SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
Download to read offline
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                     อาณาจักรโบราณ
                                      ในประเทศไทย


                                             พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย


      อารยธรรมของอินเดียสูสุวรรณภูมิ
          ชาวอินเดียโบราณนั้นเปนชาติที่เดินทางเขามาติดตอกับดินแดนสุวรรณภูมิ
      โดยเสนทางการเดินเรือมาขึ้นทาเรือทีตักโกลา และเดินเขาสูเมืองตางๆในสุวรรณภูมิ
                                            ่
          เมืองโบราณที่ชาวอินเดีย เดินทางมาตั้งหลักแหลงและนําวิทยาการของอารยธรรม
      อินเดียโบราณเขามาสูดินแดนสุวรรณภูมิครั้งแรกนั้น นาจะเปน
          - ตามพรลิงค หรือ ตมพลิงคม (ปจจุบัน คือ เมืองนครศรีธรรมราช)
          - เมืองไชยา ซึ่งเปนชื่อที่ชาวอินเดียตั้งขึ้น




                                                                                     เรืออินเดียโบราณ
          http://statics.atcloud.com/files/comments/53/536846/images/1_display.jpg      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                   เรือสินคาใบเล็ก ใชเดินทางระหวางหมูเกาะ เลียบชายฝงอันดามัน และอาวไทย
                   เปนเรือที่ถูกใชในการเดินทางระหวางอินเดียกับสุวรรณภูมิในยุคแรก ๆ
                                           http://statics.atcloud.com/files/comments/117/1176357/images/1_display.jpg

                                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




        อาณาจักรศรีวิชัย เปนอาณาจักรที่มีอํานาจทางทะเลตอนใต จึงเปนศูนยกลาง
        ความเจริญรุงเรืองทางการคาทางทะเล ทําใหมีกองทัพเรือที่เขมแข็ง ศูนยกลางของ
        อาณาจักรนี้ นาจะอยูที่เมืองปาเล็มบัง ตั้งอยูบนเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซีย
        สวนเมืองไชยา (อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี) ซึ่งพบหลักฐานเปนศิลาจารึก
        และพระพุทธรูปโบราณเปนจํานวนมาก จนนักประวัติศาสตรไทยวา เมืองไชยานี้นา
        เปนศูนยกลางอาณาจักรศรีวิชัย

             จากความในจารึกกาลาสัน เมื่อ พ.ศ.1322 ดังกลาว ทําใหมีขอสันนิษฐานใหม
        วา เมืองไชยานาเปนเมืองหนึ่งของอาณาจักรศรีวิชัยมากกวา และมีฐานะเปนเมือง
        ทาสําคัญ เชนเดียวกับเมืองตามพรลิงค ที่มีฐานะเปนเมืองประเทศราชในอาณาจักร
        ศรีวิชัยมากอน เหมือนเมืองตางๆที่อยูบนแหลมมลายู


                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                                      อาณาจักรศรีวิชัย

                     http://www.krujaidee.com/images6/srivi_653.jpg

                                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย


           อาณาจักรศรีวิชัยมีอํานาจที่แผกวางไพศาลมาก ในสมัยนั้นมีอาณาเขต
       ครอบคลุมชองแคบมะละกา ชวา สุมาตรา แหลมมลายู และหัวเมืองภาคใตของไทย
       เปนอาณาจักรที่มีความเจริญรุงเรืองทางดานพระพุทธศาสนาอยูในพุทธศตวรรษที่
       13-17 จนเปนเหตุที่ทําใหพระพุทธศาสนาเดินทางเขามาเผยแพรทางเมืองไชยา
       เมืองตามพรลิงค (เมืองนครศรีธรรมราช)
           ดังปรากฏหลักฐานในการสรางพระบรมธาตุสําคัญที่เมืองตามพรลิงคและเมือง
       ไชยา ซึ่งพบพระพุทธรูปอวโลกิเตศวรที่เมืองไชยา และในขณะเดียวกันพระธรรม
       คัมภีรในพุทธศาสนาและศาสนาฮินดู ศาสนาพราหมณก็ไดเขามาเผยแพรเชนกัน




                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                  อาณาจักรมอญ



                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




       อาณาจักรมอญ หรือ รามัญประเทศ (พ.ศ.
       1830 - พ.ศ. 2094)
           เปนอาณาจักรของชนชาติมอญ ตั้งอยูใน
       พื้นที่พมาตอนลางในปจจุบัน
       สถาปนาโดยพระเจาฟารั่ว รุงเรืองสูงสุดใน
       สมัยพระนางเชงสอบู และสิ้นสุดอาณาจักร
       ในรัชสมัย พระเจาสมิงสอตุด ซึ่งถูกพระเจา
       บุเรงนองสําเร็จโทษในฐานปลงพระชนมพระ
       เจาตะเบ็งชะเวตี้
      http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E
      0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0                                    พระเจาบุเรงนอง
      %B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%8D
                                                                          http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/7/79/%E0%B
                                                                          8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E
                                                                          0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87
                                                                          .jpg



                                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




        อาณาจักรมอญ– พุทธศตวรรษที่ 22
                อาณาจักรของชนชาติมอญโบราณนั้น
        เดิมมีอาณาเขตครอบครองดินแดนสวนใหญ
        ของอาณาจักรสุวรรณภูมิมาตั้งแตสมัย
        พุทธกาล เมืองสําคัญที่ตั้งอยูบริเวณลุมแมน้ํา
        อิรวดีไดแกเมือง สะเทิม เมืองแปร เมือง
        ทาทอง (Thaton) และเมืองพะโค(Pegu หรือ
        หงสาวดี)

                                                                                         หงสาวดี
                                                      http://www.thaipackagetour.net/userfiles/images/Myanmar/myanmar_01.jpg




                                                             พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                        เมืองหงสาวดี อันเปนเมืองหลวงเกาของอาณาจักรมอญโบราณ
                        ที่มีอายุเกาแกกวา 400 ป
                                 http://www.isnhotnews.com/wp-content/uploads/2009/07/e0b89ee0b8a1e0b988e0b8b2.jpg


                                                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




               อาณาจักรมอญโบราณนั้นเดิมมีเมืองใหญอยูที่ เมืองละโวหรือลพบุรี (กอน
          พ.ศ. 1630) และเมืองหริภุญชัยหรือลําพูน ครั้งหนึ่ง มะกะโท ชาวมอญไดเขามา
          อยูที่เมืองสุโขทัยและพาพระธิดาหนีบกลับไปสรางอาณาจักรมอญ กษัตริยสุโขทัยได
          พระราชทานนามวา พระเจาฟารั่ว สําหรับ กษัตริยยิ่งใหญของอาณาจักรมอญนั้น
          คือพระเจาราชาธราราช ครองราชยทเมืองพะโค (เมืองหงสาวดี) ระหวาง พ.ศ.
                                             ี่
          1928-1966

             พ.ศ. 2083 อาณาจักรมอญไดตกเปนเมืองขึ้นของอาณาจักรพมา โดยการ
          โจมตีของพระเจาตะเบ็งชะเวตี้แหงราชวงคตองอู ตอมา พ.ศ. 2142 อาณาจักร
          มอญที่เมืองพะโค ไดเสื่อมโทรมลง



                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                พ.ศ 2158 พระเจาตะเบงชะเวตี้ แหงอาณาจักรพมา ไดมีอํานาจและไดยาย
            เมืองหลวงจากเมืองอังวะ (Ava) มาตั้งแตเมืองพะโคแทน (พมาจึงเรียก เมือง
            หงสาวดี ) พมามีอํานาจครองเมืองหงสาวดีตอมาถึงสมัยพระเจาบุเรงนอง และ
            พระเจานันทบุเรง จึงเกิดเหตุการณผลัดแผนดินทําใหอาณาจักรพมาตองยาย
            กลับไปตั้งราชธานีที่เมืองอังวะอีกครั้งหนึ่ง

                หลังจากนั้นชนชาติมอญในเมืองหงสาวดีไดทําการตอสูเอาเมืองคืน แตสูพมา
            ไมไดจึงพาครอบครัวหนีเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของกษัตริยอาณาจักรสยาม
            จํานวนมาก เมื่อครั้งสมเด็จพระนเรศวรราชาธิราชนั้นครอบครัวพระยาเกียน พระ
            ยารามและชาวมอญเมืองแครงไดพากันขออยูในกรุงศรีอยุธยา พระองคโปรดให
            ตั้งบานเรือนอยูบริเวณวัดขุนแสน และพระมหาเถรคันฉอง พระเถระที่นับถือของ
            ชาวมอญ ไดเปนพระราชาคณะอยูที่วัดพระมหาธาตุ

                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                                    พ.ศ. 2298 พระเจาอลองพญากษัตริย
                                                                พมาไดยกกองทัพเขาทําลายอาณาจักรมอญ
                                                                ไดทั้งหมด แลวยายเมืองหลวงไปตั้งที่เมือง
                                                                ยางกุง (Rangoon) คําวา รางกุง นั้นแปลวา
                                                                สิ้นสุดการแตกแยกกัน




      http://mblog.manager.co.th/uploads/212/images/ber39.jpg



                                                                             พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                           อาณาจักรศรีวิชัย



                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



              อาณาจักรศรีวิชัย ไดมีอํานาจการปกครองดินแดนอันกวางใหญไพศาลมาแลว
        ในระหวาง พ.ศ.1218 - 1318 โดยประมาณ 100 ป และป พ.ศ.1229 อาณาจักร
        ศรีวิชัยไดเขามาครอบครองดินแดนแถบเกาะชวา
           อาณาจักรศรีวิชัยเปนรัฐโบราณแหงหนึ่ง มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต
        คาบสมุทรภาคใตประเทศไทยตลอดลงไปจนถึงมาเลเซีย สิงคโปร และหมูเกาะตางๆ
        ของประเทศอินโดนีเซียในปจจุบัน
           อาณาจักรศรีวิชัยเจริญขึ้นจากการเปนเมืองทาคาขายทางทะเล ศูนยกลางการคา
        ขายสินคาตางๆ ศรีวิชัยตั้งอยูบนเสนทางการคาโบราณระหวางอินเดียและประเทศ
        ทางตะวันตกกับประเทศจีน ชาวศรีวิชัยสวนใหญยอมรับนับถือพระพุทธศาสนานิกาย
        มหายานและมีรูปแบบศิลปกรรมที่ไดรับมาจากอินเดีย



                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




          ที่ตั้งของอาณาจักรศรีวิชัย
               อาณาจักรศรีวิชัยตั้งอยูทางตอนใตของประเทศไทยบริเวณคาบสมุทรมลายู
          ไปจนถึงหมูเกาะชวา หมูเกาะในทะเลจีนใต จนสามารถควบคุมเสนทางการ
          เดินเรือระหวางอาหรับ เปอรเซีย อินเดียกับจีน และบริเวณชองแคบมะละกา
          เนื่องจากที่ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายูจึงเปนศูนยกลางการคา
               ศรีวิชัยจึงเปนแหลงรับอารยธรรมของตางชาติ เชน จีนและอินเดียและ
          ถายทอดไปยังดินแดนแหงอื่น




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



      ศูนยกลางของอาณาจักรศรีวิชัย
            สันนิษฐานวาอาจตั้งอยูที่เมืองปาเล็มบัง เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียหรือ
      อยูในดินแดนประเทศไทยที่เมืองนครศรีธรรมราช โดยอางหลักฐานทางดาน
      โบราณคดีเพราะไดมีการคนพบจารึก 3 หลัก ซึ่งมีเรื่องราวเกี่ยวของกับอาณาจักร
      ศรีวิชัย ในระหวางพ.ศ.1225-1229 ใกลเมืองปาเล็มบังบนเกาะสุมาตรา และการ
      ตีความจากจดหมายเหตุของจีนมาสนับสนุน
           รองศาสตราจารยปรีชา กาญจนาคม นักโบราณคดีกลาวไวในหนังสือโบราณ
      เบื้องตนวา ศูนยกลางของอาณาจักรศรีวิชัยอาจจะอยูที่เมืองปาเล็มบัง ทางตอนลาง
      ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย หรืออาจจะอยูบริเวณภาคใตของประเทศไทย
      จากการคนพบพระบรมธาตุไชยา ที่เมืองไชยา แถบอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี
      ซึ่งเปนหลักฐานทางสถาปตยกรรมสรางดวยอิฐที่มีความเกาแกในพุทธศตวรรษ
      ที่ 12-13 เปนสวนหนึ่งของอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเคยมีความเจริญรุงเรืองทั้งทางดาน
      การเมืองเศรษฐกิจและศิลปวัฒนธรรม
                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



      ศิลปกรรมของอาณาจักรศรีวิชัย
          ศิลปกรรมศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากศิลปะอินเดียสมัยราชวงศคุปตะ และราชวงศปา
      ละ-เสนะตามลําดับ ศิลปกรรมสวนใหญพบแตรูปเคารพทั้งในพระพุทธศาสนาและ
      ศาสนาพราหมณ-ฮินดู สวนอาคารโบราณสถานพบนอย ปจจุบันคงเหลือเฉพาะสถูป
      เจดีย ซึ่งนิยมสรางเปนสถูปหินซอนเปนชั้นๆ ตอนบนเปนสถูปขนาดเล็ก สําหรับบรรจุ
      พระบรมสารีริกธาตุ สถูปศรีวิชัยไดรับการสืบทอดบนเกาะชวาที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ พระ
      มหาสถูปเจดียบุโรพุทโธ ศิลปวัตถุที่พบทางภาคใตของไทย คลายของชวา สวนใหญ
                     
      นิยมสรางแบบมหายาน ประติมากรรมสวนใหญเปนการปนรูป พระโพธิสัตว-
      อวโลกิเตศวร องคสําคัญของลัทธินี้ องคที่พบที่ไชยานับวาเปนพุทธปฏิมากรชิ้นเอก
      ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และมีพระพุทธรูปมารวิชัยนาคปรก พบที่วัดเวียง
      อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี



                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                      มหาสถูปเจดียบุโรพุทโธ
                                           http://www.nikonianthailand.com/forum/photo/3082101008081015.jpg




                                                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                               พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร
              http://www.osotho.com/upload/cms_orsortor/library/%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%
              AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B%
              E0%B9%8C/%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%84%2044/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%9
              E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E
              0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A31.jpg
                                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                                   พระธาตุไชยา
                                http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-2/no04-06/temple/phraboromthatchaiya.jpg ตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
                                                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิ
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




         อาณาจักรศรีวิชัยเปนศูนยกลางของศาสนาพุทธนิกาย
     มหายาน ในบริเวณภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต พระ
     บรมธาตุไชยา เปนเจดียเหลี่ยมทรงมณฑปและเจดียศรี
     วิชัยที่วัดแกว ที่เมืองไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี
          สวนตอนบนของประเทศไทยคือมณฑปเจดียวัดเจ็ด
     แถวที่สวรรคโลก เจดียในวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัยและ
     เจดียองคเล็กในวัดพระธาตุหริภุญชัย ลักษณะเจดียเปน
     ครึ่งวงกลมหรือทรงระฆังตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมเตี้ยๆ มีรูป
     ชางที่ฐานโดยรอบ ตามความเชื่อของลัทธิลังกาเชื่อวาชาง
     เปนผูค้ําจุนจักรวาล
                                                                                      พระธาตุไชยา
                                                                       http://www.home1click.com/kallbum/uploads/pi
                                                                       cture00/2%20copy_3.jpg




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                     อาณาจักรลานชาง



                                                 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




       อาณาจักรลานชาง
           เปนอาณาจักรของชนชาติลาว ซึ่งตั้งอยูในแถบลุม
       แมน้ําโขง มีอาณาเขตอยูในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด
       ตลอดจนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย มีความ
       เจริญรุงเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ดานศิลปะ-
       วัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการ
       เคียงคูมาพรอมกันอาณาจักรอื่นๆใกลเคียง ทั้งลานนา
       สยาม พมา และเขมร



                                           อาณาจักรลานชางทั้งสาม ไดมีโอกาสตอนรับกองทัพของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช
                                                                       ในพ.ศ.2321-2322 และรวมเขาในพระราชอาณาเขต

                                                                              พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
                                                           http://iseehistory.socita.com/images/column_1236779693/Thonburi_resize.jpg
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

            อาณาจักรแหงนี้ไดสถาปนาขึ้นอยางเปนปกแผนมั่งคงอยางแทจริงในป พ.ศ.
        1896 สมัยพระเจาฟางุม มีความรุงเรืองสลับกับความรวงโรยตอมาหลายสมัย
        ซึ่งยุคที่นับไดวาเปนยุคทองของอาณาจักรลานชางคือรัชสมัยของพระเจาไชยเชษฐา-
        ธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจาสุริยวงศาธรรมิกราช(พ.ศ.
        2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอํานาจลงและแตกแยกเปน
        3 ราชอาณาจักร และในป พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ไดสูญเสียเอกราชแก
        ราชอาณาจักรสยามในที่สุด




                                           หอพระบาง พิพิธภัณฑเมืองหลวงพระบาง
                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




           ในสมัยพระโพธิสารราชเจาพระองคไดอาราธนาพระบาง ซึ่งเดิมประดิษฐาน
           อยูที่เมืองเวียงคํา ขึ้นมาประดิษฐานอยูที่เมืองเชียงทองอันเปนนครหลวง เมือง
           เชียงทอง จึงถูกเรียกวา หลวงพระบาง นับแตนั้น
                            http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/e/e5/Vat_Xieng_Thong_arri%C3%A8re.JPG

                                                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



            นักประวัติศาสตรลาวเชื่อวา ชาวลาวเดิมตั้งถิ่นฐานอยูระหวางแมน้ําฮวงโหกับ
        แมน้ําแยงซีเกียงแถบมณฑลเสฉวนในประเทศจีนปจจุบัน ตอมาไดถูกจีนรุกราน
        จึงไดอพยพมาทางตอนใตของเสฉวนจนถึงยูนนาน ซึ่งเรียกอีกอยางหนึ่งวาหนอง
        แสหรืออาณาจักรนานเจาโดยไดมีความเจริญรุงเรืองและดํารงเอกราชมากวารอย
        ป (ปจจุบันมีการพิสูจนวาอาณาจักรนานเจาเปนอาณาจักรของชนชาติตาหลี่ ไมใช
        ของชนชาติไท-ลาว)
            จนถึงสมัยของขุนบรมราชาธิราช
        พระองคไดทรงสถาปนาเมืองใหมที่นานอยออยหนู
        โดยใหชื่อวา "เมืองแถน" หรือ "เมืองกาหลง"
        (มหาสิลา วีระวงส เชื่อวาคือเมืองแถงหรือเดียนเบียนฟู
        ในดินแดนสิบสองจุไท ประเทศเวียดนาม

                                                                                                 เจาฟางุม
                                                     http://www.louangprabang.net/pic_update/by_user/images/L-Chag05.jpg

                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                           •อาณาจักรโคตรบูร



                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



      อาณาจักรโคตรบูร
         เปนอาณาจักรโบราณทางภาคอีสานของไทย
      พุทธศตวรรษที่ 11-15 (ระหวาง พ.ศ. 1000-
      1500) ครอบคลุมบริเวณ ฝงแมน้ําโขงตั้งแต
      อุดรธานี หนองคาย เวียงจันทน นครพนม ไป
      จนถึงอุบลราชธานี นับถือ พุทธศาสนา มีการสราง
      พระเจดียสําคัญ คือ พระธาตุพนม มีเมืองหลวง
      คือ มรุกขนคร ซึ่งขึ้นใหมใตเมืองทาแขก บนฝง
      ซายของแมน้ําโขง



                                                                                    พระธาตุพนม
                                                              http://gotoknow.org/file/santisook/PrathatPhanom.jpg


                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                           http://www.esanclick.com/onsorn/photo/np-kno05.jpg


                                                                                พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

              ตํานานอุรังคธาตุกลาวถึงการสรางโบราณสถานสําคัญทางพุทธศาสนานิกาย
           เถรวาท คือ เจดียพระธาตุพนมที่เมืองนครพนม ในประมาณพุทธศตวรรษที่ 13
           เปนเจดียสถานที่เกาแกที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอายุกวาพันปมาแลว
           มหาชนเชื่อกันวา ภายในเจดียมีการบรรจุพระบรมธาตุสวนหนาพระอุระของ
           พระพุทธเจาซึ่งเรียกวา พระอุรังคธาตุ ลวดลายและภาพที่สลักบนแผนอิฐ
           ประดับรอบพระธาตุเจดียทั้ง 4 ดาน เปนลักษณะศิลปกรรมของตนเอง
           โดยเฉพาะ




  http://images.palungjit.com/attachments/4837%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8
  %87%E0%B8%84%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8
  %A3%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%81-watermark2-jpg
                                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



           เจดียพระธาตุพนมสรางขึ้นโดยชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณ 2 ฝงแมน้ําโขง
        เปนปูชนียสถานที่รวมศรัทธาของพุทธศาสนิกชนบริเวณลุมแมน้ําโขงและดินแดน
        ตางๆในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
           อาณาจักรโคตรบูร เสื่อมลงเมื่อถูกอาณาจักรลานชางของลาวนําโดยเจาฟางุม
        โจมตีและเกิดโรคระบาด




                                                                          เจาฟางุม
                                                http://www.louangprabang.net/pic_update/by_user/images/L-Chag05.jpg

                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                       อาณาจักรนามเวียด




                                                 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




        อาณาจักรนามเวียด
           พ.ศ. 335 กองทัพจากจีนในสมัยราชวงศฉิน ไดเขาตีดินแดนแหงนี้สําเร็จแลว
        ถูกรวมเขากับอาณาจักรจีนเปนแควนหนึ่ง ชาวจีนเรียกดินแดนนี้วา "นามเวียด"
        นับแตนั้นมา แมทัพจากจีนที่นําทัพเขาตีนั้น ชื่อวา "เตรียวตา" (Trieu Da) ได
        สถาปนาตนเองขึ้นเปนกษัตริย ตั้งราชวงศเตรียวขึ้น เมื่อฮั่นเกาจูโคนราชวงศฉิน
        กษัตริยเตรียวตา ก็เริ่มแยกอิทธิพลจากจีน และสืบกษัตริยได ๕ พระองค กระทั่ง
        พ.ศ.432 กองทัพฮั่น ก็สงกําลังเขามาตีนามเวียดสําเร็จ เปนการสิ้นสุดราชวงศ
        เตรียว




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                นามเวียด ถูกปกครองโดยราชวงศฮั่นจนถึง พ.ศ. 540 ก็เกิดจลาจล
             โดยผูนําซึ่งเปนวีรสตรีของชาวเวียดนาม คือสองพี่นอง "ตรึง ตรัก" (Trung
             Trac) และ "ตรึง นี" (Trung Nhi) เนื่องจากการกดขี่ของทหารจีนที่โหดราย
             มากไป ทําใหผูนําชาวบานผูหนึ่งที่มาจากครอบครัวซึ่งเปนทหาร คือ "ธี ซัค"
             (Thi Sach) ปลุกระดมชาวบานขึ้นตอตานขับไลทหารจีนออกไปเสีย




                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



         ตอมา ธีซัคถูกจับกุม และประหารชีวิต ภรรยาจึงชวนนองสาว ตรึงนี รวมปลุก
      ระดมชาวบาน โดยการตายของธีซัคนั้น ทําใหมีผูคนมารวมอุดมการณมากมาย
      สามารถตานทัพจีนไดถึงสามป จนไดรับชัยชนะ และไดยายไปตั้งเมืองหลวงแหงห
      ใมที่เมอลี (Me Lhi) แตในที่สุด ใน พ.ศ.586 ฮั่นก็สงกําลังมาอีก และจบสงคราม
      ดวยการปดลอมสองพี่นองอยูกลางสนามรบ แตสองพี่นองคูนี้ไมยอมจํานน และได
      ปลิดชีพตนเองลงเสีย

         มีการตอตานอํานาจจีนอีก ในป พ.ศ.788 ผูนําการตอตานครั้งนี้ก็ยังคงเปน
      หญิง "เตรียว ธิ ตริน" (Trieu Thi Trinh) วีรสตรีอีกคนหนึ่งของเวียดนามกับ
      นองชาย นําทัพออกสูกับจีนอยางไมเกรงกลัว จากทหารชาวบาน 100 กวาคน
      สามารถขับไลทหารจีนออกจากเมืองได และยังตีเอาดินแดนบางสวนคืนมาไดดวย
      จนกระทั่งป 791 ก็ตองพายแพใหกับทัพใหญที่บุกเขามา และเตรียวธิตริน ก็ได
      ปลิดชีพตนเองไมใหศัตรูไดตัวไปอีกเชนกัน

                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




            ความพยายามที่จะปลดแอกจากจีน มีอยูเรื่อยๆ ในสมัยราชวงศสุย ผูนําชื่อ
        "ลี บัน" (Ly Bon) เปนชนชั้นสูงของนามเวียด แตไมเห็นดวยกับการปกครองที่
        โหดราย จึงไดกอกบฎขึ้น ในป 1084 กองทหารของลีบัน ก็ขับไลทหารจีนออกไปได
        ในหลายๆเมือง และไดรวบรวมเมืองเหลานั้นตั้งเขตปกครองตนเองขึ้น สถาปนา
        ตนเองเปนกษัตริย นามวา "ลี นาม เดอ" (Ly Nam De) ขึ้นในป 1087 เปนตน
        ราชวงศลี เรียกอาณาจักรใหมนี้วา วานฉวน (Van Xuan) มีหลงเปยน (Long
        Bien) เปนเมืองหลวง




                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




           ตอมา ป 1088 จักรพรรดิจีน ไดสงกองกําลังเขาปราบปราม ลีบันสูไมได จึง
       ถอยหนี และไดใหทหารคนสนิทคือ "เตรียว ควง พุก" (Trieu Guang Phuc) นํา
       ทัพออกตอตาน กระทั่งป 1091 กษัตริยลีบันสิ้นพระชนม เตรียว ควง พุก ขึ้น
       เปนกษัตริยแทน นามวา "เวียด หวัง" (Viet Vuong) และทําสงครามกับจีนตอ
       ในราชวงศลี ยังมีกษัตริยสืบตออีกสององค จนในป 1146
       ก็ตองพายแพใหกับจีนอีกครั้ง




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                     อาณาจักรฟูนาน ( Funan )




                                 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:FunanMap001.jpg


                                                                              พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



        อาณาจักรฟูนาน ( Funan )
            ฟูนานเปนรัฐที่รุงเรืองอยูระหวางคริสตศตวรรษที่ 1-6 ที่ตั้งของรัฐอยูบริเวณลุม
        แมน้ําโขงตอนลาง ปจจุบันเปนที่ตั้งประเทศกัมพูชา เวียดนามตอนใต ภาค
        ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย บางตอนของลุมแมน้ําเจาพระยา และภาคใตของไทย
        ลงมาถึงแหลมมลายู ฟูนานรวมตัวกันเปนรัฐแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปน
        รัฐชลประทานภายในแผนดินที่ประชาชนดํารงชีพดวยการเกษตร โดยใชน้ําจาก
        ระบบชลประทานที่พัฒนาเปนอยางดี นอกจากนั้น ฟูนานยังมีเมืองทาสําหรับจอด
        เรือและคาขายตางประเทศ ฟูนาน จึงมีรายไดจากการคาขาย การเดินเรืออีกดวย




                                           ศิลปะแบบพนมดา (Phnom Da) ราวพุทธ
                                           ศตวรรษที่ 1100 - 1150 (6th Century)
                                           discoverythailand.tripod.com/r0031.jpg


                                                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

          เรื่องราวของรัฐฟูนาน ทราบจากบันทึก
     ของชาวจีนที่เดินทางมาแถบนี้ ไดเขียนเลาถึง
     ความมั่งคั่ง ความเปนอยูในชุมชนที่มี
     ระเบียบ มีคุณธรรม มีการปกครองระบอบ
     กษัตริย มีเมืองตาง ๆ มาขึ้นดวยหลายเมือง
     มีวัฒนธรรมแท ๆ ของตนเอง มีการติดตอ
     กับชาวตางประเทศ ทั้งในทวีปเอเชียดวยกัน
     และโลกตะวันตก ชาวพื้นเมืองเปนชนชั้นสูง
     เปนพวกมาลาโยโพลีนเซียน ชนชั้นลางเปน
                            ี
     พวกเนกริโตและเมลานีเซียน ฟูนานมีประวัติ
     ความเปนมา เริ่มจากการรวมตัวกันของผูคน
                                                   1.เครื่องขัตติยราช 2.ปชนิดตางๆ 3.พานหมาก 4.เงินตราฟูนัน 5.
     เปนชุมชนเล็กขนาดหมูบาน จากหมูบาน         ผอบทองคําลงยา 6.พระธํามรงคทรงมณฑป
     พัฒนาขึ้นมาเปนรัฐ วิธีการพัฒนาจากสังคม
     เผาเปนสังคมรัฐมีปจจัยและขั้นตอนหลาย                 http://www.artgazine.com/shoutouts/userpix/1021_pr
                                                            a01110852p2_1.jpg


     ประการ
                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย


           สังคมดั้งเดิมของเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนสังคมเผา (Tribal Society)
       ตอมาพัฒนาเปนสังคมรัฐ (Social State) เมื่อคริสตศตวรรษที่ 1 เปนตนมา
       ตัวอยาง คือ ฟูนาน เดิมเปนหมูบาน ตอมาขยายออกไปเพราะมีประชากรเพิ่มมาก
       ขึ้น จึงตองขยายที่เพาะปลูกใหพอกินพอใชกับจํานวนชุมชนที่ขยายขึ้น ไดพยายาม
       หาเทคนิควิทยา ( Technology ) มาชวย เชน ขุดคูคลองกั้นน้ํา เพื่อใหอยูดีและมี
       อาหารพอเพียงตอมาเริ่มมีโครงรางของสังคมดีขึ้น จึงพัฒนามาเปนรัฐ เหตุที่ฟู
       นานพัฒนาเปนรัฐไดนั้น มีผูแสดงความเห็นไว เชน เคนเนธ อาร ฮอลล กลาววา
       เปนเพราะฟูนานมีการพัฒนาในเรื่องการเพาะปลูกอยางมาก และที่สําคัญอีก คือ
       ฟูนานมีเมืองทาที่เปนศูนยกลางการคาทางทะเล
       พรอมทั้งไดยกขอคิดเห็นของ โอ.ดับบลิว.โวลเดอร
       (O.W.Wolter) ที่กลาวถึงการพัฒนาการจากสังคม
       เผาเปนสังคมรัฐวา เปนเพราะลักษณะทางการคา
       และสภาพภูมิศาสตรเอื้ออํานวย โดยเฉพาะที่เมือง
       ออกแกว (Oc-EO)
                                                                   ecatalog.treasury.go.th/.../21067-2448.jpg

                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย


            เมืองทาของฟูนานที่เรือตาง ๆ ผานมาตองแวะดวย เมืองออกแกวเปนตัวกระตุน
        ใหเกิดการผลิตเพิ่มขึ้นในดินแดน เพื่อสนองความตองการสินคาของคนที่แวะมา
        เมืองทา และการชลประทานในฟูนานก็เอื้ออํานวยตอการเพาะปลูกทําใหฟูนาน
        ขยายตัวเปนรัฐขึ้นมา และเปนรัฐแรกในภูมิภาคนี้ สวนเรื่องการเขามาของชาว
        อินเดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นาจะเริ่มที่พอคาเขามากอน โดยมาติดตอกับ
        ผูปกครอง แลวพราหมณจึงตามเขามาทีหลัง และไมเชื่อวา ฟูนานจะกวางใหญถึง
        ขนาดเปนอาณาจักร (Kingdom) ไดแสดงใหเห็นถึงความผิดพลาดในการใชคําศัพท
        ทั้งนี้ เพราะสวนใหญขอมูลไดมาจากจีน จีนมองดูบานเมืองในแถบนี้ดวยสายตาของ
        คนจีน และนําเอาคําศัพทของจีนมาใช เชนเดียวกับชาวตะวันตก ที่ใชคําวา
        Kingdom”




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

          ประวัติของอาณาจักรเขมรไดเริ่มตนขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจาก
       อาณาจักรชื่อ "ฟูนัน" (Funan) :ซึ่งตั้งอยูทางภาคใต
       ของแหลมอินโดจีนอาณาจักรฟูนัน (Funan) มีเมืองหลวงตั้งอยูแถบเมืองบาพนม
       ทางทิศตะวันออกเฉียงใตของประเทศกัมพูชาในปจจุบัน
           ตอมาไดขยายอาณาเขตไปยังแควนที่ชื่อเจนละ ซึ่งตอมาไดกลายเปนประเทศ
       กัมพูชานั่นเอง โดยแควนเจนละไดเจริญขึ้นมาแทนอาณา
       จักรฟูนัน (Funan) ในเวลาตอมา โดยศิลปะเขมรทีไดมมีกาารคนพบประติมมากร
                                                         ่
       รมเริ่มตนจากศิลปะแบบพนมดา ราวพุทธศตวรรษที่ 1100




                                           http://contacshop.tripod.com/panom2255.jpg
                                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




           บริเวณกัมพูชาในปจจุบันเปนที่ตั้งของจักรวรรดิหรือวาอาณาจักรทีชื่อวา ฟูนัน
                                                                          ่
        (Funan) ในชวงคริสตศตวรรษที่ 1 และเมื่อถึงคริสตศตวรรษที่ 3 อาณาจักรแหงนี้
        ภายใตการนําของ ฟนซีมัน (Fan Shih-man) ไดยึดครองเพื่อนบานและขยาย
        อิทธิพลอํานาจสูตอนลางของแมน้ําแมโขง และถึงชวงคริสตศตวรรษที่ 4 ตามบันทึก
        ของจีนระบุวาพราหมณชาวอินเดียไดขยายอํานาจครอบงํารัฐแหงนี้ ทําใหวัฒนธรรม
        ตางๆ ของอินเดียไดหลั่งไหลมาสูอาณาจักรฟูนันนี้ เชนศาสนาและขนบธรรมเนียม
        แบบฮินดู กฎหมายอินเดีย รวมทั้งภาษา         https://history.myfirstinfo.com/Thaidata/image.asp?ID=1399697
                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




       อาณาจักรเจนละ




                                           http://ubonguide.com/news/images/SatApril2005153458_jenla.jpg
                                                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

             อาณาจักรเจนละแหงนี้เปนอาณาจักรตั้งอยูทางทิศตะวันตกของอาณาจักหลินยี่
        หรือจามปา เดิมนั้นเปนเมืองที่ขึ้นกับอาณาจักรฟูนัน ตอมาในราว พ.ศ. 1097
        พระเจาภววรมัน ปฐมกษัตริยเจนละไดทําการโคนอํานาจของพระเจารุทรวรมัน
        กษัตริยฟูนัน โดยทําการตีเมืองยาธปุระ เมืองหลวงของอาณาจักรฟูนันแตก
                 
             โดยตอมาพระเจาจิตรเสน ซึ่งเปนพระอนุชาของพระเจาภววรมันนั้น ไดเขายึด
        ครองอาณาจักรฟูนันและขึ้นครองราชยทรงพระนามวาพระเจามเหนทรวรมันที่ 1
        ซึ่งไดทําการขยายอาณาเขตอาณาจักรเจนละออกไปอยางกวางขวาง สามารถ
        ครอบครองลุมแมน้ํามูลตอนใต และลุมแมน้ําโขง และทําการตั้ง เมืองเศรษฐปุระ
        เปนเมืองหลวง อยูที่บริเวณเมืองจําปาศักดิ์
        ในประเทศลาว




                                           http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/149/23149/images/watphu/DSC_0174.jpg
                                                              พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

            สมัยพระเจาชัยวรมันที่ 1 นั้น อาณาจักรเจนละไดเกิดการแบงแยกออกเปน
        พวกเจนละบก (เจนละบน) คืออยูลุมน้ําโขงตอนใต และพวกเจนละน้ํา (เจนละ
        ลาง) อยูในดินแดนลาวตอนกลาง ใน พ.ศ. 1250-1350 สมัยนี้ไดมีการสราง
        ศิลปะขอมแบบกําพงพระขึ้น ตอมาสมัยพระเจาสัญชัยพวกเจนละน้ําไดถูกชวาเขาตี
        แตกและมีอํานาจในอาณาจักรแหงนี้




                                           http://www.bloggang.com/data/j/juti/picture/1242972181.jpg

                                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



          เมื่ออาณาจักรขอมนั่นลมสลาย ในราว
      คริสตศตวรรษที่ 8 พระเจาชัยวรมันที่ 2
      ไดเสด็จมาจากชวาและทําการรวบรวมพวก
      เจนละทั้งสองกลุมประกาศอิสรภาพจากอํานาจ
      ครองของชวา และไดสรางอาณาจักรขอมสมัย
      เมืองพระนครขึ้น




                                                       ปราสาทบายน หรือ อังกอรธม ที่สรางขึ้น
                                                      ในสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ 7 ในป 2000

                                                พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



      พระเจาชัยวรมันที่ 2 หรือพระเจาปรเมศวร (พ.ศ. 1345-1397) ไดทําการ
      รวบรวมพวกเจนละบกและพวกเจนละน้ําเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยรับเอาลัทธิ
      ไศเลนทรหรือเทวราชาเขามาทําการสถาปนาอาณาจักรใหมขึ้น โดยทําการสรางราชธานี
      ขึ้นใหมหลายแหงและสรางปราสาทหินหรือเทวาลัย เปนการใหญ ซึ่งมีเหตุกราณยาย
      ราชธานีขึ้นหลายครั้ง จนในที่สุดก็ลงตัวสรางเปนนครวัดนครธมขึ้น




     ปราสาทบายน หรือ อังกอรธม ที่
     สรางขึ้นในสมัยของพระเจาชัยวรมัน
     ที่ 7 ในป 2000
                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย


          ดวยเหตุนี้อาณาจักรขอมในสมัยนี้จึงมีความชํานาญในการสรางราชธานีขึ้น
       หลายแหงและมีการสรางปราสาทหินที่เปนศิลปกรรมขอมขึ้นหลายแบบ กลาวคือ
       ในสมัยพระเจาชัยวรมันที่ 2 นั้นพระองคไดทําการสรางเมืองอินทะปุระเปนราช
       ธานี ขึ้นที่บริเวณใกลเมืองกําแพงจามสรางเมืองหริหราลัยหรือรอลวย เปนราชธานี
       สรางเมืองอมเรนทรปุระ เปนราชธานีและสรางเมืองมเหนทรบรรพตหรือพนมกุ
       เลนเปนราชธานียุคนี้ไดมีการสรางศิลปะขอมแบบกุเลนขึ้นระหวาง พ.ศ. 1370-
       1420

          เมื่อสิ้นรัชกาลพระเจาชัยวรมันที่ 2 พระโอรสไดครองราชยเปนกษัตริย ทรงพระ
       นามวาพระเจาชัยวรมันที่ 3 หรือพระเจาชัยวรมันที่ 3 หรือ พระเจาวิษณุโลก
       ครองราชยระหวาง พ.ศ. 1393-1520 สมัยนี้พระองคไดกลับมาใชเมืองหริหราลัย
       หรือรอลอย เปนราชธานีอีกครั้ง


                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย


            นอกจากอาณาจักรขอมจะเคยมีอํานาจครอบครองดินแดนแถบลุมแมน้ํา
        เจาพระยามากอนแลวโดยมีการตั้งละโวปุระหรือเมืองละโวเปนราชธานีของ
        อาณาจักรขอมเมืองลพบุรีโดยมีเจาผูครองนครที่รับอํานาจจากอาณาจักรขอมมา
        ปกครองดูแลแทน ตอมาภายหลังจึงมีการขยายอํานาจไปยังดินแดนพายัพของ
        ประเทศไทย กลาวคือหัวเมืองฝายเหนือทั้งหมดนั้นเดิมเปนถิ่นที่อยูของชนชาติ
        อายลาวมากอน




                                       http://www.komchadluek.net/media/img/size1/2009/08/04/jfbh5g7babeihac58bjeb.jpg

                                                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



            ครั้นเมื่อพวกขอมมีอํานาจและขยายอาณาจักรเขามา
        ครอบครองแดนพายัพ เจาผูครองเมืองละโวจึงไดสง
        พระนางจามเทวีพระธิดาขึ้นไปครองเมืองหริภุญชัย
        (เมืองลําพูน) ซึ่งตอมาเปนเมืองลูกหลวงของอาณาจักร
        ขอมเมืองละโว พระธิดาเจาผูครองเมืองละโวผูนี้ไป
        ปกครองพวกลาวทั้งปวงในมณฑลพายัพ สวนเมืองหริ
        ภุญชัย (เมืองลําพูน)จึงมีฐานะเปนเมืองลูกหลวงของ
        อาณาจักรขอมเมืองละโว ที่ตั้งขึ้นเพื่อใหดูแลบรรดาเมือง
        ตางๆ ในดินแดนพายัพ
            ตอมาไดตั้งเมืองนครเขลางค (เมืองลําปาง)ขึ้นอีก          http://www.lannamusic.advancewebservice.com
        เมืองหนึ่งและใหปกครองหัวเมืองฝายเหนือรวมกัน                /userimages/Pic_59_1.jpg




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                                นครวัดสรางขึ้นในรัชสมัยพระเจา
                                                                สุริยวรมันที่ 2 ซึ่งครองราชย
                                                                พ.ศ. 1650-1693
                                                                ในขณะนั้นศาสนาพราหมณนิกาย
                                                                ไวษณพนิกายเปนนิกายที่นับถือ
                                                                พระวิษณุเปนใหญ
                                                               http://www.bloggang.com/data/aumteerama/picture/119
                                                               0896907.jpg




           สมัยเมืองพระนคร นับชวงตั้งแตเมืองยโศธรปุระหรือเมืองพระนครเปนราชธานีหลัก
      ตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ 15 ไปจนสิ้นสุดเมืองพระนครหลวงหรือนครธม (Angkor
      Thom) สมัยพระเจาชัยวรมันที่ 7 แตอยางไรก็ตามนักโบราณคดีฝรั่งเศสไดจัดใหชวง
      เริ่มตนสมัยเมืองพระนคร ในสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ 2 กอนการสถาปนาเมืองพระ
      นคร เนื่องจากศิลปะขอมมีวิวัฒนาการอยางสืบเนื่องเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                                                    นครธม
                                                                                    สรางในปพุทธศตวรรษที่ 18
                                                                                    รัชสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ 7
                                                                                    เปนศิลปะแบบบายน
                                                                                    ศาสนาพุทธนิกายมหายาน

      http://gotoknow.org/file/nirann/preview/%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8
      %98%E0%B8%A1.jpg




                                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                                              เขาพระวิหาร
                                           http://www.tourdoi.com/webboard2/board_1/images/1031231-165434-pavihan2.jpg

                                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



               เขาพระวิหาร เปนบริเวณสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนพื้นเมืองสมัยกอน ในกษัตริย
           ชัยวรมันที่ 2 ไดกําหนดเขตบริเวณนี้และเรียกชื่อวา "ภวาลัย" ภายหลังปรากฏชื่อ
           ในจารึกภาษาสันสกฤตวา "ศรีศิขรีศวร" หมายความวา "ผูเปนใหญแหงภูเขา
           อันประเสริฐ" ตั้งอยูบนยอดเขาในเทือกเขาพนมดงรัก ตามแนวเสนกั้นเขตแดน
           ระหวางประเทศไทยกับกัมพูชา
               จากหลักฐานตางๆ คาดวาสรางในป พ.ศ.1432-1443 ในสมัยพระเจาสุริยวร
           มันที่ 1 เพื่อใชเปนสถานที่สักการะตามความเชื่อทางศาสนาพราหมณ โดยสมมติ
           ใหเปรียบเสมือน "เขาพระสุเมรุ" (ศูนยกลางของจักรวาล) โดยการสรางนั้นก็มี
           เหตุผลในการรวบรวมอํานาจและความเชื่อของคนในละแวกนั้นเขาดวยกัน เพราะ
           ในอดีตแถบนั้นมีผูคนหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยูรวมกัน พระเจาสุริยวรมันที่ 1
           จึงโปรดใหสรางเขาพระวิหารขึ้น เพื่อเปนจุดยึดเหนี่ยวและศูนยรวมจิตใจของ
           ชาวบานซึ่งจะทําใหการปกครองงายขึ้นดวย

                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




                                           อาณาจักรละโว



                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย


             ตามพงศาวดารเหนือ อาณาจักรละโวไดตั้งขึ้นในพุทธศักราช 1002 จุล
          ศักราช 10 ประกาสัมฤทธิศก พระยากาฬวรรณดิศราชบุตรของพระยากา
          กะพัตร ไดเสวยราชสมบัติที่เมืองตักศิลามหานคร จึงใหพราหมณทั้งหลาย
          ยกพลไปสรางเมืองละโว




                                                                  พระปรางคสามยอด
                                           http://blog.mthai.com/home/blog_data/963/12963/images/300pxPrangsamyodNS.jpg

                                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย



           ขอมูลที่ปรากฏในพงศาวดารเหนือนี้แสดงวาเมืองละโวมีมา
       ตั้งแตป พ.ศ. 1002 แลว และผลจากการขุดคนทางโบราณคดี
       ปรากฏวาตั้งแตอําเภอชัยบาดาล ถึงอําเภอพัฒนานิคม จังหวัด
       ลพบุรี ลวนมีหลักฐานเกี่ยวกับมนุษยในอดีตที่ยาวนานมาแลว
       ทั้งสิ้น ชุมชนขนาดยอมไดขยายเปนเมืองเล็กๆ จนรวมตัวกันเปน
       อาณาจักรหรือเขตการปกครองที่เปนสวนยอยของประเทศ
       ประมาณพุทธศตวรรษที10-12 ละโวก็กลายเปนอาณาจักรหรือ
                               ่
       เมืองขนาดใหญแลว และชวงพุทธศตวรรษที13-14 อาณาจักร
                                                 ่
       ละโวมีความเจริญรุงเรืองอยางมากโดยเฉพาะความรุงเรืองทาง
       พุทธศาสนา


                                           พระพุทธรูปศิลปแบบลพบุรี
                                           อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-18
                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  อาณาจักรโบราณในประเทศไทย




          อาณาจักรละโวเคยเปนเมืองสําคัญของอาณาจักร
       ทวารวดีมากอน เคยมีความรุงเรืองในทางพุทธศาสนา
       มาแตโบราณกาล ตํานานมูลศาสนากลาววา พระเจา
       กรุงละโวไดทรงสงพระนางจามเทวีพระราชธิดาใน
       พระองคไปครองเมืองหริภุญชัย เพื่อเผยแผ
       พระพุทธศาสนาในดินแดนภาคเหนือ




                                                                     http://contacshop.tripod.com/tvr2.jpg




                                                 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

More Related Content

What's hot

เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1จารุ โสภาคะยัง
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชChoengchai Rattanachai
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 

What's hot (20)

เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 

Similar to 05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 

Similar to 05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย (20)

06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 

More from JulPcc CR

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 

More from JulPcc CR (7)

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 

05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

  • 1. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรโบราณ ในประเทศไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อารยธรรมของอินเดียสูสุวรรณภูมิ ชาวอินเดียโบราณนั้นเปนชาติที่เดินทางเขามาติดตอกับดินแดนสุวรรณภูมิ โดยเสนทางการเดินเรือมาขึ้นทาเรือทีตักโกลา และเดินเขาสูเมืองตางๆในสุวรรณภูมิ ่ เมืองโบราณที่ชาวอินเดีย เดินทางมาตั้งหลักแหลงและนําวิทยาการของอารยธรรม อินเดียโบราณเขามาสูดินแดนสุวรรณภูมิครั้งแรกนั้น นาจะเปน - ตามพรลิงค หรือ ตมพลิงคม (ปจจุบัน คือ เมืองนครศรีธรรมราช) - เมืองไชยา ซึ่งเปนชื่อที่ชาวอินเดียตั้งขึ้น เรืออินเดียโบราณ http://statics.atcloud.com/files/comments/53/536846/images/1_display.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เรือสินคาใบเล็ก ใชเดินทางระหวางหมูเกาะ เลียบชายฝงอันดามัน และอาวไทย เปนเรือที่ถูกใชในการเดินทางระหวางอินเดียกับสุวรรณภูมิในยุคแรก ๆ http://statics.atcloud.com/files/comments/117/1176357/images/1_display.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัย เปนอาณาจักรที่มีอํานาจทางทะเลตอนใต จึงเปนศูนยกลาง ความเจริญรุงเรืองทางการคาทางทะเล ทําใหมีกองทัพเรือที่เขมแข็ง ศูนยกลางของ อาณาจักรนี้ นาจะอยูที่เมืองปาเล็มบัง ตั้งอยูบนเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซีย สวนเมืองไชยา (อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี) ซึ่งพบหลักฐานเปนศิลาจารึก และพระพุทธรูปโบราณเปนจํานวนมาก จนนักประวัติศาสตรไทยวา เมืองไชยานี้นา เปนศูนยกลางอาณาจักรศรีวิชัย จากความในจารึกกาลาสัน เมื่อ พ.ศ.1322 ดังกลาว ทําใหมีขอสันนิษฐานใหม วา เมืองไชยานาเปนเมืองหนึ่งของอาณาจักรศรีวิชัยมากกวา และมีฐานะเปนเมือง ทาสําคัญ เชนเดียวกับเมืองตามพรลิงค ที่มีฐานะเปนเมืองประเทศราชในอาณาจักร ศรีวิชัยมากอน เหมือนเมืองตางๆที่อยูบนแหลมมลายู พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัย http://www.krujaidee.com/images6/srivi_653.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัยมีอํานาจที่แผกวางไพศาลมาก ในสมัยนั้นมีอาณาเขต ครอบคลุมชองแคบมะละกา ชวา สุมาตรา แหลมมลายู และหัวเมืองภาคใตของไทย เปนอาณาจักรที่มีความเจริญรุงเรืองทางดานพระพุทธศาสนาอยูในพุทธศตวรรษที่ 13-17 จนเปนเหตุที่ทําใหพระพุทธศาสนาเดินทางเขามาเผยแพรทางเมืองไชยา เมืองตามพรลิงค (เมืองนครศรีธรรมราช) ดังปรากฏหลักฐานในการสรางพระบรมธาตุสําคัญที่เมืองตามพรลิงคและเมือง ไชยา ซึ่งพบพระพุทธรูปอวโลกิเตศวรที่เมืองไชยา และในขณะเดียวกันพระธรรม คัมภีรในพุทธศาสนาและศาสนาฮินดู ศาสนาพราหมณก็ไดเขามาเผยแพรเชนกัน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรมอญ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรมอญ หรือ รามัญประเทศ (พ.ศ. 1830 - พ.ศ. 2094) เปนอาณาจักรของชนชาติมอญ ตั้งอยูใน พื้นที่พมาตอนลางในปจจุบัน สถาปนาโดยพระเจาฟารั่ว รุงเรืองสูงสุดใน สมัยพระนางเชงสอบู และสิ้นสุดอาณาจักร ในรัชสมัย พระเจาสมิงสอตุด ซึ่งถูกพระเจา บุเรงนองสําเร็จโทษในฐานปลงพระชนมพระ เจาตะเบ็งชะเวตี้ http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E 0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0 พระเจาบุเรงนอง %B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%8D http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/7/79/%E0%B 8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E 0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87 .jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรมอญ– พุทธศตวรรษที่ 22 อาณาจักรของชนชาติมอญโบราณนั้น เดิมมีอาณาเขตครอบครองดินแดนสวนใหญ ของอาณาจักรสุวรรณภูมิมาตั้งแตสมัย พุทธกาล เมืองสําคัญที่ตั้งอยูบริเวณลุมแมน้ํา อิรวดีไดแกเมือง สะเทิม เมืองแปร เมือง ทาทอง (Thaton) และเมืองพะโค(Pegu หรือ หงสาวดี) หงสาวดี http://www.thaipackagetour.net/userfiles/images/Myanmar/myanmar_01.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เมืองหงสาวดี อันเปนเมืองหลวงเกาของอาณาจักรมอญโบราณ ที่มีอายุเกาแกกวา 400 ป http://www.isnhotnews.com/wp-content/uploads/2009/07/e0b89ee0b8a1e0b988e0b8b2.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 11. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรมอญโบราณนั้นเดิมมีเมืองใหญอยูที่ เมืองละโวหรือลพบุรี (กอน พ.ศ. 1630) และเมืองหริภุญชัยหรือลําพูน ครั้งหนึ่ง มะกะโท ชาวมอญไดเขามา อยูที่เมืองสุโขทัยและพาพระธิดาหนีบกลับไปสรางอาณาจักรมอญ กษัตริยสุโขทัยได พระราชทานนามวา พระเจาฟารั่ว สําหรับ กษัตริยยิ่งใหญของอาณาจักรมอญนั้น คือพระเจาราชาธราราช ครองราชยทเมืองพะโค (เมืองหงสาวดี) ระหวาง พ.ศ. ี่ 1928-1966 พ.ศ. 2083 อาณาจักรมอญไดตกเปนเมืองขึ้นของอาณาจักรพมา โดยการ โจมตีของพระเจาตะเบ็งชะเวตี้แหงราชวงคตองอู ตอมา พ.ศ. 2142 อาณาจักร มอญที่เมืองพะโค ไดเสื่อมโทรมลง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 12. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย พ.ศ 2158 พระเจาตะเบงชะเวตี้ แหงอาณาจักรพมา ไดมีอํานาจและไดยาย เมืองหลวงจากเมืองอังวะ (Ava) มาตั้งแตเมืองพะโคแทน (พมาจึงเรียก เมือง หงสาวดี ) พมามีอํานาจครองเมืองหงสาวดีตอมาถึงสมัยพระเจาบุเรงนอง และ พระเจานันทบุเรง จึงเกิดเหตุการณผลัดแผนดินทําใหอาณาจักรพมาตองยาย กลับไปตั้งราชธานีที่เมืองอังวะอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นชนชาติมอญในเมืองหงสาวดีไดทําการตอสูเอาเมืองคืน แตสูพมา ไมไดจึงพาครอบครัวหนีเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของกษัตริยอาณาจักรสยาม จํานวนมาก เมื่อครั้งสมเด็จพระนเรศวรราชาธิราชนั้นครอบครัวพระยาเกียน พระ ยารามและชาวมอญเมืองแครงไดพากันขออยูในกรุงศรีอยุธยา พระองคโปรดให ตั้งบานเรือนอยูบริเวณวัดขุนแสน และพระมหาเถรคันฉอง พระเถระที่นับถือของ ชาวมอญ ไดเปนพระราชาคณะอยูที่วัดพระมหาธาตุ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 13. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย พ.ศ. 2298 พระเจาอลองพญากษัตริย พมาไดยกกองทัพเขาทําลายอาณาจักรมอญ ไดทั้งหมด แลวยายเมืองหลวงไปตั้งที่เมือง ยางกุง (Rangoon) คําวา รางกุง นั้นแปลวา สิ้นสุดการแตกแยกกัน http://mblog.manager.co.th/uploads/212/images/ber39.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 14. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 15. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัย ไดมีอํานาจการปกครองดินแดนอันกวางใหญไพศาลมาแลว ในระหวาง พ.ศ.1218 - 1318 โดยประมาณ 100 ป และป พ.ศ.1229 อาณาจักร ศรีวิชัยไดเขามาครอบครองดินแดนแถบเกาะชวา อาณาจักรศรีวิชัยเปนรัฐโบราณแหงหนึ่ง มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต คาบสมุทรภาคใตประเทศไทยตลอดลงไปจนถึงมาเลเซีย สิงคโปร และหมูเกาะตางๆ ของประเทศอินโดนีเซียในปจจุบัน อาณาจักรศรีวิชัยเจริญขึ้นจากการเปนเมืองทาคาขายทางทะเล ศูนยกลางการคา ขายสินคาตางๆ ศรีวิชัยตั้งอยูบนเสนทางการคาโบราณระหวางอินเดียและประเทศ ทางตะวันตกกับประเทศจีน ชาวศรีวิชัยสวนใหญยอมรับนับถือพระพุทธศาสนานิกาย มหายานและมีรูปแบบศิลปกรรมที่ไดรับมาจากอินเดีย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 16. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 17. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ที่ตั้งของอาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรศรีวิชัยตั้งอยูทางตอนใตของประเทศไทยบริเวณคาบสมุทรมลายู ไปจนถึงหมูเกาะชวา หมูเกาะในทะเลจีนใต จนสามารถควบคุมเสนทางการ เดินเรือระหวางอาหรับ เปอรเซีย อินเดียกับจีน และบริเวณชองแคบมะละกา เนื่องจากที่ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายูจึงเปนศูนยกลางการคา ศรีวิชัยจึงเปนแหลงรับอารยธรรมของตางชาติ เชน จีนและอินเดียและ ถายทอดไปยังดินแดนแหงอื่น พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 18. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ศูนยกลางของอาณาจักรศรีวิชัย สันนิษฐานวาอาจตั้งอยูที่เมืองปาเล็มบัง เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียหรือ อยูในดินแดนประเทศไทยที่เมืองนครศรีธรรมราช โดยอางหลักฐานทางดาน โบราณคดีเพราะไดมีการคนพบจารึก 3 หลัก ซึ่งมีเรื่องราวเกี่ยวของกับอาณาจักร ศรีวิชัย ในระหวางพ.ศ.1225-1229 ใกลเมืองปาเล็มบังบนเกาะสุมาตรา และการ ตีความจากจดหมายเหตุของจีนมาสนับสนุน รองศาสตราจารยปรีชา กาญจนาคม นักโบราณคดีกลาวไวในหนังสือโบราณ เบื้องตนวา ศูนยกลางของอาณาจักรศรีวิชัยอาจจะอยูที่เมืองปาเล็มบัง ทางตอนลาง ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย หรืออาจจะอยูบริเวณภาคใตของประเทศไทย จากการคนพบพระบรมธาตุไชยา ที่เมืองไชยา แถบอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งเปนหลักฐานทางสถาปตยกรรมสรางดวยอิฐที่มีความเกาแกในพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 เปนสวนหนึ่งของอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเคยมีความเจริญรุงเรืองทั้งทางดาน การเมืองเศรษฐกิจและศิลปวัฒนธรรม พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 19. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ศิลปกรรมของอาณาจักรศรีวิชัย ศิลปกรรมศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากศิลปะอินเดียสมัยราชวงศคุปตะ และราชวงศปา ละ-เสนะตามลําดับ ศิลปกรรมสวนใหญพบแตรูปเคารพทั้งในพระพุทธศาสนาและ ศาสนาพราหมณ-ฮินดู สวนอาคารโบราณสถานพบนอย ปจจุบันคงเหลือเฉพาะสถูป เจดีย ซึ่งนิยมสรางเปนสถูปหินซอนเปนชั้นๆ ตอนบนเปนสถูปขนาดเล็ก สําหรับบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ สถูปศรีวิชัยไดรับการสืบทอดบนเกาะชวาที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ พระ มหาสถูปเจดียบุโรพุทโธ ศิลปวัตถุที่พบทางภาคใตของไทย คลายของชวา สวนใหญ  นิยมสรางแบบมหายาน ประติมากรรมสวนใหญเปนการปนรูป พระโพธิสัตว- อวโลกิเตศวร องคสําคัญของลัทธินี้ องคที่พบที่ไชยานับวาเปนพุทธปฏิมากรชิ้นเอก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และมีพระพุทธรูปมารวิชัยนาคปรก พบที่วัดเวียง อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 20. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย มหาสถูปเจดียบุโรพุทโธ http://www.nikonianthailand.com/forum/photo/3082101008081015.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 21. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร http://www.osotho.com/upload/cms_orsortor/library/%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8% AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B% E0%B9%8C/%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%84%2044/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%9 E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E 0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A31.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 22. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย พระธาตุไชยา http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-2/no04-06/temple/phraboromthatchaiya.jpg ตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิ
  • 23. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรศรีวิชัยเปนศูนยกลางของศาสนาพุทธนิกาย มหายาน ในบริเวณภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต พระ บรมธาตุไชยา เปนเจดียเหลี่ยมทรงมณฑปและเจดียศรี วิชัยที่วัดแกว ที่เมืองไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี สวนตอนบนของประเทศไทยคือมณฑปเจดียวัดเจ็ด แถวที่สวรรคโลก เจดียในวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัยและ เจดียองคเล็กในวัดพระธาตุหริภุญชัย ลักษณะเจดียเปน ครึ่งวงกลมหรือทรงระฆังตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมเตี้ยๆ มีรูป ชางที่ฐานโดยรอบ ตามความเชื่อของลัทธิลังกาเชื่อวาชาง เปนผูค้ําจุนจักรวาล พระธาตุไชยา http://www.home1click.com/kallbum/uploads/pi cture00/2%20copy_3.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 24. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรลานชาง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 25. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรลานชาง เปนอาณาจักรของชนชาติลาว ซึ่งตั้งอยูในแถบลุม แมน้ําโขง มีอาณาเขตอยูในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย มีความ เจริญรุงเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ดานศิลปะ- วัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการ เคียงคูมาพรอมกันอาณาจักรอื่นๆใกลเคียง ทั้งลานนา สยาม พมา และเขมร อาณาจักรลานชางทั้งสาม ไดมีโอกาสตอนรับกองทัพของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ในพ.ศ.2321-2322 และรวมเขาในพระราชอาณาเขต พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร http://iseehistory.socita.com/images/column_1236779693/Thonburi_resize.jpg
  • 26. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรแหงนี้ไดสถาปนาขึ้นอยางเปนปกแผนมั่งคงอยางแทจริงในป พ.ศ. 1896 สมัยพระเจาฟางุม มีความรุงเรืองสลับกับความรวงโรยตอมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับไดวาเปนยุคทองของอาณาจักรลานชางคือรัชสมัยของพระเจาไชยเชษฐา- ธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจาสุริยวงศาธรรมิกราช(พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอํานาจลงและแตกแยกเปน 3 ราชอาณาจักร และในป พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ไดสูญเสียเอกราชแก ราชอาณาจักรสยามในที่สุด หอพระบาง พิพิธภัณฑเมืองหลวงพระบาง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 27. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ในสมัยพระโพธิสารราชเจาพระองคไดอาราธนาพระบาง ซึ่งเดิมประดิษฐาน อยูที่เมืองเวียงคํา ขึ้นมาประดิษฐานอยูที่เมืองเชียงทองอันเปนนครหลวง เมือง เชียงทอง จึงถูกเรียกวา หลวงพระบาง นับแตนั้น http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/e/e5/Vat_Xieng_Thong_arri%C3%A8re.JPG พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 28. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย นักประวัติศาสตรลาวเชื่อวา ชาวลาวเดิมตั้งถิ่นฐานอยูระหวางแมน้ําฮวงโหกับ แมน้ําแยงซีเกียงแถบมณฑลเสฉวนในประเทศจีนปจจุบัน ตอมาไดถูกจีนรุกราน จึงไดอพยพมาทางตอนใตของเสฉวนจนถึงยูนนาน ซึ่งเรียกอีกอยางหนึ่งวาหนอง แสหรืออาณาจักรนานเจาโดยไดมีความเจริญรุงเรืองและดํารงเอกราชมากวารอย ป (ปจจุบันมีการพิสูจนวาอาณาจักรนานเจาเปนอาณาจักรของชนชาติตาหลี่ ไมใช ของชนชาติไท-ลาว) จนถึงสมัยของขุนบรมราชาธิราช พระองคไดทรงสถาปนาเมืองใหมที่นานอยออยหนู โดยใหชื่อวา "เมืองแถน" หรือ "เมืองกาหลง" (มหาสิลา วีระวงส เชื่อวาคือเมืองแถงหรือเดียนเบียนฟู ในดินแดนสิบสองจุไท ประเทศเวียดนาม เจาฟางุม http://www.louangprabang.net/pic_update/by_user/images/L-Chag05.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 29. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย •อาณาจักรโคตรบูร พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 30. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรโคตรบูร เปนอาณาจักรโบราณทางภาคอีสานของไทย พุทธศตวรรษที่ 11-15 (ระหวาง พ.ศ. 1000- 1500) ครอบคลุมบริเวณ ฝงแมน้ําโขงตั้งแต อุดรธานี หนองคาย เวียงจันทน นครพนม ไป จนถึงอุบลราชธานี นับถือ พุทธศาสนา มีการสราง พระเจดียสําคัญ คือ พระธาตุพนม มีเมืองหลวง คือ มรุกขนคร ซึ่งขึ้นใหมใตเมืองทาแขก บนฝง ซายของแมน้ําโขง พระธาตุพนม http://gotoknow.org/file/santisook/PrathatPhanom.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 31. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย http://www.esanclick.com/onsorn/photo/np-kno05.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 32. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ตํานานอุรังคธาตุกลาวถึงการสรางโบราณสถานสําคัญทางพุทธศาสนานิกาย เถรวาท คือ เจดียพระธาตุพนมที่เมืองนครพนม ในประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 เปนเจดียสถานที่เกาแกที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอายุกวาพันปมาแลว มหาชนเชื่อกันวา ภายในเจดียมีการบรรจุพระบรมธาตุสวนหนาพระอุระของ พระพุทธเจาซึ่งเรียกวา พระอุรังคธาตุ ลวดลายและภาพที่สลักบนแผนอิฐ ประดับรอบพระธาตุเจดียทั้ง 4 ดาน เปนลักษณะศิลปกรรมของตนเอง โดยเฉพาะ http://images.palungjit.com/attachments/4837%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8 %87%E0%B8%84%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8 %A3%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%81-watermark2-jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 33. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เจดียพระธาตุพนมสรางขึ้นโดยชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณ 2 ฝงแมน้ําโขง เปนปูชนียสถานที่รวมศรัทธาของพุทธศาสนิกชนบริเวณลุมแมน้ําโขงและดินแดน ตางๆในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาณาจักรโคตรบูร เสื่อมลงเมื่อถูกอาณาจักรลานชางของลาวนําโดยเจาฟางุม โจมตีและเกิดโรคระบาด เจาฟางุม http://www.louangprabang.net/pic_update/by_user/images/L-Chag05.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 34. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรนามเวียด พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 35. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรนามเวียด พ.ศ. 335 กองทัพจากจีนในสมัยราชวงศฉิน ไดเขาตีดินแดนแหงนี้สําเร็จแลว ถูกรวมเขากับอาณาจักรจีนเปนแควนหนึ่ง ชาวจีนเรียกดินแดนนี้วา "นามเวียด" นับแตนั้นมา แมทัพจากจีนที่นําทัพเขาตีนั้น ชื่อวา "เตรียวตา" (Trieu Da) ได สถาปนาตนเองขึ้นเปนกษัตริย ตั้งราชวงศเตรียวขึ้น เมื่อฮั่นเกาจูโคนราชวงศฉิน กษัตริยเตรียวตา ก็เริ่มแยกอิทธิพลจากจีน และสืบกษัตริยได ๕ พระองค กระทั่ง พ.ศ.432 กองทัพฮั่น ก็สงกําลังเขามาตีนามเวียดสําเร็จ เปนการสิ้นสุดราชวงศ เตรียว พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 36. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย นามเวียด ถูกปกครองโดยราชวงศฮั่นจนถึง พ.ศ. 540 ก็เกิดจลาจล โดยผูนําซึ่งเปนวีรสตรีของชาวเวียดนาม คือสองพี่นอง "ตรึง ตรัก" (Trung Trac) และ "ตรึง นี" (Trung Nhi) เนื่องจากการกดขี่ของทหารจีนที่โหดราย มากไป ทําใหผูนําชาวบานผูหนึ่งที่มาจากครอบครัวซึ่งเปนทหาร คือ "ธี ซัค" (Thi Sach) ปลุกระดมชาวบานขึ้นตอตานขับไลทหารจีนออกไปเสีย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 37. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ตอมา ธีซัคถูกจับกุม และประหารชีวิต ภรรยาจึงชวนนองสาว ตรึงนี รวมปลุก ระดมชาวบาน โดยการตายของธีซัคนั้น ทําใหมีผูคนมารวมอุดมการณมากมาย สามารถตานทัพจีนไดถึงสามป จนไดรับชัยชนะ และไดยายไปตั้งเมืองหลวงแหงห ใมที่เมอลี (Me Lhi) แตในที่สุด ใน พ.ศ.586 ฮั่นก็สงกําลังมาอีก และจบสงคราม ดวยการปดลอมสองพี่นองอยูกลางสนามรบ แตสองพี่นองคูนี้ไมยอมจํานน และได ปลิดชีพตนเองลงเสีย มีการตอตานอํานาจจีนอีก ในป พ.ศ.788 ผูนําการตอตานครั้งนี้ก็ยังคงเปน หญิง "เตรียว ธิ ตริน" (Trieu Thi Trinh) วีรสตรีอีกคนหนึ่งของเวียดนามกับ นองชาย นําทัพออกสูกับจีนอยางไมเกรงกลัว จากทหารชาวบาน 100 กวาคน สามารถขับไลทหารจีนออกจากเมืองได และยังตีเอาดินแดนบางสวนคืนมาไดดวย จนกระทั่งป 791 ก็ตองพายแพใหกับทัพใหญที่บุกเขามา และเตรียวธิตริน ก็ได ปลิดชีพตนเองไมใหศัตรูไดตัวไปอีกเชนกัน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 38. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ความพยายามที่จะปลดแอกจากจีน มีอยูเรื่อยๆ ในสมัยราชวงศสุย ผูนําชื่อ "ลี บัน" (Ly Bon) เปนชนชั้นสูงของนามเวียด แตไมเห็นดวยกับการปกครองที่ โหดราย จึงไดกอกบฎขึ้น ในป 1084 กองทหารของลีบัน ก็ขับไลทหารจีนออกไปได ในหลายๆเมือง และไดรวบรวมเมืองเหลานั้นตั้งเขตปกครองตนเองขึ้น สถาปนา ตนเองเปนกษัตริย นามวา "ลี นาม เดอ" (Ly Nam De) ขึ้นในป 1087 เปนตน ราชวงศลี เรียกอาณาจักรใหมนี้วา วานฉวน (Van Xuan) มีหลงเปยน (Long Bien) เปนเมืองหลวง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 39. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ตอมา ป 1088 จักรพรรดิจีน ไดสงกองกําลังเขาปราบปราม ลีบันสูไมได จึง ถอยหนี และไดใหทหารคนสนิทคือ "เตรียว ควง พุก" (Trieu Guang Phuc) นํา ทัพออกตอตาน กระทั่งป 1091 กษัตริยลีบันสิ้นพระชนม เตรียว ควง พุก ขึ้น เปนกษัตริยแทน นามวา "เวียด หวัง" (Viet Vuong) และทําสงครามกับจีนตอ ในราชวงศลี ยังมีกษัตริยสืบตออีกสององค จนในป 1146 ก็ตองพายแพใหกับจีนอีกครั้ง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 40. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรฟูนาน ( Funan ) http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:FunanMap001.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 41. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรฟูนาน ( Funan ) ฟูนานเปนรัฐที่รุงเรืองอยูระหวางคริสตศตวรรษที่ 1-6 ที่ตั้งของรัฐอยูบริเวณลุม แมน้ําโขงตอนลาง ปจจุบันเปนที่ตั้งประเทศกัมพูชา เวียดนามตอนใต ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย บางตอนของลุมแมน้ําเจาพระยา และภาคใตของไทย ลงมาถึงแหลมมลายู ฟูนานรวมตัวกันเปนรัฐแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปน รัฐชลประทานภายในแผนดินที่ประชาชนดํารงชีพดวยการเกษตร โดยใชน้ําจาก ระบบชลประทานที่พัฒนาเปนอยางดี นอกจากนั้น ฟูนานยังมีเมืองทาสําหรับจอด เรือและคาขายตางประเทศ ฟูนาน จึงมีรายไดจากการคาขาย การเดินเรืออีกดวย ศิลปะแบบพนมดา (Phnom Da) ราวพุทธ ศตวรรษที่ 1100 - 1150 (6th Century) discoverythailand.tripod.com/r0031.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 42. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เรื่องราวของรัฐฟูนาน ทราบจากบันทึก ของชาวจีนที่เดินทางมาแถบนี้ ไดเขียนเลาถึง ความมั่งคั่ง ความเปนอยูในชุมชนที่มี ระเบียบ มีคุณธรรม มีการปกครองระบอบ กษัตริย มีเมืองตาง ๆ มาขึ้นดวยหลายเมือง มีวัฒนธรรมแท ๆ ของตนเอง มีการติดตอ กับชาวตางประเทศ ทั้งในทวีปเอเชียดวยกัน และโลกตะวันตก ชาวพื้นเมืองเปนชนชั้นสูง เปนพวกมาลาโยโพลีนเซียน ชนชั้นลางเปน ี พวกเนกริโตและเมลานีเซียน ฟูนานมีประวัติ ความเปนมา เริ่มจากการรวมตัวกันของผูคน 1.เครื่องขัตติยราช 2.ปชนิดตางๆ 3.พานหมาก 4.เงินตราฟูนัน 5. เปนชุมชนเล็กขนาดหมูบาน จากหมูบาน ผอบทองคําลงยา 6.พระธํามรงคทรงมณฑป พัฒนาขึ้นมาเปนรัฐ วิธีการพัฒนาจากสังคม เผาเปนสังคมรัฐมีปจจัยและขั้นตอนหลาย http://www.artgazine.com/shoutouts/userpix/1021_pr a01110852p2_1.jpg ประการ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 43. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย สังคมดั้งเดิมของเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนสังคมเผา (Tribal Society) ตอมาพัฒนาเปนสังคมรัฐ (Social State) เมื่อคริสตศตวรรษที่ 1 เปนตนมา ตัวอยาง คือ ฟูนาน เดิมเปนหมูบาน ตอมาขยายออกไปเพราะมีประชากรเพิ่มมาก ขึ้น จึงตองขยายที่เพาะปลูกใหพอกินพอใชกับจํานวนชุมชนที่ขยายขึ้น ไดพยายาม หาเทคนิควิทยา ( Technology ) มาชวย เชน ขุดคูคลองกั้นน้ํา เพื่อใหอยูดีและมี อาหารพอเพียงตอมาเริ่มมีโครงรางของสังคมดีขึ้น จึงพัฒนามาเปนรัฐ เหตุที่ฟู นานพัฒนาเปนรัฐไดนั้น มีผูแสดงความเห็นไว เชน เคนเนธ อาร ฮอลล กลาววา เปนเพราะฟูนานมีการพัฒนาในเรื่องการเพาะปลูกอยางมาก และที่สําคัญอีก คือ ฟูนานมีเมืองทาที่เปนศูนยกลางการคาทางทะเล พรอมทั้งไดยกขอคิดเห็นของ โอ.ดับบลิว.โวลเดอร (O.W.Wolter) ที่กลาวถึงการพัฒนาการจากสังคม เผาเปนสังคมรัฐวา เปนเพราะลักษณะทางการคา และสภาพภูมิศาสตรเอื้ออํานวย โดยเฉพาะที่เมือง ออกแกว (Oc-EO) ecatalog.treasury.go.th/.../21067-2448.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 44. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เมืองทาของฟูนานที่เรือตาง ๆ ผานมาตองแวะดวย เมืองออกแกวเปนตัวกระตุน ใหเกิดการผลิตเพิ่มขึ้นในดินแดน เพื่อสนองความตองการสินคาของคนที่แวะมา เมืองทา และการชลประทานในฟูนานก็เอื้ออํานวยตอการเพาะปลูกทําใหฟูนาน ขยายตัวเปนรัฐขึ้นมา และเปนรัฐแรกในภูมิภาคนี้ สวนเรื่องการเขามาของชาว อินเดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นาจะเริ่มที่พอคาเขามากอน โดยมาติดตอกับ ผูปกครอง แลวพราหมณจึงตามเขามาทีหลัง และไมเชื่อวา ฟูนานจะกวางใหญถึง ขนาดเปนอาณาจักร (Kingdom) ไดแสดงใหเห็นถึงความผิดพลาดในการใชคําศัพท ทั้งนี้ เพราะสวนใหญขอมูลไดมาจากจีน จีนมองดูบานเมืองในแถบนี้ดวยสายตาของ คนจีน และนําเอาคําศัพทของจีนมาใช เชนเดียวกับชาวตะวันตก ที่ใชคําวา Kingdom” พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 45. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ประวัติของอาณาจักรเขมรไดเริ่มตนขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจาก อาณาจักรชื่อ "ฟูนัน" (Funan) :ซึ่งตั้งอยูทางภาคใต ของแหลมอินโดจีนอาณาจักรฟูนัน (Funan) มีเมืองหลวงตั้งอยูแถบเมืองบาพนม ทางทิศตะวันออกเฉียงใตของประเทศกัมพูชาในปจจุบัน ตอมาไดขยายอาณาเขตไปยังแควนที่ชื่อเจนละ ซึ่งตอมาไดกลายเปนประเทศ กัมพูชานั่นเอง โดยแควนเจนละไดเจริญขึ้นมาแทนอาณา จักรฟูนัน (Funan) ในเวลาตอมา โดยศิลปะเขมรทีไดมมีกาารคนพบประติมมากร ่ รมเริ่มตนจากศิลปะแบบพนมดา ราวพุทธศตวรรษที่ 1100 http://contacshop.tripod.com/panom2255.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 46. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย บริเวณกัมพูชาในปจจุบันเปนที่ตั้งของจักรวรรดิหรือวาอาณาจักรทีชื่อวา ฟูนัน ่ (Funan) ในชวงคริสตศตวรรษที่ 1 และเมื่อถึงคริสตศตวรรษที่ 3 อาณาจักรแหงนี้ ภายใตการนําของ ฟนซีมัน (Fan Shih-man) ไดยึดครองเพื่อนบานและขยาย อิทธิพลอํานาจสูตอนลางของแมน้ําแมโขง และถึงชวงคริสตศตวรรษที่ 4 ตามบันทึก ของจีนระบุวาพราหมณชาวอินเดียไดขยายอํานาจครอบงํารัฐแหงนี้ ทําใหวัฒนธรรม ตางๆ ของอินเดียไดหลั่งไหลมาสูอาณาจักรฟูนันนี้ เชนศาสนาและขนบธรรมเนียม แบบฮินดู กฎหมายอินเดีย รวมทั้งภาษา https://history.myfirstinfo.com/Thaidata/image.asp?ID=1399697 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 47. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรเจนละ http://ubonguide.com/news/images/SatApril2005153458_jenla.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 48. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรเจนละแหงนี้เปนอาณาจักรตั้งอยูทางทิศตะวันตกของอาณาจักหลินยี่ หรือจามปา เดิมนั้นเปนเมืองที่ขึ้นกับอาณาจักรฟูนัน ตอมาในราว พ.ศ. 1097 พระเจาภววรมัน ปฐมกษัตริยเจนละไดทําการโคนอํานาจของพระเจารุทรวรมัน กษัตริยฟูนัน โดยทําการตีเมืองยาธปุระ เมืองหลวงของอาณาจักรฟูนันแตก  โดยตอมาพระเจาจิตรเสน ซึ่งเปนพระอนุชาของพระเจาภววรมันนั้น ไดเขายึด ครองอาณาจักรฟูนันและขึ้นครองราชยทรงพระนามวาพระเจามเหนทรวรมันที่ 1 ซึ่งไดทําการขยายอาณาเขตอาณาจักรเจนละออกไปอยางกวางขวาง สามารถ ครอบครองลุมแมน้ํามูลตอนใต และลุมแมน้ําโขง และทําการตั้ง เมืองเศรษฐปุระ เปนเมืองหลวง อยูที่บริเวณเมืองจําปาศักดิ์ ในประเทศลาว http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/149/23149/images/watphu/DSC_0174.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 49. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย สมัยพระเจาชัยวรมันที่ 1 นั้น อาณาจักรเจนละไดเกิดการแบงแยกออกเปน พวกเจนละบก (เจนละบน) คืออยูลุมน้ําโขงตอนใต และพวกเจนละน้ํา (เจนละ ลาง) อยูในดินแดนลาวตอนกลาง ใน พ.ศ. 1250-1350 สมัยนี้ไดมีการสราง ศิลปะขอมแบบกําพงพระขึ้น ตอมาสมัยพระเจาสัญชัยพวกเจนละน้ําไดถูกชวาเขาตี แตกและมีอํานาจในอาณาจักรแหงนี้ http://www.bloggang.com/data/j/juti/picture/1242972181.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 50. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เมื่ออาณาจักรขอมนั่นลมสลาย ในราว คริสตศตวรรษที่ 8 พระเจาชัยวรมันที่ 2 ไดเสด็จมาจากชวาและทําการรวบรวมพวก เจนละทั้งสองกลุมประกาศอิสรภาพจากอํานาจ ครองของชวา และไดสรางอาณาจักรขอมสมัย เมืองพระนครขึ้น ปราสาทบายน หรือ อังกอรธม ที่สรางขึ้น ในสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ 7 ในป 2000 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 51. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย พระเจาชัยวรมันที่ 2 หรือพระเจาปรเมศวร (พ.ศ. 1345-1397) ไดทําการ รวบรวมพวกเจนละบกและพวกเจนละน้ําเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยรับเอาลัทธิ ไศเลนทรหรือเทวราชาเขามาทําการสถาปนาอาณาจักรใหมขึ้น โดยทําการสรางราชธานี ขึ้นใหมหลายแหงและสรางปราสาทหินหรือเทวาลัย เปนการใหญ ซึ่งมีเหตุกราณยาย ราชธานีขึ้นหลายครั้ง จนในที่สุดก็ลงตัวสรางเปนนครวัดนครธมขึ้น ปราสาทบายน หรือ อังกอรธม ที่ สรางขึ้นในสมัยของพระเจาชัยวรมัน ที่ 7 ในป 2000 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 52. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ดวยเหตุนี้อาณาจักรขอมในสมัยนี้จึงมีความชํานาญในการสรางราชธานีขึ้น หลายแหงและมีการสรางปราสาทหินที่เปนศิลปกรรมขอมขึ้นหลายแบบ กลาวคือ ในสมัยพระเจาชัยวรมันที่ 2 นั้นพระองคไดทําการสรางเมืองอินทะปุระเปนราช ธานี ขึ้นที่บริเวณใกลเมืองกําแพงจามสรางเมืองหริหราลัยหรือรอลวย เปนราชธานี สรางเมืองอมเรนทรปุระ เปนราชธานีและสรางเมืองมเหนทรบรรพตหรือพนมกุ เลนเปนราชธานียุคนี้ไดมีการสรางศิลปะขอมแบบกุเลนขึ้นระหวาง พ.ศ. 1370- 1420 เมื่อสิ้นรัชกาลพระเจาชัยวรมันที่ 2 พระโอรสไดครองราชยเปนกษัตริย ทรงพระ นามวาพระเจาชัยวรมันที่ 3 หรือพระเจาชัยวรมันที่ 3 หรือ พระเจาวิษณุโลก ครองราชยระหวาง พ.ศ. 1393-1520 สมัยนี้พระองคไดกลับมาใชเมืองหริหราลัย หรือรอลอย เปนราชธานีอีกครั้ง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 53. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย นอกจากอาณาจักรขอมจะเคยมีอํานาจครอบครองดินแดนแถบลุมแมน้ํา เจาพระยามากอนแลวโดยมีการตั้งละโวปุระหรือเมืองละโวเปนราชธานีของ อาณาจักรขอมเมืองลพบุรีโดยมีเจาผูครองนครที่รับอํานาจจากอาณาจักรขอมมา ปกครองดูแลแทน ตอมาภายหลังจึงมีการขยายอํานาจไปยังดินแดนพายัพของ ประเทศไทย กลาวคือหัวเมืองฝายเหนือทั้งหมดนั้นเดิมเปนถิ่นที่อยูของชนชาติ อายลาวมากอน http://www.komchadluek.net/media/img/size1/2009/08/04/jfbh5g7babeihac58bjeb.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 54. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ครั้นเมื่อพวกขอมมีอํานาจและขยายอาณาจักรเขามา ครอบครองแดนพายัพ เจาผูครองเมืองละโวจึงไดสง พระนางจามเทวีพระธิดาขึ้นไปครองเมืองหริภุญชัย (เมืองลําพูน) ซึ่งตอมาเปนเมืองลูกหลวงของอาณาจักร ขอมเมืองละโว พระธิดาเจาผูครองเมืองละโวผูนี้ไป ปกครองพวกลาวทั้งปวงในมณฑลพายัพ สวนเมืองหริ ภุญชัย (เมืองลําพูน)จึงมีฐานะเปนเมืองลูกหลวงของ อาณาจักรขอมเมืองละโว ที่ตั้งขึ้นเพื่อใหดูแลบรรดาเมือง ตางๆ ในดินแดนพายัพ ตอมาไดตั้งเมืองนครเขลางค (เมืองลําปาง)ขึ้นอีก http://www.lannamusic.advancewebservice.com เมืองหนึ่งและใหปกครองหัวเมืองฝายเหนือรวมกัน /userimages/Pic_59_1.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 55. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย นครวัดสรางขึ้นในรัชสมัยพระเจา สุริยวรมันที่ 2 ซึ่งครองราชย พ.ศ. 1650-1693 ในขณะนั้นศาสนาพราหมณนิกาย ไวษณพนิกายเปนนิกายที่นับถือ พระวิษณุเปนใหญ http://www.bloggang.com/data/aumteerama/picture/119 0896907.jpg สมัยเมืองพระนคร นับชวงตั้งแตเมืองยโศธรปุระหรือเมืองพระนครเปนราชธานีหลัก ตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ 15 ไปจนสิ้นสุดเมืองพระนครหลวงหรือนครธม (Angkor Thom) สมัยพระเจาชัยวรมันที่ 7 แตอยางไรก็ตามนักโบราณคดีฝรั่งเศสไดจัดใหชวง เริ่มตนสมัยเมืองพระนคร ในสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ 2 กอนการสถาปนาเมืองพระ นคร เนื่องจากศิลปะขอมมีวิวัฒนาการอยางสืบเนื่องเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 56. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย นครธม สรางในปพุทธศตวรรษที่ 18 รัชสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ 7 เปนศิลปะแบบบายน ศาสนาพุทธนิกายมหายาน http://gotoknow.org/file/nirann/preview/%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8 %98%E0%B8%A1.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 57. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เขาพระวิหาร http://www.tourdoi.com/webboard2/board_1/images/1031231-165434-pavihan2.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 58. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย เขาพระวิหาร เปนบริเวณสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนพื้นเมืองสมัยกอน ในกษัตริย ชัยวรมันที่ 2 ไดกําหนดเขตบริเวณนี้และเรียกชื่อวา "ภวาลัย" ภายหลังปรากฏชื่อ ในจารึกภาษาสันสกฤตวา "ศรีศิขรีศวร" หมายความวา "ผูเปนใหญแหงภูเขา อันประเสริฐ" ตั้งอยูบนยอดเขาในเทือกเขาพนมดงรัก ตามแนวเสนกั้นเขตแดน ระหวางประเทศไทยกับกัมพูชา จากหลักฐานตางๆ คาดวาสรางในป พ.ศ.1432-1443 ในสมัยพระเจาสุริยวร มันที่ 1 เพื่อใชเปนสถานที่สักการะตามความเชื่อทางศาสนาพราหมณ โดยสมมติ ใหเปรียบเสมือน "เขาพระสุเมรุ" (ศูนยกลางของจักรวาล) โดยการสรางนั้นก็มี เหตุผลในการรวบรวมอํานาจและความเชื่อของคนในละแวกนั้นเขาดวยกัน เพราะ ในอดีตแถบนั้นมีผูคนหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยูรวมกัน พระเจาสุริยวรมันที่ 1 จึงโปรดใหสรางเขาพระวิหารขึ้น เพื่อเปนจุดยึดเหนี่ยวและศูนยรวมจิตใจของ ชาวบานซึ่งจะทําใหการปกครองงายขึ้นดวย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 59. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรละโว พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 60. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ตามพงศาวดารเหนือ อาณาจักรละโวไดตั้งขึ้นในพุทธศักราช 1002 จุล ศักราช 10 ประกาสัมฤทธิศก พระยากาฬวรรณดิศราชบุตรของพระยากา กะพัตร ไดเสวยราชสมบัติที่เมืองตักศิลามหานคร จึงใหพราหมณทั้งหลาย ยกพลไปสรางเมืองละโว พระปรางคสามยอด http://blog.mthai.com/home/blog_data/963/12963/images/300pxPrangsamyodNS.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 61. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย ขอมูลที่ปรากฏในพงศาวดารเหนือนี้แสดงวาเมืองละโวมีมา ตั้งแตป พ.ศ. 1002 แลว และผลจากการขุดคนทางโบราณคดี ปรากฏวาตั้งแตอําเภอชัยบาดาล ถึงอําเภอพัฒนานิคม จังหวัด ลพบุรี ลวนมีหลักฐานเกี่ยวกับมนุษยในอดีตที่ยาวนานมาแลว ทั้งสิ้น ชุมชนขนาดยอมไดขยายเปนเมืองเล็กๆ จนรวมตัวกันเปน อาณาจักรหรือเขตการปกครองที่เปนสวนยอยของประเทศ ประมาณพุทธศตวรรษที10-12 ละโวก็กลายเปนอาณาจักรหรือ ่ เมืองขนาดใหญแลว และชวงพุทธศตวรรษที13-14 อาณาจักร ่ ละโวมีความเจริญรุงเรืองอยางมากโดยเฉพาะความรุงเรืองทาง พุทธศาสนา พระพุทธรูปศิลปแบบลพบุรี อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 62. ประวัติศาสตร อาณาจักรโบราณในประเทศไทย อาณาจักรละโวเคยเปนเมืองสําคัญของอาณาจักร ทวารวดีมากอน เคยมีความรุงเรืองในทางพุทธศาสนา มาแตโบราณกาล ตํานานมูลศาสนากลาววา พระเจา กรุงละโวไดทรงสงพระนางจามเทวีพระราชธิดาใน พระองคไปครองเมืองหริภุญชัย เพื่อเผยแผ พระพุทธศาสนาในดินแดนภาคเหนือ http://contacshop.tripod.com/tvr2.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร