่งและใบที่ตดออก ทาความสะอาดแปลงให้เรี ยบร้อยด้วยแล้วจึง ั ั
  • 10. 9 แต่งดินในแปลงปลูก คือไถพรวนหน้าดิน ใส่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ ยเคมี รวมทั้งใช้วสดุคลุมแปลงปลูกพร้อมทั้งรด ั น้ าให้ชุ่มด้วย จะทาให้กุหลาบแตกตาได้เร็ วและได้ตนที่สมบูรณ์ ้ การตัดแต่ งกิงแบบให้ เหลือกิ่งไว้กบต้ นสั้ น ่ ั 1. โรคใบจุด เกิดจากเชื้อรา มีลกษณะอาการเป็ นจุดดากลมบนใบส่ วนใหญ่จะเป็ นกับใบแก่จะทา ั ให้ใบเหลืองและร่ วงในเวลาต่อมา บางครั้งถ้าเป็ นมากอาจ ลุกลามมาที่กิ่งด้วย ระบาดมากในฤดูฝน ควร ป้ องกันโดยฉี ดพ่นด้วยสารเคมี เช่น ดูปราวิท ไดเทนเอ็ม-45 แคปแทน เบนเสท และเบนโนมิล 2. โรคราแปง เกิดจากเชื้อรา โรคนี้ จะเป็ นกับยอดอ่อนและดอกอ่อนมีลกษณะเป็ นปุยขาวคล้าย ้ ั แป้ งทาให้ส่วนของพืชที่เป็ นโรคนี้เกิดอาการหงิกงอไม่เจริ ญเติบโตต่อไป ระบาดมากในฤดูหนาว ควร ป้ องกันโดยฉี ดพ่นด้วยสารเคมี เช่น เบนเสท ดาโคนิล และคาราแทน 3. โรคหนามดา เกิดจากเชื้อราโดยเชื้ อรานี้จะเข้าทาลายแผลที่เกิดจากรอยตัดหรื อเด็ดหนามของกิ่ง อ่อนแล้วลุกลามไปเรื่ อยๆ ตามกิ่งก้าน ทาให้กิ่งก้าน เหี่ ยวแห้งตายไปในที่สุดควรป้ องกันโดยทาแผลจาก รอยตัดด้วยปูนแดง 4. โรคใบจุดสี น้ าตาลหรื อโรคตากบ เกิดจากเชื้ อรา มีลกษณะอาการเป็ นจุดกลมสี น้ าตาลขนาด 1/4 ั นิ้วแล้วจะเปลี่ยนเป็ นวงกลมสี เทามีขอบสี ม่วง-แดง ระบาดมากในฤดูฝน ควรป้ องกันโดยใช้สารเคมีเบน เสท ไดเทนหรื อแบนแซดดี 5. โรคไวรัส เกิดจากเชื้ อไวรัส ลักษณะอาการจะปรากฎให้เห็นที่ใบ โดยใบจะด่างเหลือง เมื่อพบว่า ต้นกุหลาบเป็ นโรคนี้ให้ถอนและเผาทาลายเสี ย ่ 1. หนอนเจาะดอก เป็ นหนอนผีเสื้ อกลางคืนขนาดเล็กซึ่ งจะวางไข่อยูที่กลีบดอกด้านนอก เมื่อไข่ ่ ฟักออกเป็ นตัวจะกัดกินดอกและอาศัยอยูในดอก ระบาดมากช่วงที่กุหลาบให้ดอกดกหรื อในช่วงฤดู หนาว ควรป้ องกันโดยใช้สารเคมี ประเภทดูดซึม เช่น ดิลดริ น ฟอสดริ น ่ 2. หนอนกินใบ เป็ นหนอนของผีเสื้ อกลางคืน มักวางไข่อยูใต้ใบ เมื่อไข่ฟักเป็ นตัวหนอนก็จะ ทาลายใบที่อาศัย บางชนิดทาลายเฉพาะผิวเนื้อใต้ใบทาให้ใบมีลกษณะโปร่ งใสมองเห็นได้ชดเจน ั ั สารเคมีที่ใซ้ได้ผลดี เช่นเอนดริ น
  • 11. 10 3. หนอนเจาะต้ น เป็ นหนอนของผึ้งบางชนิดและหนอนของแมลงวันบางชนิด อาจจะเป็ นหนอน ของพวกต่อแตนด้วย หนอนชนิดนี้จะเจาะกินไส้กลาง และบริ เวณท่อน้ าของกิ่งหรื อต้น ทาให้กิ่งและต้น แห้งตาย ควรป้ องกันกาจัดโดยการ ตรวจดูบริ เวณรอยต่อระหว่างกิ่งแห้งและกิ่งดี หากพบตัวหนอนก็ ทาลายเสี ยหรื อ ป้ องกันโดยการตัดแต่งกิ่งตามกาหนด 4. แมลงปี กแข็ง บางทีเรี ยกด้วงปี กแข็ง มีท้ งชนิดตัวสี ดาและสี น้ าตาลขนาดประมาณ 1.5-2 ั เซนติเมตรออกหากินในเวลากลางคืนระหว่าง 1-3 ทุ่ม โดยการกัดกินใบกุหลาบ ส่ วนในเวลากลางวันจะ ่ ซ่อนตัวอยูตามกอหญ้า ป้ องกัน โดยใช้สารเคมี เช่น คลอเดน หรื อ เซพวิน 5. ผึงกัดใบ จะกัดกินใบกุหลาบในช่วงเวลากลางวัน สังเกตได้ที่รอยแผลมักจะเป็ นรอยเหมือนถูก ้ เฉือนด้วยมีดคมๆ เป็ นรู ปโค้งป้ องกันได้เช่นเดียวกับแมลงปี กแข็ง 6. เพลียไฟ เป็ นแมลงปากดูด มีสีน้ าตาลดา ตัวอ่อนสี ขาวนวลจะดูดกินน้ าเลี้ยงจากใบและดอก ้ ทาให้ดอกที่ถูกทาลายไม่บาน ระบาดมากในฤดูร้อน ป้ องกันโดยการฉี ดพ่นด้วยสารเคมี เช่น โตกุไทออน คลอเดนหรื อนิโคตินซัลเฟต 7. เพลียแปง เป็ นแมลงปากดูดมักเกาะกินตามใบอ่อนหรื อง่ามใบ ทาให้ใบหงิกงอ ควรป้ องกัน ้ ้ กาจัดโดยใช้สารเคมีกาจัดแต่ตองผสมสารเคลือบใบลงไป ด้วยเพราะบนตัวเพลี้ยแป้ งจะมีขนปุยสี ขาวปก ้ คลุม ซึ่งมีลกษณะเป็ นมันจับน้ า ได้ยาก ั 8. เพลียหอย เป็ นแมลงปากดูด มักเกาะทาลายโดยดูดน้ าเลี้ยงจากลาต้น จะสังเกตเป็ นเป็ นจุดสี ้ ่ น้ าตาลอยูบนกิ่งของกุหลาบ เพลี้ยหอยนี้มีลกษณะพิเศษ คือ ตัวของมันจะมีเปลือกหุมหนาทาให้แมลงซึม ั ้ เข้าถึงตัวได้ยากฉะนั้นวิธีกาจัดที่ได้ผลดีก็คือ ใช้น้ ามันทาหรื อฉี ดพ่นเคลือบตัวมันไว้ ทาให้เพลี้ยไม่มีทาง หายใจ และตายในที่สุดแต่เมื่อเพลี้ยตายแล้วจะไม่หลุดจากลาต้นจะยังติดอยูที่เดิม ่ 9. เพลียอ่อน เป็ นแมลงปากดูด ทาลายพืชตรงบริ เวณส่ วนที่เป็ นยอดอ่อนและใบอ่อน ทาให้ ้ ใบเหลืองและร่ วงหล่น ควรป้ องกันกาจัดโดยใช้สารเคมี เช่น ฟอสดริ น เอนดริ น และพาราไธออน เป็ นต้น ่ 10. แมงมุมแดง เป็ นแมงชนิดหนึ่งที่ไม่ใช่ แมลง ตัวมีขนาดเล็กมากเห็นเพียงจุดสี แดงอยูตามใต้ใบ โดยจะเกาะและดูดน้ าเลี้ยงจากใบที่ถูกทาลายนั้น ปรากฎเป็ นจุดสี เหลืองซึ่งมองเห็นได้บนหลังใบ สาหรับสารเคมีที่ใช้กาจัดได้ผล คือ เคลเทน การตัดดอกกุหลาบเพื่อจาหน่ายนั้น ควรให้มีกิ่งเหลืออยูอย่างน้อย 2 กิ่ง เสมอ (กิ่งที่มีใบย่อยครบ ่ ้ 5 ใบ)ไม่ควรตัดชิดโคนกิ่ง และเมื่อตัดดอกออกจาก ต้นแล้วให้รีบแช่กานดอกในน้ าทันทีเพื่อป้ องกันการ สู ญเสี ยน้ าจากกิ่งโดยทัวไป เกษตรกรนิยมตัดดอกในตอนบ่ายและเย็น หรื ออาจตัดในตอนเช้าก็ได้ (เพื่อ ่ จะได้ส่งตลาดทันเวลา)แต่เนื่ องจากดอกกุหลาบมีอายุการใช้งานสั้นและกลีบดอก ก็ช้ าได้ง่าย ฉะนั้นการ
  • 12. 11 ตัดดอกกุหลาบในช่วงที่ยงไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดปั ญหาได้ เช่น ถ้าตัดดอกตูมเกินไป ดอกก็จะไม่บาน ั และคอดอกจะโค้งงอง่าย แต่ถาตัดดอกที่บานเกินไป ดอกกุหลาบจะบานเร็ ว และมีอายุการปั กแจกันสั้น ้