SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
พระราชบ ัญญ ัติวาด้วยการกระทา
                ่
 ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์
           ่
         พ.ศ.๒๕๕๐


               ต้นฉบ ับโดย

               สุรางคณา วายุภาพ
               ผูอานวยการสาน ักงานเลขานุการ
                 ้
               คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็ กทรอนิกส ์

                    ิ
               ดร.ศวล ักษณ์ โมกษธรรม
               ผูอานวยการเทคโนโลยีความมนคง
                 ้                     ่ั

               ศูนย์เทคโนโลยีอเล็ กทรอนิกส ์
                              ิ
               คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
พ.ต.อ. ญาณพล ยังยืน
                                        ่
                     รองอธิ บดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
                                  กระทรวงยุติธรรม
yanaphon@youngyuen.com    yanaphon@dsi.go.th
Tel. 02-975-9807                  T/F 02-975-9808
การพ ัฒนาพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทา
                        ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์
                                  ่
      • เริมยกร่างกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๔
           ่

      • ผ่านความเห็นชอบจาก สนช. เมือว ันพุธที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๐
                                   ่

      • ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถนายน ๒๕๕๐
                                      ุ

                                                                                                                                         ลงพระปรมาภิไธย
         3 ธค.44 -15 เมย.       5 กค.45                              1 พย.48
               45                                   5                                                        ตงกรรมาธิการ
                                                                                                              ั้
             งานยกร่าง            3                            ครม. เห็นชอบครงที่ 2
                                                                             ั้                                                                   15
             กฎหมาย                             ครม. เห็นชอบ
                                รมว.วว      4     ครงที่ 1
                                                      ั้               7               9       10      11         12    13     9 พค.50
                  1               ส่ง
                                 สลค.       M             S
พระราชบ ัญญ ัติ                                                                8
                                          รมว.ทก                                                                      กรรมาธิการ
                                                          6            คณะอนุกรรมาธิการ
                          2                นาส่ง                                                                      พิจารณาร่าง   14
                                                         สคก.            สภาผูแทนฯ
                                                                               ้
                                           สลค.                                        เสนอ วิปร ัฐบาล             23 พย.49
                  คณะกรรมการ                            ปร ับปรุง    8 ธค.48 - 22
                                                                                                                                สภานิตบ ัญญ ัติ
                                                                                                                                      ิ
                                                                                                                     – 23
                  NITC                                    ร่าง          ธค.48                                                     พิจารณา
                                                                                                    จ ัดเข้าวาระของ เมย.50
                  เห็นชอบ                                                           ครม. เห็นชอบ                                วาระ 2 และ 3
                                                                                                    สภานิตบ ัญญ ัติ
                                                                                                          ิ
                      2 พค.45                        29 กย.46 - 20                    ครงที่ 3
                                                                                          ั้
                                                        เมย.48                                       15 พย.49
                                                                                    31 พค.49
                                                                                                             พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิด
                                                                                                             เกียวก ับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
                                                                                                                ่
  * ปี ๒๕๔๑ ครม. เห็นชอบให้มการดาเนินการ
                            ี
แนวทางในการยกร่างกฎหมาย
  กลุมประเทศ
     ่                      ร่วมลงนาม                    ั
                                                     ให้สตยาบ ัน
    สมาชก  ิ                 ๔๖ ประเทศ                ๑๘ ประเทศ
Council of Europe
   ประเทศซง  ึ่              ๗ ประเทศ                 ๑ ประเทศ
        ่
  ไม่ใชสมาชก    ิ         แคนาดา เม็กซโก ิ           สหรัฐอเมริกา
Council of Europe        สหรัฐอเมริกา ญีปน ่ ุ่
                            มอนเตเนโกร
                             คอสตาริก ้า
                             แอฟริกาใต ้
        รวม                 ๕๓ ประเทศ               ๑๙ ประเทศ

Source : http://conventions.coe.int/ ข้อมูล ณ ว ันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๐
แนวทางในการยกร่างกฎหมาย
    ึ
การศกษาเปรียบเทียบก ับประเทศอืนๆ
                              ่

                                           ์
• Electronic Commerce Act 2000 (ฟิ ลิปปิ นส)

                                  ี
• Computer Crimes Act 1997 (มาเลเซย)

                        ิ
• Computer Misuse Act (สงคโปร์)

• Unauthorized Computer Access Law 2000
  (ญีปน)
     ่ ุ่

• Information Technology Act 2000 (อินเดีย)
สภาพปัญหาของการกระทาความผิด
       เกียวก ับคอมพิวเตอร์
          ่
• ผูกระทาความผิดอยูตรงไหนก็ได้ในโลก
    ้              ่
    ้         ี่ ั ้
• ใชเทคโนโลยีทซบซอนในการกระทาความผิด
• ยากต่อการตรวจพบร่องรอยการกระทาผิด
• ยากต่อการจ ับกุมและนาผูกระทาผิดมาลงโทษ
                         ้
        ี
• ความเสยหายกระทบถึงคนจานวนมาก & รวดเร็ว
• หน่วยงานผูมหน้าที่ ไม่อาจปองก ันได้
            ้ ี             ้
                                   ้
• ทีเกิดเหตุ มีมากกว่า 2 ท้องที่ ขึนไป เสมอ
    ่
การสารวจการกระทาความผิด
   โดย FBI/CSI ปี 2006
ี
ผลการสารวจความเสยหาย
โครงสร้างของกฎหมาย
             ื่
• มาตรา ๑ ชอกฎหมาย
                        ้
• มาตรา ๒ ว ันบ ังค ับใชกฎหมาย
• มาตรา ๓ คานิยาม
• มาตรา ๔ ผูร ักษาการ
                ้

• หมวด ๑ ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ถึง มาตรา ๑๗
                   ่
   ่
(สวนแรก : กระทาต่อคอมพิวเตอร์/ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อ ัน
กระทบต่อความล ับ ความครบถ้วน และสภาพพร้อมใชงานของ้
ระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอร์)
     ่        ้
(สวนทีสอง : ใชคอมพิวเตอร์/ข้อมูลคอมพิวเตอร์กระทา
       ่
ความผิดอืน)
         ่

• หมวด ๒ พน ักงานเจ้าหน้าที่     มาตรา ๑๘ ถึง มาตรา ๓๐
โครงสร้างพ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทาความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
                                            ่


           คานิยาม ม.๓                                            หมวด ๑                                                     หมวด ๒
                                                   ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์
                                                             ่                                                      พน ักงานเจ้าหน้าที่

 ระบบคอมพิวเตอร์
 ข ้อมูลคอมพิวเตอร์
                        กระทาต่อคอมพิวเตอร์                      ้
                                                               ใชคอมพิวเตอร์กระทา                  พน ักงานเจ้าหน้าที่                      ผูให้บริการ
                                                                                                                                              ้
                                                                    ความผิด
 ข ้อมูลจราจรทาง
 คอมพิวเตอร์                                                                                                                              ม.๒๖: เก็บข ้อมูลจราจร
                                                                                           อานาจหน้าที่ (ม.๑๘): (๑) มีหนังสือ/
                                                                                                                                          ๙๐ วันไม่เกิน ๑ ปี
 ผู ้ให ้บริการ           ม.๕: การเข ้าถึงระบบคอมฯ                                         เรียกเพือให ้ถ ้อยคา/เอกสาร (๒) เรียก
                                                                                                   ่
                                                                 ม.๑๑: Spam mail           ข ้อมูลจราจร (๓) สั่งให ้ส่งมอบข ้อมูลทีอยู่
                                                                                                                                   ่
 ผู ้ใช ้บริการ           ม.๖: การล่วงรู ้มาตรการการป้ องกัน     ม.๑๔: การปลอมแปลง         ในครอบครอง (๔) ทาสาเนาข ้อมูล
                                                                                           (๕) สั่งให ้ส่งมอบข ้อมูล/อุปกรณ์              ม.๒๗: ไม่ปฏิบัตตามิ
                          การเข ้าถึง                            ข ้อมูลคอมพิวเตอร์/
 พนักงานเจ ้าหน ้าที่                                                                      (๖) ตรวจสอบ/เข ้าถึง (๗) ถอดรหัสลับ            คาสั่งพนักงานเจ ้าหน ้าที่
                          ม.๗: การเข ้าถึงข ้อมูลคอมฯ            เผยแพร่เนือหาอันไม่
                                                                           ้               (๘) ยึด/อายัดระบบ                              หรือคาสั่งศาล ระวาง
 รัฐมนตรี                                                        เหมาะสม                                                                  โทษปรับ
                          ม.๘: การดักรับข ้อมูลคอมฯ
                                                                 ม.๑๕: ความรับผิดของผู ้   ข้อจาก ัด/การตรวจสอบการใชอานาจ ้
ม.๑๒ บทหนัก               ม.๙: การรบกวนข ้อมูลคอมฯ               ให ้บริการ                (ม.๑๙): ยืนคาร ้องต่อศาลในการใช ้อานาจ
                                                                                                        ่
                                                                                           ตาม ม.๑๘ (๔)-(๘) , ส่งสาเนาบันทึก
                          ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ                 ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพ       รายละเอียดให ้แก่ศาลภายใน ๔๘ ชม.,
                          ม.๑๓: การจาหน่าย/ เผยแพร่              จากการตัดต่อ/ดัดแปลง      ยึด/อายัดห ้ามเกิน ๓๐ วัน ขอขยายได ้อีก
                          ชุดคาสังเพือใช ้กระทาความผิด
                                 ่   ่                                                     ๖๐ วัน (ม.๑๘(๘))

                                                                                           การ block เว็ บไซต์ พนักงานเจ ้าหน ้าทีโดย
                                                                                                                                  ่
                                                                                           ความเห็นชอบของรมว.ทก.ยืนคาร ้องต่อศาล
                                                                                                                    ่
                                                                                           (ม.๒๐)

  มีผลบ ังค ับใชภายหล ังประกาศใช ้ ๓๐ ว ัน (ม.๒)
                ้
                                                                                           ความร ับผิดของพน ักงานเจ้าหน้าที: (ม.
                                                                                                                           ่
                                                                                           ๒๒ ถึง มาตรา ๒๔)
 กระทาความผิดนอกราชอาณาจ ักร ต้องร ับโทษภายในราชอาณาจ ักร์ (ม.๑๗)
                                                                                           พยานหล ักฐานทีได้มาโดยมิชอบ อ ้าง
                                                                                                               ่
                                                                                           และรับฟั งมิได ้ (ม.๒๕)

  การร ับฟังพยานหล ักฐานทีได้มาตาม พ.ร.บ. ฉบ ับนี้ (ม. ๒๕)
                          ่
                                                                                           การแต่งตง/กาหนดคุณสมบ ัติพน ักงาน
                                                                                                       ั้
                                                                                           เจ้าหน้าที/การประสานงาน (ม.๒๘-๒๙)
                                                                                                     ่
หมวด ๑ ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์
                      ่
           ฐานความผิดและบทลงโทษสาหร ับการกระทาโดยมิชอบ

มาตรา ๕        การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
มาตรา ๖        การล่วงรูมาตรการปองก ันการเข้าถึง
                        ้         ้
มาตรา ๗        การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์
มาตรา ๘        การด ักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
มาตรา ๙        การแก้ไข เปลียนแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์
                             ่
มาตรา ๑๐       การรบกวน ข ัดขวาง ระบบคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑๑       สแปมเมล์ (Spam Mail)
มาตรา ๑๒       การกระทาความผิดต่อ ประชาชนโดยทวไป / ความมนคง
                                                   ่ั          ่ั
มาตรา ๑๓                                   ่ั    ้
               การจาหน่าย/เผยแพร่ชุดคาสงเพือใชกระทาความผิด
                                              ่
มาตรา ๑๔                                              ่
               นาเข้า ปลอม/ เท็จ /ภ ัยมนคง /ลามก/ สงต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
                                       ่ั
มาตรา ๑๕       ความร ับผิดของผูให้บริการ
                                ้
มาตรา ๑๖       การเผยแพร่ภาพ ต ัดต่อ/ด ัดแปลง
                             รวม ๑๒ มาตรา
การกระทาความผิดตามมาตราต่างๆ
                             การแอบเข้าถึง     aa
                           ข้อมูลคอมพิวเตอร์
                               มาตรา ๗




การด ักข้อมูลคอมพิวเตอร์
    มาตรา ๘




                                                    แอบเข้าไปในระบบ
                                                    คอมพิวเตอร์ &
                                                    แอบรูมาตรการปองก ัน
                                                         ้        ้
                                                    ระบบคอมพิวเตอร์
 การรบกวน/                                          (ขโมย password)
 แอบแก้ไขข้อมูล                                     มาตรา ๕ และ
 มาตรา ๙                                            มาตรา ๖
                การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์
                     มาตรา ๑๐
ระบบคอมพิวเตอร์
“ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า
 อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ
                ี่ ื่
 คอมพิวเตอร์ทเชอมการทางานเข้า
 ด้วยก ัน โดยได้มการกาหนดคาสง
                       ี        ่ั
          ่ั        ิ่ ่
 ชุดคาสง หรือสงอืนใด และแนวทาง
 ปฏิบ ัติงานให้อปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์
                  ุ
 ทาหน้าทีประมวลผลข้อมูลโดย
             ่
 อ ัตโนม ัติ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า
                      ่ั   ่ั
 ข้อมูล ข้อความ คาสง ชุดคาสง หรือ
   ิ่ ่
 สงอืนใดบรรดาทีอยูในระบบ
                  ่ ่
 คอมพิวเตอร์ในสภาพทีระบบ ่
 คอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้
 หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส ์
 ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทาง
              ์ ้
 อิเล็กทรอนิกสดวย
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”
 หมายความว่า ข้อมูลเกียวก ับการ
                       ่
         ่ื
 ติดต่อสอสารของระบบคอมพิวเตอร์
    ึ่
 ซงแสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง
              ้
 ปลายทาง เสนทาง เวลา ว ันที่ ปริมาณ
 ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออืนๆ ที่
                               ่
                         ื่
 เกียวข้องก ับการติดต่อสอสารของ
       ่
 ระบบคอมพิวเตอร์นน  ั้
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์

   "ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์" หมายความว่า ข้อมูล
                        ื่
   เกียวก ับการติดต่อสอสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซง
       ่                                          ึ่
                                          ้
   แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา
   ว ันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออืนๆ ที่
                                               ่
         ่                 ื่
   เกียวข้องก ับการติดต่อสอสารของระบบคอมพิวเตอร์นน    ั้
       ต ัวอย่างข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ทเปน Caller ID
                                          ี่ ็
04151YT2614407110000390010490010000070000300021512890 053304XXX 0002000

   04 = YTEL                     071100= 7/11/00 วันที่


       1 = Metro                   003900= 00:39 เวลาเริมต ้น
                                                        ่


         5 = YT                                               ิ้
                                            104900=10:49 เวลาสนสุด


               1 = Normal                             100000=10:00:49 ระยะเวลา

                   YT = Normal
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ



มาตรา ๕ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซงระบบ
             ้                   ึ่
คอมพิวเตอร์ทมมาตรการปองก ันการเข้าถึง
               ี่ ี         ้
โดยเฉพาะและมาตรการนนมิได้มไว้สาหร ับตน
                         ั้         ี
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปร ับไม่
เกินหนึงหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ
       ่   ่          ั้      ั้




                                               17
การโจมตี (Cyber Attack)
  Agents
                                              •     Client coordinates attack
                                              •     Victim bandwidth
                                                    is quickly eliminated



                                                       Victim Network
  Agents                      Handler



                                 ISP
                                          Client

 Agent      Distribution           Internet
  (25)      Network A
Handler                    Distribution
           Agent           Network B
            (25)
                                              ISP
           Handler
การเจาะระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ




                                 19
การเผยแพร่มาตรการปองก ัน
                     ้
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (๑)
การเปิ ดเผยมาตรการปองก ันการเข้าถึง
                   ้

มาตรา ๖ ผูใดล่วงรูมาตรการปองก ันการ
           ้        ้               ้
เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ทผอนจ ัดทาขึนเปน
                          ี่ ู ้ ื่       ้ ็
การเฉพาะ ถ้านามาตรการด ังกล่าวไป
เปิ ดเผยโดยมิชอบในประการทีนาจะเกิดความ่ ่
    ี
เสยหายแก่ผอน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
             ู ้ ื่
หนึงปี หรือปร ับไม่เกินสองหมืนบาท หรือทง
      ่                          ่            ั้
จาทงปร ับ
        ั้



                                                   21
การเผยแพร่มาตรการปองก ัน
                     ้
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (๒)
การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
                                 ึ่
มาตรา ๗ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ท ี่
               ้
มีมาตรการปองก ันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนน
             ้                                   ั้
มิได้มไว้สาหร ับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี
      ี
                 ่ี ่
หรือปร ับไม่เกินสหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ
                              ั้    ั้

การพิจารณาฐานความผิด
           ึ่ ็
- การกระทาซงเปนความผิดตาม มาตรา 7 อาจต้องมี
                            ี
การกระทาความผิดตามมาตรา 5 เสยก่อน




                                               23
การขโมยข้อมูลบ ัตรเครดิตของลูกค้า
การด ักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ

มาตรา ๘ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วย
             ้
                        ์ ่
วิธการทางอิเล็ กทรอนิกสเพือด ักร ับไว้ซง
   ี                                     ึ่
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอนทีอยูระหว่างการสงใน
                       ้ ื่ ่ ่                   ่
ระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นนมิได้ม ี
                                            ั้
ไว้เพือประโยชน์สาธารณะหรือเพือให้บคคลทวไปใช ้
      ่                         ่      ุ       ่ั
ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ
ปร ับไม่เกินหกหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ
                 ่           ั้     ั้



        ผูโจมตีระบบ
          ้                 แอบบ ันทึก
                            username &
                            password              25
Wire-Tapping




      Prepared by: Fraud Control Department
             Krungthai Card < KTC >
Wire-tap devices => adapt from voice recorder
Process I = tap at EDC (compromise with merchant)



                               EDC   TEL




         Wire tap ขโมยข้ อมูลบัตรเครดิต
Process I = tap at EDC (compromise with merchant)




                   EDC
             TEL
Process II = tap between telephone’s line




      Device                              HQ Bank




                                 MP3
Wire tap ขโมยข้ อมูลบัตรเครดิต
Decode Method
การแก้ไข ข้อมูลคอมพิวเตอร์

                      ี
มาตรา ๙ ผูใดทาให้เสยหาย ทาลาย แก้ไข
             ้
เปลียนแปลง หรือเพิมเติมไม่วาทงหมดหรือบางสวน
     ่             ่           ่ ั้           ่
  ึ่
ซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอนโดยมิชอบ ต้องระวาง
                          ้ ื่
โทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปร ับไม่เกินหนึงแสนบาท
                                        ่
หรือทงจาทงปร ับ
       ั้ ั้




                                              32
การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์

มาตรา ๑๐ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ
             ้
เพือให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอน
   ่                                     ้ ื่
ถูกระง ับ ชะลอ ข ัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถ
ทางานตามปกติได้
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปร ับไม่เกิน
หนึงแสนบาท หรือทงจาทงปร ับ
   ่             ั้    ั้
เหตุผล การกาหนดฐานความผิดคานึงถึงการก่อให้เกิดการ
ปฏิเสธการให้บริการ (Denial of Service) เปนสาค ัญ
                                         ็




                                                    33
การรุมสอบถามข้อมูลจนระบบล่ม
  (DoS : Denial of Service)
สแปมเมล์ (Spam Mail)
                      ่
     มาตรา ๑๑ ผูใดสงข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ
                  ้
                        ์
จดหมายอิเล็ กทรอนิกสแก่บคคลอืนโดยปกปิ ด
                              ุ ่
หรือปลอมแปลงแหล่งทีมาของการสงข้อมูล
                          ่         ่
ด ังกล่าว อ ันเปนการรบกวนการใชระบบ
                ็                 ้
คอมพิวเตอร์ของบุคคลอืนโดยปกติสข ต้องระวาง
                            ่         ุ
โทษปร ับไม่เกินหนึงแสนบาท
                    ่
การทา Spam Mail
ิ่
ฟิ ชชง (Phishing website/email)
้ ็
เว็บไซต์ทถกเจาะระบบ & ใชเปน
          ี่ ู
เครืองมือในการสร้างเว็บไซต์ปลอม
    ่
ึ่
 การกระทาซงก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมนคง
                                    ่ั

มาตรา ๑๒ ถ ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
                       ี                          ่     ี
(๑) ก่อให ้เกิดความเสยหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสยหายนันจะเกิดขึน
                                                              ้        ้
ในทันทีหรือในภายหลังและไม่วาจะเกิดขึนพร ้อมกันหรือไม่ ต ้องระวางโทษจาคุก
                             ่       ้
           ิ
ไม่เกินสบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
                                                    ี
(๒) เป็ นการกระทาโดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อข ้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ
                               ่
ระบบคอมพิวเตอร์ทเกียวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความ
                    ี่ ่
ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการ
สาธารณะ หรือเป็ นการกระทาต่อข ้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ทมไว ้  ี่ ี
    ่                                           ้         ึ ิ
เพือประโยชน์สาธารณะ ต ้องระวางโทษจาคุกตังแต่สามปี ถงสบห ้าปี และปรับตังแต่    ้
หกหมืนบาทถึงสามแสนบาท
       ่
ถ ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็ นเหตุให ้ผู ้อืนถึงแก่ความตาย ต ้องระวางโทษ
                                              ่
               ิ  ึ ่ ิ
จาคุกตังแต่สบปี ถงยีสบปี
         ้

                     ้         ี
เหตุผล กาหนดโทษหนักขึนตามความเสยหายทีเกิดขึน
                                     ่     ้


                                                                            39
ึ่
 การกระทาซงก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมนคง
                                    ่ั

มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา
๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) ก่อให้เกิดความเสยหายแก่ประชาชน ไม่
                     ี
          ี               ้
ว่าความเสยหายนนจะเกิดขึนในท ันทีหรือใน
                  ั้
                        ้
ภายหล ังและไม่วาจะเกิดขึนพร้อมก ันหรือไม่
                ่
                            ิ
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสบปี และปร ับไม่
เกินสองแสนบาท
เหตุผล กาหนดโทษหน ักขึน้
          ี          ้
ตามความเสยหายทีเกิดขึน
               ่

                                          40
ึ่
 การกระทาซงก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมนคง มาตรา ๑๒ (ต่อ)
                                    ่ั
(๒) เปนการกระทาโดยประการทีนาจะเกิดความ
        ็                               ่ ่
      ี
เสยหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์
ทีเกียวก ับการร ักษาความมนคงปลอดภ ัยของประเทศ
  ่ ่                    ่ั
ความปลอดภ ัยสาธารณะ ความมนคงในทางเศรษฐกิจ
                               ่ั
ของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเปนการ          ็
กระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ท ี่
มีไว้เพือประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุก
          ่
   ั้             ิ
ตงแต่สามปี ถึงสบห้าปี และปร ับตงแต่หกหมืนบาทถึง
                                  ั้          ่
สามแสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เปนเหตุให้ผอนถึงแก่
                                         ็      ู ้ ื่
ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตงแต่สบปี ถึงยีสบปี
                                     ั้     ิ          ่ ิ

                      ้         ี           ้
เหตุผล กาหนดโทษหน ักขึนตามความเสยหายทีเกิดขึน
                                      ่
                                                        41
้   ั
แอบเจาะระบบแก้ไข วงเงินการใชโทรศพท์
การเผยแพร่ขอมูลคอมพิวเตอร์
           ้
   ทีกระทบต่อความมนคง
     ่            ่ั
้ ุ          ่ั
  การใชอปกรณ์/ชุดคาสงในทางมิชอบ
มาตรา ๑๓ ผูใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสง
               ้                             ่ั
  ่       ้             ่      ้ ็
ทีจ ัดทาขึนโดยเฉพาะเพือนาไปใชเปนเครืองมือ
                                      ่
ในการกระทาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖
มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ
มาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึงปี    ่
หรือปร ับไม่เกินสองหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ
                      ่            ั้   ั้
                                                ึ่
เหตุผล จาก ัดเฉพาะกรณีโปรแกรมคอมพิวเตอร์เท่านน ซงแต่
                                             ั้
เดิมรวมถึงฮาร์ดแวร์ (อุปกรณ์) ด้วย




                                                  44
ต ัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทกอให้เกิดความ
                             ี่ ่
     ี
 เสยหายหรืออ ันตรายได้

               ้
• Virus สร้างขึนเพือทาลายระบบและม ักมีการ
                   ่
  แพร่กระจายต ัวได้อย่างรวดเร็ว
• Trojan Horse คือ โปรแกรมทีกาหนดให้ทางานโดย
                               ่
  แฝงอยูก ับโปรแกรมทวไป เพือจุดประสงค์ใด
         ่             ่ั    ่
                 ่   ่
  จุดประสงค์หนึง เชน การขโมยข้อมูล เปนต้น
                                     ็




                                             45
ต ัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทกอให้เกิดความ
                             ี่ ่
     ี
 เสยหายหรืออ ันตรายได้
• Bombs คือ โปรแกรมทีกาหนดให ้ทางานภายใต ้เงือนไขทีกาหนด
                         ่                    ่      ่
         ่
  ขึน เชน Logic Bomb เป็ นโปรแกรมทีกาหนดเงือนไขให ้ทางานเมือ
    ้                              ่       ่               ่
  มีเหตุการณ์หรือเงือนไขใดๆเกิดขึน
                    ่            ้




• Rabbit เป็ นโปรแกรมทีกาหนดขึนเพือให ้สร ้างตัวมันเองซ้าๆ
                        ่        ้     ่
     ่                               ่
  เพือให ้ระบบไม่สามารถทางานได ้ เชน พืนทีหน่วยความจาเต็ม
                                           ้ ่
                          ่        ้     ่             ่ ่
• Sniffer เป็ นโปรแกรมทีกาหนดขึนเพือลักลอบดักข ้อมูลทีสงผ่าน
                                                  ่
  ระบบเครือข่าย ทาให ้ทราบรหัสผ่านของบุคคลหรือสงโอนข ้อมูล
  ผ่านระบบเครือข่าย

                                                          46
้
 การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม
          มาตรา ๑๔ ผู ้ใดกระทาความผิดทีระบุไว ้ดังต่อไปนี้ ต ้อง
                                                           ่
ระวางโทษจาคุกไม่เกินห ้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทัง   ่             ้
จาทังปรับ
        ้
                       ่                        ึ่
          (๑) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่
      ้                          ่
ว่าทังหมดหรือบางสวน หรือข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ นเท็จ โดย        ั
              ่                      ี
ประการทีน่าจะเกิดความเสยหายแก่ผู ้อืนหรือประชาชน         ่
                         ่                         ่ึ
          (๒) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ น        ั
                               ่              ี
เท็จ โดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อความมันคงของ                 ่
ประเทศหรือก่อให ้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน
                                         ่
                           ่                       ่ึ
          (๓) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อัน
เป็ นความผิดเกียวกับความมันคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด
                     ่                 ่
เกียวกับการก่อการร ้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
    ่
                             ่                        ึ่
          (๔) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ทีม ี       ่
ลักษณะอันลามก และข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันประชาชนทัวไปอาจ        ้       ่
เข ้าถึงได ้
                                   ่       ึ่
          (๕) เผยแพร่หรือสงต่อซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู ้อยูแล ้วว่า   ่
เป็ นข ้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)                            47
้
การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม

     มาตรา ๑๔ ผูใดกระทาความผิดทีระบุไว้
                          ้                            ่
ด ังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปร ับ
ไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทงจาทงปร ับ
          ่                   ั้              ั้
                  ่
     (๑) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง               ่ึ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่วาทงหมดหรือบางสวน่ ั้                ่
หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อ ันเปนเท็จ โดยประการที่
                                    ็
                        ี
น่าจะเกิดความเสยหายแก่ผอนหรือประชาชน
                                 ู ้ ื่
                    ่
     (๒) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง                  ่ึ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์อ ันเปนเท็จ โดยประการทีนาจะ
                            ็                            ่ ่
              ี
เกิดความเสยหายต่อความมนคงของประเทศหรือ่ั
ก่อให้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน
                      ่
                                                           48
้
การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม
   มาตรา ๑๔ (ต่อ)
               ่
   (๓) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง ึ่
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อ ันเปนความผิดเกียวก ับ
                            ็          ่
ความมนคงแห่งราชอาณาจ ักรหรือความผิดเกียวก ับ
       ่ั                                 ่
การก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
               ่
   (๔) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง  ่ึ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ทีมล ักษณะอ ันลามก และ
                        ่ ี
ข้อมูลคอมพิวเตอร์นนประชาชนทวไปอาจเข้าถึงได้
                  ั้           ่ั
                      ่
   (๕) เผยแพร่หรือสงต่อซงข้อมูลคอมพิวเตอร์
                           ึ่
โดยรูอยูแล้วว่าเปนข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒)
     ้ ่         ็
(๓) หรือ (๔)                                 49
้
 การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม
          มาตรา ๑๔ ผู ้ใดกระทาความผิดทีระบุไว ้ดังต่อไปนี้ ต ้อง
                                                           ่
ระวางโทษจาคุกไม่เกินห ้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทัง   ่             ้
จาทังปรับ
        ้
                       ่                        ึ่
          (๑) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่
      ้                          ่
ว่าทังหมดหรือบางสวน หรือข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ นเท็จ โดย        ั
              ่                      ี
ประการทีน่าจะเกิดความเสยหายแก่ผู ้อืนหรือประชาชน         ่
                         ่                         ่ึ
          (๒) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ น        ั
                               ่              ี
เท็จ โดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อความมันคงของ                 ่
ประเทศหรือก่อให ้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน
                                         ่
                           ่                       ่ึ
          (๓) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อัน
เป็ นความผิดเกียวกับความมันคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด
                     ่                 ่
เกียวกับการก่อการร ้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
    ่
                             ่                        ึ่
          (๔) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ทีม ี       ่
ลักษณะอันลามก และข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันประชาชนทัวไปอาจ        ้       ่
เข ้าถึงได ้
                                   ่       ึ่
          (๕) เผยแพร่หรือสงต่อซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู ้อยูแล ้วว่า   ่
เป็ นข ้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)                            50
ความแตกต่างของ “ความมนคง” ระหว่างมาตรา ๑๒ และ
                          ่ั
         มาตรา ๑๔ มีองค์ประกอบความผิดต่างก ัน

มาตรา ๑๒ (๒)                             มาตรา ๑๔ (๒) ความมนคงของประเทศ
                                                               ่ั
หากเป็ นการกระทาโดยการรบกวน                         ่
                                         หากนาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์อ ันเปนเท็จ
                                                                         ็
ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ และระบบคอมพิวเตอร์                              ี
                                         โดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อความ
                                                      ่
                ี
ด ้วยการทาให ้เสยหาย ทาลาย แก ้ไข        มั่นคงของประเทศ
เปลียนแปลง หรือเพิมเติมไม่วาทังหมดหรือ
     ่              ่      ่ ้
       ่
บางสวนโดยมิชอบ ทีเกียวกับ
                      ่ ่
                                         มาตรา ๑๔ (๓)
• ความมนคงปลอดภ ัยของประเทศ
          ่ั                                                    ่
                                         - หากเป็ นการนาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ ซง     ึ่
  (ในความหมายทั่วๆ ไป)                   ข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ นความผิดเกียวก ับ
                                                              ั             ่
• ความปลอดภัยสาธารณะ                     ความมนคงแห่งราชอาณาจ ักร ได ้แก่
                                                 ่ั
• ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ                  ความผิดต่อองค์พระมหากษั ตริย, พระราชน,
                                                                       ์         ิ ี
• การบริการสาธารณะ หรือ                  รัชทายาท, ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
• กรณีข ้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ                 ่
                                         เชน การล ้มล ้างรัฐธรรมนูญ/การแบ่งแยก
  ระบบคอมพิวเตอร์มไว ้เพือประโยชน์
                    ี    ่               ราชอาณาจักร/การทาให ้ราชอาณาจักรอยูใต ้
                                                                               ่
  สาธารณะ                                อานาจอธิปไตยของรัฐอืน    ่
                                         - ความผิดเกียวกับการก่อการร้ายตาม
                                                     ่
                                         ประมวลกฎหมายอาญา
ลามก
    ิ่
• สงอันลามก คือ น่าอับอายในทางเพศต่อตา น่าอุจาดบัดส ี
                  ิ่ ่         ิ
  ตรงกันข ้ามกับสงทีเป็ นศลปะอันแสดงถึงความงามและฝี มือของ
       ิ   ิ                              ึ
  ศลปิ น ศลปะหรือลามกพิจารณาตามความรู ้สกของวิญญูชนผู ้
         ่
  มิใชเคร่งต่อจารีตประเพณีโดยไม่ยอมเปลียนแปลงไปตามสมัย
                                        ่
                                     ั          ่
  ของโลก รูปหญิงเปลือยกาย เห็นเด่นชดเฉพาะถัน สวนโยนีถก  ู
  ระบายให ้ลบเลือนเห็นเพียงฐาน แสดงสุขภาพอนามัยของการ
                             ่   ั
  อาบแดด สอนวิธเขียนสวนสดความงามของร่างกาย ไม่น่า
                    ี
                      ี ี่ ิ       ่
  เกลียดอุจาดบัดสทนยมนาไปสูความใคร่ทางกามารมณ์ ไม่เป็ น
  ลามกอนาจาร (ฎีกาที่ ๙๗๘/๒๔๙๒ ฎ.๖๗๕)

                 ่  ั                             ี ิ่
• ภาพสตรีแสดงสวนสดความสมบูรณ์ของร่างกายทีไม่มสงปกปิ ด
                                               ่
    ่
  สวนล่างพยายามปกปิ ดหรือทาเป็ นเพียงเงาๆ ลบเลือนให ้เป็ น
  อวัยวะทีราบเรียบแล ้วไม่มลกษณะน่าเกลียด น่าอุจาดบัดส ี ไม่
          ่                ี ั
  เป็ นภาพลามกตามมาตรานี้ (ฎีกาที่ ๑๒๒๓/๒๕๐๘ ฎ.๑๙๓๖)

Source : กฎหมายอาญา ภาค ๒ ตอน ๑ ศ.จิตติ ติงศภัทย ์
                                               ิ
                   ี
         สานักอบรมศกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
ผูให้บริการ
                           ้


“ผูให้บริการ” หมายความว่า
   ้
                       ุ    ่            ่ ิ
(๑) ผู ้ให ้บริการแก่บคคลอืนในการเข ้าสูอนเทอร์เน็ ต หรือให ้สามารถ
    ติดต่อถึงกันโดยประการอืน โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์
                                 ่
    ทังนี้ ไม่วาจะเป็ นการให ้บริการในนามของตนเอง หรือในนาม
        ้         ่
    หรือเพือประโยชน์ของบุคคลอืน
              ่                     ่
(๒) ผู ้ให ้บริการเก็บรักษาข ้อมูลคอมพิวเตอร์เพือประโยชน์ของ
                                                ่
    บุคคลอืน    ่




                                                                 53
การกาหนดบทลงโทษผูให้บริการ
                 ้


มาตรา ๑๕ ผูให้บริการผูใดจงใจสน ับสนุนหรือ
              ้         ้
ยินยอมให้มการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ใน
          ี
ระบบคอมพิวเตอร์ทอยูในความควบคุมของตน ต้อง
                 ี่ ่
            ่
ระวางโทษเชนเดียวก ับผูกระทาความผิดตามมาตรา
                      ้
๑๔


          ้           ่ ี้ ุ่
เหตุผล ผูให้บริการในทีนมงประสงค์ถง เจ้าของ
                                  ึ
            ึ่
เว็บไซต์ ซงมีการพิจารณาว่า ควรต้องมีหน้าทีลบ
                                          ่
   ้
เนือหาอ ันไม่เหมาะสมด้วย

                                               54
่ึ
การเผยแพร่ภาพซงต ัดต่อในล ักษณะหมินประมาท
                                  ่
                        ้                 ่
มาตรา ๑๖ ผูใดนาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ทประชาชน                           ี่
    ่ั                        ึ่
ทวไปอาจเข้าถึงได้ซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ทปรากฏเปนภาพ                 ี่                  ็
ของผูอน และภาพนนเปนภาพทีเกิดจากการสร้างขึน ต ัดต่อ
            ้ ื่            ั้ ็                      ่                            ้
เติมหรือด ัดแปลงด้วยวิธการทางอิเล็ กทรอนิกสหรือวิธการ
                                        ี                                      ์         ี
อืนใด ทงนี้ โดยประการทีนาจะทาให้ผอนนนเสยชอเสยง
  ่                ั้                       ่ ่           ู ้ ื่ ั้           ี ื่     ี
                                  ั
ถูกดูหมิน ถูกเกลียดชง หรือได้ร ับความอ ับอาย ต้องระวาง
                 ่
โทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปร ับไม่เกินหกหมืนบาท หรือทง                       ่              ั้
จาทงปร ับ
       ั้
ถ้าการกระทาตามวรรคหนึง เปนการนาเข้า            ่  ็
ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผูกระทาไม่มความผิด       ้               ี
ความผิดตามวรรคหนึงเปนความผิดอ ันยอมความได้
                                 ่ ็
          ้ ี
ถ้าผูเสยหายในความผิดตามวรรคหนึงตายเสยก่อนร้อง           ่                 ี
ทุกข์ ให้บดา มารดา คูสมรส หรือบุตรของผูเสยหายร้อง
                      ิ               ่                               ้ ี
ทุกข์ได้ และให้ถอว่าเปนผูเสยหาย
                          ื         ็         ้ ี                                             55
้ี
กระทาความผิดตามพระราชบ ัญญ ัตินนอก
ราชอาณาจ ักร
มาตรา ๑๗ ผูใดกระทาความผิดตาม
                 ้
                     ้ี
  พระราชบ ัญญ ัตินนอกราชอาณาจ ักรและ
(๑) ผูกระทาความผิดนนเปนคนไทย และ
         ้                  ั้ ็
  ร ัฐบาลแห่งประเทศทีความผิดได้เกิดขึน
                          ่              ้
             ้ ี
  หรือผูเสยหายได้รองขอให้ลงโทษ หรือ
                        ้
(๒) ผูกระทาความผิดนนเปนคนต่างด้าว และ
           ้                  ั้ ็
  ร ัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสยหายและ็ ้ ี
     ้ ี
  ผูเสยหายได้รองขอให้ลงโทษ
                   ้
จะต้องร ับโทษภายในราชอาณาจ ักร
บทกาหนดโทษ
                      ฐานความผิด                   โทษจาคุก              โทษปร ับ


มาตรา ๕ เข ้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ              ไม่เกิน ๖ เดือน    ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๖ ล่วงรู ้มาตรการป้ องกัน                   ไม่เกิน ๑ ปี      ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๗ เข ้าถึงข ้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ        ไม่เกิน ๒ ปี      ไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๘ การดักข ้อมูลคอมพิวเตอร์                  ไม่เกิน ๓ ปี      ไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๙ การรบกวนข ้อมูลคอมพิวเตอร์                ไม่เกิน ๕ ปี      ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์                  ไม่เกิน ๕ ปี      ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๑ สแปมเมล์                                     ไม่ม ี        ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๒ การกระทาต่อความมันคง       ่
                ี
(๑) ก่อความเสยหายแก่ข ้อมูลคอมพิวเตอร์            ไม่เกิน ๑๐ ปี    + ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
(๒) กระทบต่อความมันคงปลอดภัยของประเทศ/เศรษฐกิจ
                       ่                         ๓ ปี ถึง ๑๕ ปี    ๖๐,๐๐๐-๓๐๐,๐๐๐ บาท
                             ่        ี ิ
วรรคท ้าย เป็ นเหตุให ้ผู ้อืนถึงแก่ชวต          ๑๐ ปี ถึง ๒๐ ปี             ไม่ม ี

                            ุ   ั่
มาตรา ๑๓ การจาหน่าย/เผยแพร่ชดคาสง                 ไม่เกิน ๑ ปี      ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๔ การเผยแพร่เนือหาอันไม่เหมาะสม
                      ้                           ไม่เกิน ๕ ปี      ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๕ ความรับผิดของ ISP                        ไม่เกิน ๕ ปี      ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพผู ้อืน่                     ไม่เกิน ๓ ปี      ไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท
         ถ ้าสุจริต ไม่มความผิด
                        ี
หมวดที่ ๒ พน ักงานเจ้าหน้าที่
     กาหนดอานาจหน้าทีของพน ักงานเจ้าหน้าทีและหน้าทีของผูให้บริการ
                             ่                                ่          ่   ้
มาตรา ๑๘        อานาจของพนั กงานเจ ้าหน ้าที่
มาตรา ๑๙                                                ้
                ข ้อจากัด/การตรวจสอบการใชอานาจของพนั กงานเจ ้าหน ้าที่
มาตรา ๒๐                 ้
                การใชอานาจในการ block เว็บไซต์ทมเนือหากระทบต่อ    ี่ ี ้
                ความมั่นคงหรือขัดต่อความสงบเรียบร ้อย
มาตรา ๒๑                                           ั่
                การเผยแพร่/จาหน่ายชุดคาสงไม่พงประสงค์           ึ
มาตรา ๒๒        ห ้ามมิให ้พนั กงานเผยแพร่ข ้อมูลทีได ้มาตามมาตรา ๑๘
                                                            ่
มาตรา ๒๓        พนั กงานเจ ้าหน ้าทีประมาทเป็ นเหตุให ้ผู ้อืนล่วงรู ้ข ้อมูล
                                      ่                                ่
มาตรา ๒๔        ความรับผิดของผู ้ล่วงรู ้ข ้อมูลทีพนั กงาน เจ ้าหน ้าทีได ้มา
                                                      ่                    ่
                 ตามมาตรา ๑๘
มาตรา ๒๕        ห ้ามมิให ้รับฟั งพยานหลักฐานทีได ้มาโดยมิชอบ
                                                          ่
มาตรา ๒๖ ถึง ๒๗ หน ้าทีผู ้ให ้บริการในการเก็บข ้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
                       ่
                 และความรับผิด หากไม่ปฏิบตตามหน ้าที่
                                                ั ิ
มาตรา ๒๘        การแต่งตังพนั กงานเจ ้าหน ้าที่
                               ้
มาตรา ๒๙        การรับคาร ้องทุกข์กล่าวโทษ จับ ควบคุม ค ้น & การกาหนด
                 ระเบียบ/แนวทางและวิธปฏิบต ิ  ี  ั
มาตรา ๓๐        การปฏิบตหน ้าทีของพนั กงานเจ ้าหน ้าที่
                            ั ิ     ่
                                        ั้ ิ้
                                 รวมทงสน ๑๓ มาตรา
อานาจของพน ักงานเจ้าหน้าที่

         มาตรา ๑๘ อานาจทัวไปของพนักงานเจ ้าหน ้าที่
                              ่
ทีได ้รับการแต่งตัง แบ่งเป็ น
  ่               ้

                                      ้
๑. อานาจทีดาเนินการได ้โดยไม่ต ้องใชอานาจศาล
             ่
                     ื             ่    ี้
      - มีหนังสอสอบถาม เพือให ้สงคาชแจง ให ้ข ้อมูล
                            ่
      - เรียกข ้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์
          ั่       ่
      - สงให ้สงมอบข ้อมูลตาม ม.๒๖
๒. อานาจทีตองขออนุญาตศาล
               ่ ้
      -ทาสาเนาข ้อมูล
      - เข ้าถึงระบบคอมพิวเตอร์/ข ้อมูลคอมพิวเตอร์
      - ถอดรหัสลับ
      - ยึดอายัดระบบคอมพิวเตอร์
ข้อจาก ัด/การตรวจสอบการใช ้
อานาจของพน ักงานเจ้าหน้าที่
                                   ้
          มาตรา ๑๙ การจากัดการใชอานาจของพนักงาน
               ึ่             ้
เจ ้าหน ้าที่ ซงมีเงือนไขการใชอานาจทัวไปตามมาตรา ๑๘
                     ่               ่


             - การขออนุญาตศาล
                   ่
             - การสงคาร ้องขอศาล
             - ระยะเวลาในการยึด/อายัดระบบคอมพิวเตอร์
               ๓๐ วัน หรือ ๖๐ วัน
การ Block Website
        มาตรา ๒๐ ในกรณีทการกระทาความผิดเป็ นการทาให ้
                        ี่
           ึ่
แพร่หลายซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ท ี่
       1. อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
ตามทีกาหนดไว ้ในภาคสอง ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวล
     ่
กฎหมายอาญา
                                                ี
       2. ทีมลักษณะขัดต่อ ความสงบเรียบร ้อยหรือศลธรรมอันดีของ
              ่ ี
ประชาชน
        พนักงานเจ ้าหน ้าทีโดยได ้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยืน
                           ่                                    ่
คาร ้องพร ้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลทีมเขตอานาจขอให ้มีคาสง
                                          ่ ี                ั่
                             ึ่
ระงับ การทาให ้แพร่หลายซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันได ้
                                               ้
                             ั่                            ึ่
         ในกรณีทศาลมีคาสงให ้ระงับการทาให ้แพร่หลายซงข ้อมูล
                ี่
คอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึง ให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีทาการระงับการทา
                        ่                         ่
                          ั่                                      ึ่
ให ้แพร่หลายนันเอง หรือสงให ้ผู ้ให ้บริการระงับการทาให ้แพร่หลายซง
              ้
ข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันก็ได ้
                    ้
่ั
  ชุดคาสงไม่พงประสงค์
             ึ
        มาตรา ๒๑ ในกรณีทพบว่าข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใดมีชดคาสงไม่พง
                        ี่                          ุ   ั่   ึ
ประสงค์รวมอยูด ้วย
             ่
        พนักงานเจ ้าหน ้าทีอาจยืนคาร ้องต่อศาลทีมเขตอานาจเพือขอให ้
                           ่    ่               ่ ี         ่
                ั่
        1. มีคาสงห ้ามจาหน่ายหรือเผยแพร่
       2. สงให ้เจ ้าของหรือผู ้ครอบครองข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันระงับการใช ้
           ั่                                               ้
ทาลาย หรือแก ้ไขข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันได ้
                                     ้
         3. จะกาหนดเงือนไขในการใช ้ มีไว ้ในครอบครอง หรือเผยแพร่
                      ่
      ั่
ชุดคาสงไม่พงประสงค์ดงกล่าวก็ได ้
             ึ          ั
                    ั่                              ั่ ่ ี
           โดยชุดคาสงไม่พงประสงค์ หมายถึง ชุดคาสงทีมผลทาให ้
                          ึ
                                                  ั่ ่         ี
ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือชุดคาสงอืนเกิดความเสยหาย
ถูกทาลาย ถูกแก ้ไข เปลียนแปลงหรือเพิมเติม ขัดข ้อง หรือปฏิบตงานไม่ตรง
                        ่             ่                    ั ิ
         ั่ ่
ตามคาสงทีกาหนดไว ้ หรือโดยประการอืนตามทีกาหนดในกฎกระทรวง
                                    ่       ่
                            ั่ ่ ุ่                               ั่
         เว ้นแต่เป็ นชุดคาสงทีมงหมายในการป้ องกันหรือแก ้ไขชุดคาสง
ดังกล่าวข ้างต ้น ตามทีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                         ่
ห้ามมิให้พน ักงานเผยแพร่ขอมูล ทีได้มาตาม มาตรา ๑๘
                         ้      ่

          มาตรา ๒๒ ห ้ามมิให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีเปิ ดเผยหรือสงมอบ
                                                 ่            ่
  ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ข ้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูลของ
        ้
  ผู ้ใชบริการ ทีได ้มาตามมาตรา ๑๘ ให ้แก่บคคลใด
                 ่                         ุ
                                ้
          ความในวรรคหนึงมิให ้ใชบังคับกับการกระทา
                       ่
        1. เพือประโยชน์ในการดาเนินคดีกบผู ้กระทาความผิดตาม
              ่                       ั
  พระราชบัญญัตนี้
                ิ
          2. เพือประโยชน์ในการดาเนินคดีกบพนักงานเจ ้าหน ้าที่
                ่                       ั
     ่            ้
  เกียวกับการใชอานาจหน ้าทีโดยมิชอบ
                           ่
                                ั่
          3. เป็ นการกระทาตามคาสงหรือทีได ้รับอนุญาตจากศาล
                                       ่
          พนักงานเจ ้าหน ้าทีผู ้ใดฝ่ าฝื นวรรคหนึงต ้องระวางโทษจาคุก
                             ่                    ่
  ไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมืนบาท หรือทังจาทังปรับ
                                        ่           ้      ้
พน ักงานเจ้าหน้าทีประมาทเปนเหตุให้ผอนล่วงรูขอมูล
                       ่       ็        ู ้ ื่  ้ ้

        มาตรา ๒๓ พนักงานเจ ้าหน ้าทีผู ้ใดกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุ
                                    ่
ให ้ผู ้อืนล่วงรู ้ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ข ้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูล
          ่
             ้
ของผู ้ใชบริการ ทีได ้มาตามมาตรา ๑๘ ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึงปี
                         ่                                                ่
หรือปรับไม่เกินสองหมืนบาท หรือทังจาทังปรับ
                             ่             ้    ้



  ความรับผิดของผู ้ล่วงรู ้ข ้อมูล

        มาตรา ๒๔ ผู ้ใดล่วงรู ้ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ข ้อมูลจราจรทาง
                                 ้
คอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูลของผู ้ใชบริการ ทีพนักงานเจ ้าหน ้าทีได ้มา
                                          ่                  ่
ตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข ้อมูลนันต่อผู ้หนึงผู ้ใด ต ้องระวางโทษ
                                   ้        ่
                                     ี่ ่
จาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสหมืนบาท หรือทังจาทังปรับ
                                                    ้     ้
การร ับฟังพยานหล ักฐาน

       มาตรา ๒๕ ข ้อมูล ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูลจราจร
ทางคอมพิวเตอร์ทพนักงานเจ ้าหน ้าทีได ้มาตามพระราชบัญญัตนี้ ให ้
                     ี่           ่                    ิ
อ ้างและรับฟั งเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัตแห่งประมวล
                                             ิ
กฎหมายวิธพจารณาความอาญาหรือกฎหมายอืนอันว่าด ้วยการ
            ี ิ                            ่
 ื
สบพยานได ้
                           ่ ิ        ้                     ั
        แต่ต ้องเป็ นชนิดทีมได ้เกิดขึนจากการจูงใจ มีคามั่นสญญา
ขูเข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอืน
  ่                                       ่
หน้าทีของผูให้บริการ
          ่    ้
      มาตรา ๒๖ ผูให้บริการต้องเก็บร ักษาข้อมูลจราจรทาง
                 ้
คอมพิวเตอร์ไว้ไม่นอยกว่า เก้าสบว ันน ับแต่ว ันทีขอมูลนนเข้าสู่
                  ้           ิ                 ่ ้   ั้
ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาเปนพน ักงานเจ้าหน้าทีจะสง ให้
                                ็                        ่ ่ั
ผูให้บริการผูใดเก็บร ักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกิน
  ้          ้
     ิ
เก้าสบว ันแต่ไม่เกินหนึงปี เปนกรณีพเศษเฉพาะรายและเฉพาะ
                       ่     ็     ิ
คราวก็ได้
                                             ้ ้
      ผูให้บริการจะต้องเก็บร ักษาข้อมูลของผูใชบริการเท่าที่
        ้
    ็     ่                 ้ ้           ั้     ่ ้
จาเปนเพือให้สามารถระบุต ัวผูใชบริการน ับตงแต่เริมใชบริการ
                      ็        ้          ิ
และต้องเก็บร ักษาไว้เปนเวลาไม่นอยกว่าเก้าสบว ันน ับตงแต่การ
                                                    ั้
  ้       ิ้
ใชบริการสนสุดลง
      ผูให้บริการผูใดไม่ปฏิบ ัติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปร ับ
        ้          ้
ไม่เกินห้าแสนบาท
การแกะรอยข้อมูลเหยือ
                   ่
่ั
 หากฝาฝื นคาสงศาล หรือพน ักงานเจ้าหน้าที่
     ่


     มาตรา ๒๗ ผูใดไม่ปฏิบ ัติตามคาสง
                ้                  ่ั

                            ่ ี่ ่ ั
ของศาลหรือพน ักงานเจ้าหน้าทีทสงตามมาตรา
                                     ่ั
๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไม่ปฏิบ ัติตามคาสง
ของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปร ับ ไม่
เกินสองแสนบาท และปร ับเปนรายว ันอีกไม่เกิน
                        ็
ว ันละห้าพ ันบาทจนกว่าจะปฏิบ ัติให้ถกต้อง
                                    ู
การแต่งตง พน ักงานเจ้าหน้าที่
        ั้


     มาตรา ๒๘ การแต่งตงพน ักงาน
                      ั้
เจ้าหน้าทีตามพระราชบ ัญญ ัติน ี้ ให้ร ัฐมนตรี
          ่
แต่งตงจากผูมความรูและความชานาญเกียวก ับ
     ั้    ้ ี    ้              ่
ระบบคอมพิวเตอร์และมีคณสมบ ัติตามที่
                     ุ
ร ัฐมนตรีกาหนด
การร ับคาร้องทุกข์กล่าวโทษ จ ับ ควบคุม ค้น และ
การกาหนด ระเบียบ/แนวทางและวิธปฏิบ ัติ
                                   ี

        มาตรา ๒๙ ในการปฏิบตหน ้าทีตามพระราชบัญญัตนี้ ให ้
                          ั ิ     ่              ิ
                                                      ั้
พนักงานเจ ้าหน ้าที๋ เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจชนผู ้ใหญ่ตาม
ประมวลกฎหมายวิธพจารณาความอาญา มีอานาจรับคาร ้องทุกข์หรือรับคา
                     ี ิ
                                 ื
กล่าวโทษ และมีอานาจในการสบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตาม
พระราชบัญญัตนี้
              ิ
           ในการจับ ควบคุม ค ้น การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดีผู ้กระทา
ความผิดตามพระราชบัญญัตนี้ บรรดาทีเป็ นอานาจของพนักงานฝ่ ายปกครอง
                            ิ        ่
             ั้
หรือตารวจชนผู ้ใหญ่ หรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธพจารณา
                                                          ี ิ
ความอาญา ให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีประสานงาน กับพนักงานสอบสวน
                                  ่
ผู ้รับผิดชอบเพือดาเนินการตามอานาจหน ้าทีตอไป
                ่                        ่ ่
         ให ้นายกรัฐมนตรีในฐานะผู ้กากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติและ
รัฐมนตรีมอานาจร่วมกันกาหนดระเบียบเกียวกับแนวทางและวิธปฏิบตในการ
          ี                             ่                ี   ั ิ
ดาเนินการตามวรรคสอง
ขอขอบคุณ

 www.etcommission.go.th/
www.wikipedia.nectec.or.th/
    www.thaicert.org/
     www.dsi.go.th
     www.mict.go.th
พ.ต.อ. ญาณพล ยังยืน
                                        ่
                     รองอธิ บดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
                                  กระทรวงยุติธรรม
yanaphon@youngyuen.com    yanaphon@dsi.go.th
Tel. 02-975-9807                  T/F 02-975-9808

More Related Content

What's hot

แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)
แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)
แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)waoram
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบ
แนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบแนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบ
แนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)waoram
 
แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)
แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)
แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)waoram
 
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดบันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดศพส อ.เมืองตาก
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)waoram
 
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
รายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในรายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
รายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในthongtaneethongtanee
 

What's hot (19)

แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ...
 
ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)
แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)
แนวข้อสอบท้องถิ่น 2016 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง จำนวน 156 ข้อ (เล่มที่ 5)
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
 
แนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบ
แนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบแนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบ
แนวข้อสอบรวมทุกตำแหน่ง แนวข้อสอบเก่าเป็นแนวทางในการสอบ
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
 
แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)
แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)
แนวข้อสอบนักทรัพยากรบุคคล สอบท้องถิ่น ปี 2560 (เล่มที่ 10)
 
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดบันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ (เล่มที่ 2)
 
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นชุดสู้ไม่ถอย ก้าวที่ 6 เกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้ท้...
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นชุดสู้ไม่ถอย ก้าวที่ 6 เกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้ท้...แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นชุดสู้ไม่ถอย ก้าวที่ 6 เกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้ท้...
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นชุดสู้ไม่ถอย ก้าวที่ 6 เกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้ท้...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
 
Comp law 2007
Comp law 2007Comp law 2007
Comp law 2007
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547
 
รายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
รายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในรายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
รายงานประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

Install Dev C++
Install Dev C++Install Dev C++
Install Dev C++
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
About
AboutAbout
About
 
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
 
Coup d'état
Coup d'étatCoup d'état
Coup d'état
 
Smedu award
Smedu awardSmedu award
Smedu award
 

More from Chommy Rainy Day (20)

Covid Diary
Covid DiaryCovid Diary
Covid Diary
 
Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
ความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจ
 
รวม 7 เรื่อง
รวม 7 เรื่องรวม 7 เรื่อง
รวม 7 เรื่อง
 
6.2 st
6.2 st6.2 st
6.2 st
 
Flochart 33
Flochart 33Flochart 33
Flochart 33
 
Flochart 22
Flochart 22Flochart 22
Flochart 22
 
Boxx
BoxxBoxx
Boxx
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit13
Unit13Unit13
Unit13
 
Unit11
Unit11Unit11
Unit11
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
Unit7
Unit7Unit7
Unit7
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit12
Unit12Unit12
Unit12
 
1381741909 622573
1381741909 6225731381741909 622573
1381741909 622573
 
About
AboutAbout
About
 

Com law

  • 1. พระราชบ ัญญ ัติวาด้วยการกระทา ่ ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ ่ พ.ศ.๒๕๕๐ ต้นฉบ ับโดย สุรางคณา วายุภาพ ผูอานวยการสาน ักงานเลขานุการ ้ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็ กทรอนิกส ์ ิ ดร.ศวล ักษณ์ โมกษธรรม ผูอานวยการเทคโนโลยีความมนคง ้ ่ั ศูนย์เทคโนโลยีอเล็ กทรอนิกส ์ ิ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
  • 2. พ.ต.อ. ญาณพล ยังยืน ่ รองอธิ บดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม yanaphon@youngyuen.com yanaphon@dsi.go.th Tel. 02-975-9807 T/F 02-975-9808
  • 3. การพ ัฒนาพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทา ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ ่ • เริมยกร่างกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๔ ่ • ผ่านความเห็นชอบจาก สนช. เมือว ันพุธที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ่ • ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถนายน ๒๕๕๐ ุ ลงพระปรมาภิไธย 3 ธค.44 -15 เมย. 5 กค.45 1 พย.48 45 5 ตงกรรมาธิการ ั้ งานยกร่าง 3 ครม. เห็นชอบครงที่ 2 ั้ 15 กฎหมาย ครม. เห็นชอบ รมว.วว 4 ครงที่ 1 ั้ 7 9 10 11 12 13 9 พค.50 1 ส่ง สลค. M S พระราชบ ัญญ ัติ 8 รมว.ทก กรรมาธิการ 6 คณะอนุกรรมาธิการ 2 นาส่ง พิจารณาร่าง 14 สคก. สภาผูแทนฯ ้ สลค. เสนอ วิปร ัฐบาล 23 พย.49 คณะกรรมการ ปร ับปรุง 8 ธค.48 - 22 สภานิตบ ัญญ ัติ ิ – 23 NITC ร่าง ธค.48 พิจารณา จ ัดเข้าวาระของ เมย.50 เห็นชอบ ครม. เห็นชอบ วาระ 2 และ 3 สภานิตบ ัญญ ัติ ิ 2 พค.45 29 กย.46 - 20 ครงที่ 3 ั้ เมย.48 15 พย.49 31 พค.49 พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิด เกียวก ับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ่ * ปี ๒๕๔๑ ครม. เห็นชอบให้มการดาเนินการ ี
  • 4. แนวทางในการยกร่างกฎหมาย กลุมประเทศ ่ ร่วมลงนาม ั ให้สตยาบ ัน สมาชก ิ ๔๖ ประเทศ ๑๘ ประเทศ Council of Europe ประเทศซง ึ่ ๗ ประเทศ ๑ ประเทศ ่ ไม่ใชสมาชก ิ แคนาดา เม็กซโก ิ สหรัฐอเมริกา Council of Europe สหรัฐอเมริกา ญีปน ่ ุ่ มอนเตเนโกร คอสตาริก ้า แอฟริกาใต ้ รวม ๕๓ ประเทศ ๑๙ ประเทศ Source : http://conventions.coe.int/ ข้อมูล ณ ว ันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๐
  • 5. แนวทางในการยกร่างกฎหมาย ึ การศกษาเปรียบเทียบก ับประเทศอืนๆ ่ ์ • Electronic Commerce Act 2000 (ฟิ ลิปปิ นส) ี • Computer Crimes Act 1997 (มาเลเซย) ิ • Computer Misuse Act (สงคโปร์) • Unauthorized Computer Access Law 2000 (ญีปน) ่ ุ่ • Information Technology Act 2000 (อินเดีย)
  • 6. สภาพปัญหาของการกระทาความผิด เกียวก ับคอมพิวเตอร์ ่ • ผูกระทาความผิดอยูตรงไหนก็ได้ในโลก ้ ่ ้ ี่ ั ้ • ใชเทคโนโลยีทซบซอนในการกระทาความผิด • ยากต่อการตรวจพบร่องรอยการกระทาผิด • ยากต่อการจ ับกุมและนาผูกระทาผิดมาลงโทษ ้ ี • ความเสยหายกระทบถึงคนจานวนมาก & รวดเร็ว • หน่วยงานผูมหน้าที่ ไม่อาจปองก ันได้ ้ ี ้ ้ • ทีเกิดเหตุ มีมากกว่า 2 ท้องที่ ขึนไป เสมอ ่
  • 9. โครงสร้างของกฎหมาย ื่ • มาตรา ๑ ชอกฎหมาย ้ • มาตรา ๒ ว ันบ ังค ับใชกฎหมาย • มาตรา ๓ คานิยาม • มาตรา ๔ ผูร ักษาการ ้ • หมวด ๑ ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ถึง มาตรา ๑๗ ่ ่ (สวนแรก : กระทาต่อคอมพิวเตอร์/ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อ ัน กระทบต่อความล ับ ความครบถ้วน และสภาพพร้อมใชงานของ้ ระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอร์) ่ ้ (สวนทีสอง : ใชคอมพิวเตอร์/ข้อมูลคอมพิวเตอร์กระทา ่ ความผิดอืน) ่ • หมวด ๒ พน ักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘ ถึง มาตรา ๓๐
  • 10. โครงสร้างพ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทาความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ่ คานิยาม ม.๓ หมวด ๑ หมวด ๒ ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ ่ พน ักงานเจ้าหน้าที่ ระบบคอมพิวเตอร์ ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ กระทาต่อคอมพิวเตอร์ ้ ใชคอมพิวเตอร์กระทา พน ักงานเจ้าหน้าที่ ผูให้บริการ ้ ความผิด ข ้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ ม.๒๖: เก็บข ้อมูลจราจร อานาจหน้าที่ (ม.๑๘): (๑) มีหนังสือ/ ๙๐ วันไม่เกิน ๑ ปี ผู ้ให ้บริการ ม.๕: การเข ้าถึงระบบคอมฯ เรียกเพือให ้ถ ้อยคา/เอกสาร (๒) เรียก ่ ม.๑๑: Spam mail ข ้อมูลจราจร (๓) สั่งให ้ส่งมอบข ้อมูลทีอยู่ ่ ผู ้ใช ้บริการ ม.๖: การล่วงรู ้มาตรการการป้ องกัน ม.๑๔: การปลอมแปลง ในครอบครอง (๔) ทาสาเนาข ้อมูล (๕) สั่งให ้ส่งมอบข ้อมูล/อุปกรณ์ ม.๒๗: ไม่ปฏิบัตตามิ การเข ้าถึง ข ้อมูลคอมพิวเตอร์/ พนักงานเจ ้าหน ้าที่ (๖) ตรวจสอบ/เข ้าถึง (๗) ถอดรหัสลับ คาสั่งพนักงานเจ ้าหน ้าที่ ม.๗: การเข ้าถึงข ้อมูลคอมฯ เผยแพร่เนือหาอันไม่ ้ (๘) ยึด/อายัดระบบ หรือคาสั่งศาล ระวาง รัฐมนตรี เหมาะสม โทษปรับ ม.๘: การดักรับข ้อมูลคอมฯ ม.๑๕: ความรับผิดของผู ้ ข้อจาก ัด/การตรวจสอบการใชอานาจ ้ ม.๑๒ บทหนัก ม.๙: การรบกวนข ้อมูลคอมฯ ให ้บริการ (ม.๑๙): ยืนคาร ้องต่อศาลในการใช ้อานาจ ่ ตาม ม.๑๘ (๔)-(๘) , ส่งสาเนาบันทึก ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพ รายละเอียดให ้แก่ศาลภายใน ๔๘ ชม., ม.๑๓: การจาหน่าย/ เผยแพร่ จากการตัดต่อ/ดัดแปลง ยึด/อายัดห ้ามเกิน ๓๐ วัน ขอขยายได ้อีก ชุดคาสังเพือใช ้กระทาความผิด ่ ่ ๖๐ วัน (ม.๑๘(๘)) การ block เว็ บไซต์ พนักงานเจ ้าหน ้าทีโดย ่ ความเห็นชอบของรมว.ทก.ยืนคาร ้องต่อศาล ่ (ม.๒๐) มีผลบ ังค ับใชภายหล ังประกาศใช ้ ๓๐ ว ัน (ม.๒) ้ ความร ับผิดของพน ักงานเจ้าหน้าที: (ม. ่ ๒๒ ถึง มาตรา ๒๔) กระทาความผิดนอกราชอาณาจ ักร ต้องร ับโทษภายในราชอาณาจ ักร์ (ม.๑๗) พยานหล ักฐานทีได้มาโดยมิชอบ อ ้าง ่ และรับฟั งมิได ้ (ม.๒๕) การร ับฟังพยานหล ักฐานทีได้มาตาม พ.ร.บ. ฉบ ับนี้ (ม. ๒๕) ่ การแต่งตง/กาหนดคุณสมบ ัติพน ักงาน ั้ เจ้าหน้าที/การประสานงาน (ม.๒๘-๒๙) ่
  • 11. หมวด ๑ ความผิดเกียวก ับคอมพิวเตอร์ ่ ฐานความผิดและบทลงโทษสาหร ับการกระทาโดยมิชอบ มาตรา ๕ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๖ การล่วงรูมาตรการปองก ันการเข้าถึง ้ ้ มาตรา ๗ การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ การด ักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตรา ๙ การแก้ไข เปลียนแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ่ มาตรา ๑๐ การรบกวน ข ัดขวาง ระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ (Spam Mail) มาตรา ๑๒ การกระทาความผิดต่อ ประชาชนโดยทวไป / ความมนคง ่ั ่ั มาตรา ๑๓ ่ั ้ การจาหน่าย/เผยแพร่ชุดคาสงเพือใชกระทาความผิด ่ มาตรา ๑๔ ่ นาเข้า ปลอม/ เท็จ /ภ ัยมนคง /ลามก/ สงต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ่ั มาตรา ๑๕ ความร ับผิดของผูให้บริการ ้ มาตรา ๑๖ การเผยแพร่ภาพ ต ัดต่อ/ด ัดแปลง รวม ๑๒ มาตรา
  • 12. การกระทาความผิดตามมาตราต่างๆ การแอบเข้าถึง aa ข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๗ การด ักข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ แอบเข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์ & แอบรูมาตรการปองก ัน ้ ้ ระบบคอมพิวเตอร์ การรบกวน/ (ขโมย password) แอบแก้ไขข้อมูล มาตรา ๕ และ มาตรา ๙ มาตรา ๖ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐
  • 13. ระบบคอมพิวเตอร์ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ ี่ ื่ คอมพิวเตอร์ทเชอมการทางานเข้า ด้วยก ัน โดยได้มการกาหนดคาสง ี ่ั ่ั ิ่ ่ ชุดคาสง หรือสงอืนใด และแนวทาง ปฏิบ ัติงานให้อปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ ุ ทาหน้าทีประมวลผลข้อมูลโดย ่ อ ัตโนม ัติ
  • 14. ข้อมูลคอมพิวเตอร์ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ่ั ่ั ข้อมูล ข้อความ คาสง ชุดคาสง หรือ ิ่ ่ สงอืนใดบรรดาทีอยูในระบบ ่ ่ คอมพิวเตอร์ในสภาพทีระบบ ่ คอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้ หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส ์ ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทาง ์ ้ อิเล็กทรอนิกสดวย
  • 15. ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกียวก ับการ ่ ่ื ติดต่อสอสารของระบบคอมพิวเตอร์ ึ่ ซงแสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ้ ปลายทาง เสนทาง เวลา ว ันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออืนๆ ที่ ่ ื่ เกียวข้องก ับการติดต่อสอสารของ ่ ระบบคอมพิวเตอร์นน ั้
  • 16. ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ "ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์" หมายความว่า ข้อมูล ื่ เกียวก ับการติดต่อสอสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซง ่ ึ่ ้ แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา ว ันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออืนๆ ที่ ่ ่ ื่ เกียวข้องก ับการติดต่อสอสารของระบบคอมพิวเตอร์นน ั้ ต ัวอย่างข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ทเปน Caller ID ี่ ็ 04151YT2614407110000390010490010000070000300021512890 053304XXX 0002000 04 = YTEL 071100= 7/11/00 วันที่ 1 = Metro 003900= 00:39 เวลาเริมต ้น ่ 5 = YT ิ้ 104900=10:49 เวลาสนสุด 1 = Normal 100000=10:00:49 ระยะเวลา YT = Normal
  • 17. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตรา ๕ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซงระบบ ้ ึ่ คอมพิวเตอร์ทมมาตรการปองก ันการเข้าถึง ี่ ี ้ โดยเฉพาะและมาตรการนนมิได้มไว้สาหร ับตน ั้ ี ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปร ับไม่ เกินหนึงหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ ่ ่ ั้ ั้ 17
  • 18. การโจมตี (Cyber Attack) Agents • Client coordinates attack • Victim bandwidth is quickly eliminated Victim Network Agents Handler ISP Client Agent Distribution Internet (25) Network A Handler Distribution Agent Network B (25) ISP Handler
  • 20. การเผยแพร่มาตรการปองก ัน ้ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (๑)
  • 21. การเปิ ดเผยมาตรการปองก ันการเข้าถึง ้ มาตรา ๖ ผูใดล่วงรูมาตรการปองก ันการ ้ ้ ้ เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ทผอนจ ัดทาขึนเปน ี่ ู ้ ื่ ้ ็ การเฉพาะ ถ้านามาตรการด ังกล่าวไป เปิ ดเผยโดยมิชอบในประการทีนาจะเกิดความ่ ่ ี เสยหายแก่ผอน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ู ้ ื่ หนึงปี หรือปร ับไม่เกินสองหมืนบาท หรือทง ่ ่ ั้ จาทงปร ับ ั้ 21
  • 22. การเผยแพร่มาตรการปองก ัน ้ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (๒)
  • 23. การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ึ่ มาตรา ๗ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ท ี่ ้ มีมาตรการปองก ันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนน ้ ั้ มิได้มไว้สาหร ับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี ี ่ี ่ หรือปร ับไม่เกินสหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ ั้ ั้ การพิจารณาฐานความผิด ึ่ ็ - การกระทาซงเปนความผิดตาม มาตรา 7 อาจต้องมี ี การกระทาความผิดตามมาตรา 5 เสยก่อน 23
  • 25. การด ักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตรา ๘ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วย ้ ์ ่ วิธการทางอิเล็ กทรอนิกสเพือด ักร ับไว้ซง ี ึ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอนทีอยูระหว่างการสงใน ้ ื่ ่ ่ ่ ระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นนมิได้ม ี ั้ ไว้เพือประโยชน์สาธารณะหรือเพือให้บคคลทวไปใช ้ ่ ่ ุ ่ั ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ ปร ับไม่เกินหกหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ ่ ั้ ั้ ผูโจมตีระบบ ้ แอบบ ันทึก username & password 25
  • 26. Wire-Tapping Prepared by: Fraud Control Department Krungthai Card < KTC >
  • 27. Wire-tap devices => adapt from voice recorder
  • 28. Process I = tap at EDC (compromise with merchant) EDC TEL Wire tap ขโมยข้ อมูลบัตรเครดิต
  • 29. Process I = tap at EDC (compromise with merchant) EDC TEL
  • 30. Process II = tap between telephone’s line Device HQ Bank MP3 Wire tap ขโมยข้ อมูลบัตรเครดิต
  • 32. การแก้ไข ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ี มาตรา ๙ ผูใดทาให้เสยหาย ทาลาย แก้ไข ้ เปลียนแปลง หรือเพิมเติมไม่วาทงหมดหรือบางสวน ่ ่ ่ ั้ ่ ึ่ ซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอนโดยมิชอบ ต้องระวาง ้ ื่ โทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปร ับไม่เกินหนึงแสนบาท ่ หรือทงจาทงปร ับ ั้ ั้ 32
  • 33. การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ ้ เพือให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอน ่ ้ ื่ ถูกระง ับ ชะลอ ข ัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถ ทางานตามปกติได้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปร ับไม่เกิน หนึงแสนบาท หรือทงจาทงปร ับ ่ ั้ ั้ เหตุผล การกาหนดฐานความผิดคานึงถึงการก่อให้เกิดการ ปฏิเสธการให้บริการ (Denial of Service) เปนสาค ัญ ็ 33
  • 35. สแปมเมล์ (Spam Mail) ่ มาตรา ๑๑ ผูใดสงข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ ้ ์ จดหมายอิเล็ กทรอนิกสแก่บคคลอืนโดยปกปิ ด ุ ่ หรือปลอมแปลงแหล่งทีมาของการสงข้อมูล ่ ่ ด ังกล่าว อ ันเปนการรบกวนการใชระบบ ็ ้ คอมพิวเตอร์ของบุคคลอืนโดยปกติสข ต้องระวาง ่ ุ โทษปร ับไม่เกินหนึงแสนบาท ่
  • 38. ้ ็ เว็บไซต์ทถกเจาะระบบ & ใชเปน ี่ ู เครืองมือในการสร้างเว็บไซต์ปลอม ่
  • 39. ึ่ การกระทาซงก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมนคง ่ั มาตรา ๑๒ ถ ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ ี ่ ี (๑) ก่อให ้เกิดความเสยหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสยหายนันจะเกิดขึน ้ ้ ในทันทีหรือในภายหลังและไม่วาจะเกิดขึนพร ้อมกันหรือไม่ ต ้องระวางโทษจาคุก ่ ้ ิ ไม่เกินสบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท ี (๒) เป็ นการกระทาโดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อข ้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ ่ ระบบคอมพิวเตอร์ทเกียวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความ ี่ ่ ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการ สาธารณะ หรือเป็ นการกระทาต่อข ้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ทมไว ้ ี่ ี ่ ้ ึ ิ เพือประโยชน์สาธารณะ ต ้องระวางโทษจาคุกตังแต่สามปี ถงสบห ้าปี และปรับตังแต่ ้ หกหมืนบาทถึงสามแสนบาท ่ ถ ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็ นเหตุให ้ผู ้อืนถึงแก่ความตาย ต ้องระวางโทษ ่ ิ ึ ่ ิ จาคุกตังแต่สบปี ถงยีสบปี ้ ้ ี เหตุผล กาหนดโทษหนักขึนตามความเสยหายทีเกิดขึน ่ ้ 39
  • 40. ึ่ การกระทาซงก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมนคง ่ั มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) ก่อให้เกิดความเสยหายแก่ประชาชน ไม่ ี ี ้ ว่าความเสยหายนนจะเกิดขึนในท ันทีหรือใน ั้ ้ ภายหล ังและไม่วาจะเกิดขึนพร้อมก ันหรือไม่ ่ ิ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสบปี และปร ับไม่ เกินสองแสนบาท เหตุผล กาหนดโทษหน ักขึน้ ี ้ ตามความเสยหายทีเกิดขึน ่ 40
  • 41. ึ่ การกระทาซงก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมนคง มาตรา ๑๒ (ต่อ) ่ั (๒) เปนการกระทาโดยประการทีนาจะเกิดความ ็ ่ ่ ี เสยหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ ทีเกียวก ับการร ักษาความมนคงปลอดภ ัยของประเทศ ่ ่ ่ั ความปลอดภ ัยสาธารณะ ความมนคงในทางเศรษฐกิจ ่ั ของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเปนการ ็ กระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ท ี่ มีไว้เพือประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุก ่ ั้ ิ ตงแต่สามปี ถึงสบห้าปี และปร ับตงแต่หกหมืนบาทถึง ั้ ่ สามแสนบาท ถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เปนเหตุให้ผอนถึงแก่ ็ ู ้ ื่ ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตงแต่สบปี ถึงยีสบปี ั้ ิ ่ ิ ้ ี ้ เหตุผล กาหนดโทษหน ักขึนตามความเสยหายทีเกิดขึน ่ 41
  • 42. ั แอบเจาะระบบแก้ไข วงเงินการใชโทรศพท์
  • 43. การเผยแพร่ขอมูลคอมพิวเตอร์ ้ ทีกระทบต่อความมนคง ่ ่ั
  • 44. ้ ุ ่ั การใชอปกรณ์/ชุดคาสงในทางมิชอบ มาตรา ๑๓ ผูใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสง ้ ่ั ่ ้ ่ ้ ็ ทีจ ัดทาขึนโดยเฉพาะเพือนาไปใชเปนเครืองมือ ่ ในการกระทาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ มาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึงปี ่ หรือปร ับไม่เกินสองหมืนบาท หรือทงจาทงปร ับ ่ ั้ ั้ ึ่ เหตุผล จาก ัดเฉพาะกรณีโปรแกรมคอมพิวเตอร์เท่านน ซงแต่ ั้ เดิมรวมถึงฮาร์ดแวร์ (อุปกรณ์) ด้วย 44
  • 45. ต ัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทกอให้เกิดความ ี่ ่ ี เสยหายหรืออ ันตรายได้ ้ • Virus สร้างขึนเพือทาลายระบบและม ักมีการ ่ แพร่กระจายต ัวได้อย่างรวดเร็ว • Trojan Horse คือ โปรแกรมทีกาหนดให้ทางานโดย ่ แฝงอยูก ับโปรแกรมทวไป เพือจุดประสงค์ใด ่ ่ั ่ ่ ่ จุดประสงค์หนึง เชน การขโมยข้อมูล เปนต้น ็ 45
  • 46. ต ัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทกอให้เกิดความ ี่ ่ ี เสยหายหรืออ ันตรายได้ • Bombs คือ โปรแกรมทีกาหนดให ้ทางานภายใต ้เงือนไขทีกาหนด ่ ่ ่ ่ ขึน เชน Logic Bomb เป็ นโปรแกรมทีกาหนดเงือนไขให ้ทางานเมือ ้ ่ ่ ่ มีเหตุการณ์หรือเงือนไขใดๆเกิดขึน ่ ้ • Rabbit เป็ นโปรแกรมทีกาหนดขึนเพือให ้สร ้างตัวมันเองซ้าๆ ่ ้ ่ ่ ่ เพือให ้ระบบไม่สามารถทางานได ้ เชน พืนทีหน่วยความจาเต็ม ้ ่ ่ ้ ่ ่ ่ • Sniffer เป็ นโปรแกรมทีกาหนดขึนเพือลักลอบดักข ้อมูลทีสงผ่าน ่ ระบบเครือข่าย ทาให ้ทราบรหัสผ่านของบุคคลหรือสงโอนข ้อมูล ผ่านระบบเครือข่าย 46
  • 47. ้ การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม มาตรา ๑๔ ผู ้ใดกระทาความผิดทีระบุไว ้ดังต่อไปนี้ ต ้อง ่ ระวางโทษจาคุกไม่เกินห ้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทัง ่ ้ จาทังปรับ ้ ่ ึ่ (๑) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ ้ ่ ว่าทังหมดหรือบางสวน หรือข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ นเท็จ โดย ั ่ ี ประการทีน่าจะเกิดความเสยหายแก่ผู ้อืนหรือประชาชน ่ ่ ่ึ (๒) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ น ั ่ ี เท็จ โดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อความมันคงของ ่ ประเทศหรือก่อให ้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน ่ ่ ่ึ (๓) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อัน เป็ นความผิดเกียวกับความมันคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด ่ ่ เกียวกับการก่อการร ้ายตามประมวลกฎหมายอาญา ่ ่ ึ่ (๔) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ทีม ี ่ ลักษณะอันลามก และข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันประชาชนทัวไปอาจ ้ ่ เข ้าถึงได ้ ่ ึ่ (๕) เผยแพร่หรือสงต่อซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู ้อยูแล ้วว่า ่ เป็ นข ้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) 47
  • 48. ้ การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม มาตรา ๑๔ ผูใดกระทาความผิดทีระบุไว้ ้ ่ ด ังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปร ับ ไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทงจาทงปร ับ ่ ั้ ั้ ่ (๑) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง ่ึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่วาทงหมดหรือบางสวน่ ั้ ่ หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อ ันเปนเท็จ โดยประการที่ ็ ี น่าจะเกิดความเสยหายแก่ผอนหรือประชาชน ู ้ ื่ ่ (๒) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง ่ึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์อ ันเปนเท็จ โดยประการทีนาจะ ็ ่ ่ ี เกิดความเสยหายต่อความมนคงของประเทศหรือ่ั ก่อให้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน ่ 48
  • 49. ้ การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม มาตรา ๑๔ (ต่อ) ่ (๓) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง ึ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อ ันเปนความผิดเกียวก ับ ็ ่ ความมนคงแห่งราชอาณาจ ักรหรือความผิดเกียวก ับ ่ั ่ การก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา ่ (๔) นาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซง ่ึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ทีมล ักษณะอ ันลามก และ ่ ี ข้อมูลคอมพิวเตอร์นนประชาชนทวไปอาจเข้าถึงได้ ั้ ่ั ่ (๕) เผยแพร่หรือสงต่อซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ึ่ โดยรูอยูแล้วว่าเปนข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) ้ ่ ็ (๓) หรือ (๔) 49
  • 50. ้ การนาเข้า/เผยแพร่เนือหาอ ันไม่เหมาะสม มาตรา ๑๔ ผู ้ใดกระทาความผิดทีระบุไว ้ดังต่อไปนี้ ต ้อง ่ ระวางโทษจาคุกไม่เกินห ้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทัง ่ ้ จาทังปรับ ้ ่ ึ่ (๑) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ ้ ่ ว่าทังหมดหรือบางสวน หรือข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ นเท็จ โดย ั ่ ี ประการทีน่าจะเกิดความเสยหายแก่ผู ้อืนหรือประชาชน ่ ่ ่ึ (๒) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ น ั ่ ี เท็จ โดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อความมันคงของ ่ ประเทศหรือก่อให ้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน ่ ่ ่ึ (๓) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อัน เป็ นความผิดเกียวกับความมันคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด ่ ่ เกียวกับการก่อการร ้ายตามประมวลกฎหมายอาญา ่ ่ ึ่ (๔) นาเข ้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ทีม ี ่ ลักษณะอันลามก และข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันประชาชนทัวไปอาจ ้ ่ เข ้าถึงได ้ ่ ึ่ (๕) เผยแพร่หรือสงต่อซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู ้อยูแล ้วว่า ่ เป็ นข ้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) 50
  • 51. ความแตกต่างของ “ความมนคง” ระหว่างมาตรา ๑๒ และ ่ั มาตรา ๑๔ มีองค์ประกอบความผิดต่างก ัน มาตรา ๑๒ (๒) มาตรา ๑๔ (๒) ความมนคงของประเทศ ่ั หากเป็ นการกระทาโดยการรบกวน ่ หากนาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์อ ันเปนเท็จ ็ ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ และระบบคอมพิวเตอร์ ี โดยประการทีน่าจะเกิดความเสยหายต่อความ ่ ี ด ้วยการทาให ้เสยหาย ทาลาย แก ้ไข มั่นคงของประเทศ เปลียนแปลง หรือเพิมเติมไม่วาทังหมดหรือ ่ ่ ่ ้ ่ บางสวนโดยมิชอบ ทีเกียวกับ ่ ่ มาตรา ๑๔ (๓) • ความมนคงปลอดภ ัยของประเทศ ่ั ่ - หากเป็ นการนาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ ซง ึ่ (ในความหมายทั่วๆ ไป) ข ้อมูลคอมพิวเตอร์อนเป็ นความผิดเกียวก ับ ั ่ • ความปลอดภัยสาธารณะ ความมนคงแห่งราชอาณาจ ักร ได ้แก่ ่ั • ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความผิดต่อองค์พระมหากษั ตริย, พระราชน, ์ ิ ี • การบริการสาธารณะ หรือ รัชทายาท, ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร • กรณีข ้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ ่ เชน การล ้มล ้างรัฐธรรมนูญ/การแบ่งแยก ระบบคอมพิวเตอร์มไว ้เพือประโยชน์ ี ่ ราชอาณาจักร/การทาให ้ราชอาณาจักรอยูใต ้ ่ สาธารณะ อานาจอธิปไตยของรัฐอืน ่ - ความผิดเกียวกับการก่อการร้ายตาม ่ ประมวลกฎหมายอาญา
  • 52. ลามก ิ่ • สงอันลามก คือ น่าอับอายในทางเพศต่อตา น่าอุจาดบัดส ี ิ่ ่ ิ ตรงกันข ้ามกับสงทีเป็ นศลปะอันแสดงถึงความงามและฝี มือของ ิ ิ ึ ศลปิ น ศลปะหรือลามกพิจารณาตามความรู ้สกของวิญญูชนผู ้ ่ มิใชเคร่งต่อจารีตประเพณีโดยไม่ยอมเปลียนแปลงไปตามสมัย ่ ั ่ ของโลก รูปหญิงเปลือยกาย เห็นเด่นชดเฉพาะถัน สวนโยนีถก ู ระบายให ้ลบเลือนเห็นเพียงฐาน แสดงสุขภาพอนามัยของการ ่ ั อาบแดด สอนวิธเขียนสวนสดความงามของร่างกาย ไม่น่า ี ี ี่ ิ ่ เกลียดอุจาดบัดสทนยมนาไปสูความใคร่ทางกามารมณ์ ไม่เป็ น ลามกอนาจาร (ฎีกาที่ ๙๗๘/๒๔๙๒ ฎ.๖๗๕) ่ ั ี ิ่ • ภาพสตรีแสดงสวนสดความสมบูรณ์ของร่างกายทีไม่มสงปกปิ ด ่ ่ สวนล่างพยายามปกปิ ดหรือทาเป็ นเพียงเงาๆ ลบเลือนให ้เป็ น อวัยวะทีราบเรียบแล ้วไม่มลกษณะน่าเกลียด น่าอุจาดบัดส ี ไม่ ่ ี ั เป็ นภาพลามกตามมาตรานี้ (ฎีกาที่ ๑๒๒๓/๒๕๐๘ ฎ.๑๙๓๖) Source : กฎหมายอาญา ภาค ๒ ตอน ๑ ศ.จิตติ ติงศภัทย ์ ิ ี สานักอบรมศกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
  • 53. ผูให้บริการ ้ “ผูให้บริการ” หมายความว่า ้ ุ ่ ่ ิ (๑) ผู ้ให ้บริการแก่บคคลอืนในการเข ้าสูอนเทอร์เน็ ต หรือให ้สามารถ ติดต่อถึงกันโดยประการอืน โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ่ ทังนี้ ไม่วาจะเป็ นการให ้บริการในนามของตนเอง หรือในนาม ้ ่ หรือเพือประโยชน์ของบุคคลอืน ่ ่ (๒) ผู ้ให ้บริการเก็บรักษาข ้อมูลคอมพิวเตอร์เพือประโยชน์ของ ่ บุคคลอืน ่ 53
  • 54. การกาหนดบทลงโทษผูให้บริการ ้ มาตรา ๑๕ ผูให้บริการผูใดจงใจสน ับสนุนหรือ ้ ้ ยินยอมให้มการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ใน ี ระบบคอมพิวเตอร์ทอยูในความควบคุมของตน ต้อง ี่ ่ ่ ระวางโทษเชนเดียวก ับผูกระทาความผิดตามมาตรา ้ ๑๔ ้ ่ ี้ ุ่ เหตุผล ผูให้บริการในทีนมงประสงค์ถง เจ้าของ ึ ึ่ เว็บไซต์ ซงมีการพิจารณาว่า ควรต้องมีหน้าทีลบ ่ ้ เนือหาอ ันไม่เหมาะสมด้วย 54
  • 55. ่ึ การเผยแพร่ภาพซงต ัดต่อในล ักษณะหมินประมาท ่ ้ ่ มาตรา ๑๖ ผูใดนาเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ทประชาชน ี่ ่ั ึ่ ทวไปอาจเข้าถึงได้ซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ทปรากฏเปนภาพ ี่ ็ ของผูอน และภาพนนเปนภาพทีเกิดจากการสร้างขึน ต ัดต่อ ้ ื่ ั้ ็ ่ ้ เติมหรือด ัดแปลงด้วยวิธการทางอิเล็ กทรอนิกสหรือวิธการ ี ์ ี อืนใด ทงนี้ โดยประการทีนาจะทาให้ผอนนนเสยชอเสยง ่ ั้ ่ ่ ู ้ ื่ ั้ ี ื่ ี ั ถูกดูหมิน ถูกเกลียดชง หรือได้ร ับความอ ับอาย ต้องระวาง ่ โทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปร ับไม่เกินหกหมืนบาท หรือทง ่ ั้ จาทงปร ับ ั้ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึง เปนการนาเข้า ่ ็ ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผูกระทาไม่มความผิด ้ ี ความผิดตามวรรคหนึงเปนความผิดอ ันยอมความได้ ่ ็ ้ ี ถ้าผูเสยหายในความผิดตามวรรคหนึงตายเสยก่อนร้อง ่ ี ทุกข์ ให้บดา มารดา คูสมรส หรือบุตรของผูเสยหายร้อง ิ ่ ้ ี ทุกข์ได้ และให้ถอว่าเปนผูเสยหาย ื ็ ้ ี 55
  • 56. ้ี กระทาความผิดตามพระราชบ ัญญ ัตินนอก ราชอาณาจ ักร มาตรา ๑๗ ผูใดกระทาความผิดตาม ้ ้ี พระราชบ ัญญ ัตินนอกราชอาณาจ ักรและ (๑) ผูกระทาความผิดนนเปนคนไทย และ ้ ั้ ็ ร ัฐบาลแห่งประเทศทีความผิดได้เกิดขึน ่ ้ ้ ี หรือผูเสยหายได้รองขอให้ลงโทษ หรือ ้ (๒) ผูกระทาความผิดนนเปนคนต่างด้าว และ ้ ั้ ็ ร ัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสยหายและ็ ้ ี ้ ี ผูเสยหายได้รองขอให้ลงโทษ ้ จะต้องร ับโทษภายในราชอาณาจ ักร
  • 57. บทกาหนดโทษ ฐานความผิด โทษจาคุก โทษปร ับ มาตรา ๕ เข ้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน ๖ เดือน ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๖ ล่วงรู ้มาตรการป้ องกัน ไม่เกิน ๑ ปี ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๗ เข ้าถึงข ้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน ๒ ปี ไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๘ การดักข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน ๓ ปี ไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๙ การรบกวนข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน ๕ ปี ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน ๕ ปี ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ ไม่ม ี ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๒ การกระทาต่อความมันคง ่ ี (๑) ก่อความเสยหายแก่ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน ๑๐ ปี + ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท (๒) กระทบต่อความมันคงปลอดภัยของประเทศ/เศรษฐกิจ ่ ๓ ปี ถึง ๑๕ ปี ๖๐,๐๐๐-๓๐๐,๐๐๐ บาท ่ ี ิ วรรคท ้าย เป็ นเหตุให ้ผู ้อืนถึงแก่ชวต ๑๐ ปี ถึง ๒๐ ปี ไม่ม ี ุ ั่ มาตรา ๑๓ การจาหน่าย/เผยแพร่ชดคาสง ไม่เกิน ๑ ปี ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๔ การเผยแพร่เนือหาอันไม่เหมาะสม ้ ไม่เกิน ๕ ปี ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๕ ความรับผิดของ ISP ไม่เกิน ๕ ปี ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพผู ้อืน่ ไม่เกิน ๓ ปี ไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท ถ ้าสุจริต ไม่มความผิด ี
  • 58. หมวดที่ ๒ พน ักงานเจ้าหน้าที่ กาหนดอานาจหน้าทีของพน ักงานเจ้าหน้าทีและหน้าทีของผูให้บริการ ่ ่ ่ ้ มาตรา ๑๘ อานาจของพนั กงานเจ ้าหน ้าที่ มาตรา ๑๙ ้ ข ้อจากัด/การตรวจสอบการใชอานาจของพนั กงานเจ ้าหน ้าที่ มาตรา ๒๐ ้ การใชอานาจในการ block เว็บไซต์ทมเนือหากระทบต่อ ี่ ี ้ ความมั่นคงหรือขัดต่อความสงบเรียบร ้อย มาตรา ๒๑ ั่ การเผยแพร่/จาหน่ายชุดคาสงไม่พงประสงค์ ึ มาตรา ๒๒ ห ้ามมิให ้พนั กงานเผยแพร่ข ้อมูลทีได ้มาตามมาตรา ๑๘ ่ มาตรา ๒๓ พนั กงานเจ ้าหน ้าทีประมาทเป็ นเหตุให ้ผู ้อืนล่วงรู ้ข ้อมูล ่ ่ มาตรา ๒๔ ความรับผิดของผู ้ล่วงรู ้ข ้อมูลทีพนั กงาน เจ ้าหน ้าทีได ้มา ่ ่ ตามมาตรา ๑๘ มาตรา ๒๕ ห ้ามมิให ้รับฟั งพยานหลักฐานทีได ้มาโดยมิชอบ ่ มาตรา ๒๖ ถึง ๒๗ หน ้าทีผู ้ให ้บริการในการเก็บข ้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ่ และความรับผิด หากไม่ปฏิบตตามหน ้าที่ ั ิ มาตรา ๒๘ การแต่งตังพนั กงานเจ ้าหน ้าที่ ้ มาตรา ๒๙ การรับคาร ้องทุกข์กล่าวโทษ จับ ควบคุม ค ้น & การกาหนด ระเบียบ/แนวทางและวิธปฏิบต ิ ี ั มาตรา ๓๐ การปฏิบตหน ้าทีของพนั กงานเจ ้าหน ้าที่ ั ิ ่ ั้ ิ้ รวมทงสน ๑๓ มาตรา
  • 59. อานาจของพน ักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘ อานาจทัวไปของพนักงานเจ ้าหน ้าที่ ่ ทีได ้รับการแต่งตัง แบ่งเป็ น ่ ้ ้ ๑. อานาจทีดาเนินการได ้โดยไม่ต ้องใชอานาจศาล ่ ื ่ ี้ - มีหนังสอสอบถาม เพือให ้สงคาชแจง ให ้ข ้อมูล ่ - เรียกข ้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์ ั่ ่ - สงให ้สงมอบข ้อมูลตาม ม.๒๖ ๒. อานาจทีตองขออนุญาตศาล ่ ้ -ทาสาเนาข ้อมูล - เข ้าถึงระบบคอมพิวเตอร์/ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ - ถอดรหัสลับ - ยึดอายัดระบบคอมพิวเตอร์
  • 60. ข้อจาก ัด/การตรวจสอบการใช ้ อานาจของพน ักงานเจ้าหน้าที่ ้ มาตรา ๑๙ การจากัดการใชอานาจของพนักงาน ึ่ ้ เจ ้าหน ้าที่ ซงมีเงือนไขการใชอานาจทัวไปตามมาตรา ๑๘ ่ ่ - การขออนุญาตศาล ่ - การสงคาร ้องขอศาล - ระยะเวลาในการยึด/อายัดระบบคอมพิวเตอร์ ๓๐ วัน หรือ ๖๐ วัน
  • 61. การ Block Website มาตรา ๒๐ ในกรณีทการกระทาความผิดเป็ นการทาให ้ ี่ ึ่ แพร่หลายซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์ท ี่ 1. อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามทีกาหนดไว ้ในภาคสอง ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวล ่ กฎหมายอาญา ี 2. ทีมลักษณะขัดต่อ ความสงบเรียบร ้อยหรือศลธรรมอันดีของ ่ ี ประชาชน พนักงานเจ ้าหน ้าทีโดยได ้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยืน ่ ่ คาร ้องพร ้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลทีมเขตอานาจขอให ้มีคาสง ่ ี ั่ ึ่ ระงับ การทาให ้แพร่หลายซงข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันได ้ ้ ั่ ึ่ ในกรณีทศาลมีคาสงให ้ระงับการทาให ้แพร่หลายซงข ้อมูล ี่ คอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึง ให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีทาการระงับการทา ่ ่ ั่ ึ่ ให ้แพร่หลายนันเอง หรือสงให ้ผู ้ให ้บริการระงับการทาให ้แพร่หลายซง ้ ข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันก็ได ้ ้
  • 62. ่ั ชุดคาสงไม่พงประสงค์ ึ มาตรา ๒๑ ในกรณีทพบว่าข ้อมูลคอมพิวเตอร์ใดมีชดคาสงไม่พง ี่ ุ ั่ ึ ประสงค์รวมอยูด ้วย ่ พนักงานเจ ้าหน ้าทีอาจยืนคาร ้องต่อศาลทีมเขตอานาจเพือขอให ้ ่ ่ ่ ี ่ ั่ 1. มีคาสงห ้ามจาหน่ายหรือเผยแพร่ 2. สงให ้เจ ้าของหรือผู ้ครอบครองข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันระงับการใช ้ ั่ ้ ทาลาย หรือแก ้ไขข ้อมูลคอมพิวเตอร์นันได ้ ้ 3. จะกาหนดเงือนไขในการใช ้ มีไว ้ในครอบครอง หรือเผยแพร่ ่ ั่ ชุดคาสงไม่พงประสงค์ดงกล่าวก็ได ้ ึ ั ั่ ั่ ่ ี โดยชุดคาสงไม่พงประสงค์ หมายถึง ชุดคาสงทีมผลทาให ้ ึ ั่ ่ ี ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือชุดคาสงอืนเกิดความเสยหาย ถูกทาลาย ถูกแก ้ไข เปลียนแปลงหรือเพิมเติม ขัดข ้อง หรือปฏิบตงานไม่ตรง ่ ่ ั ิ ั่ ่ ตามคาสงทีกาหนดไว ้ หรือโดยประการอืนตามทีกาหนดในกฎกระทรวง ่ ่ ั่ ่ ุ่ ั่ เว ้นแต่เป็ นชุดคาสงทีมงหมายในการป้ องกันหรือแก ้ไขชุดคาสง ดังกล่าวข ้างต ้น ตามทีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ่
  • 63. ห้ามมิให้พน ักงานเผยแพร่ขอมูล ทีได้มาตาม มาตรา ๑๘ ้ ่ มาตรา ๒๒ ห ้ามมิให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีเปิ ดเผยหรือสงมอบ ่ ่ ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ข ้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูลของ ้ ผู ้ใชบริการ ทีได ้มาตามมาตรา ๑๘ ให ้แก่บคคลใด ่ ุ ้ ความในวรรคหนึงมิให ้ใชบังคับกับการกระทา ่ 1. เพือประโยชน์ในการดาเนินคดีกบผู ้กระทาความผิดตาม ่ ั พระราชบัญญัตนี้ ิ 2. เพือประโยชน์ในการดาเนินคดีกบพนักงานเจ ้าหน ้าที่ ่ ั ่ ้ เกียวกับการใชอานาจหน ้าทีโดยมิชอบ ่ ั่ 3. เป็ นการกระทาตามคาสงหรือทีได ้รับอนุญาตจากศาล ่ พนักงานเจ ้าหน ้าทีผู ้ใดฝ่ าฝื นวรรคหนึงต ้องระวางโทษจาคุก ่ ่ ไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมืนบาท หรือทังจาทังปรับ ่ ้ ้
  • 64. พน ักงานเจ้าหน้าทีประมาทเปนเหตุให้ผอนล่วงรูขอมูล ่ ็ ู ้ ื่ ้ ้ มาตรา ๒๓ พนักงานเจ ้าหน ้าทีผู ้ใดกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุ ่ ให ้ผู ้อืนล่วงรู ้ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ข ้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูล ่ ้ ของผู ้ใชบริการ ทีได ้มาตามมาตรา ๑๘ ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึงปี ่ ่ หรือปรับไม่เกินสองหมืนบาท หรือทังจาทังปรับ ่ ้ ้ ความรับผิดของผู ้ล่วงรู ้ข ้อมูล มาตรา ๒๔ ผู ้ใดล่วงรู ้ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ ข ้อมูลจราจรทาง ้ คอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูลของผู ้ใชบริการ ทีพนักงานเจ ้าหน ้าทีได ้มา ่ ่ ตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข ้อมูลนันต่อผู ้หนึงผู ้ใด ต ้องระวางโทษ ้ ่ ี่ ่ จาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสหมืนบาท หรือทังจาทังปรับ ้ ้
  • 65. การร ับฟังพยานหล ักฐาน มาตรา ๒๕ ข ้อมูล ข ้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข ้อมูลจราจร ทางคอมพิวเตอร์ทพนักงานเจ ้าหน ้าทีได ้มาตามพระราชบัญญัตนี้ ให ้ ี่ ่ ิ อ ้างและรับฟั งเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัตแห่งประมวล ิ กฎหมายวิธพจารณาความอาญาหรือกฎหมายอืนอันว่าด ้วยการ ี ิ ่ ื สบพยานได ้ ่ ิ ้ ั แต่ต ้องเป็ นชนิดทีมได ้เกิดขึนจากการจูงใจ มีคามั่นสญญา ขูเข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอืน ่ ่
  • 66. หน้าทีของผูให้บริการ ่ ้ มาตรา ๒๖ ผูให้บริการต้องเก็บร ักษาข้อมูลจราจรทาง ้ คอมพิวเตอร์ไว้ไม่นอยกว่า เก้าสบว ันน ับแต่ว ันทีขอมูลนนเข้าสู่ ้ ิ ่ ้ ั้ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาเปนพน ักงานเจ้าหน้าทีจะสง ให้ ็ ่ ่ั ผูให้บริการผูใดเก็บร ักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกิน ้ ้ ิ เก้าสบว ันแต่ไม่เกินหนึงปี เปนกรณีพเศษเฉพาะรายและเฉพาะ ่ ็ ิ คราวก็ได้ ้ ้ ผูให้บริการจะต้องเก็บร ักษาข้อมูลของผูใชบริการเท่าที่ ้ ็ ่ ้ ้ ั้ ่ ้ จาเปนเพือให้สามารถระบุต ัวผูใชบริการน ับตงแต่เริมใชบริการ ็ ้ ิ และต้องเก็บร ักษาไว้เปนเวลาไม่นอยกว่าเก้าสบว ันน ับตงแต่การ ั้ ้ ิ้ ใชบริการสนสุดลง ผูให้บริการผูใดไม่ปฏิบ ัติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปร ับ ้ ้ ไม่เกินห้าแสนบาท
  • 68. ่ั หากฝาฝื นคาสงศาล หรือพน ักงานเจ้าหน้าที่ ่ มาตรา ๒๗ ผูใดไม่ปฏิบ ัติตามคาสง ้ ่ั ่ ี่ ่ ั ของศาลหรือพน ักงานเจ้าหน้าทีทสงตามมาตรา ่ั ๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไม่ปฏิบ ัติตามคาสง ของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปร ับ ไม่ เกินสองแสนบาท และปร ับเปนรายว ันอีกไม่เกิน ็ ว ันละห้าพ ันบาทจนกว่าจะปฏิบ ัติให้ถกต้อง ู
  • 69. การแต่งตง พน ักงานเจ้าหน้าที่ ั้ มาตรา ๒๘ การแต่งตงพน ักงาน ั้ เจ้าหน้าทีตามพระราชบ ัญญ ัติน ี้ ให้ร ัฐมนตรี ่ แต่งตงจากผูมความรูและความชานาญเกียวก ับ ั้ ้ ี ้ ่ ระบบคอมพิวเตอร์และมีคณสมบ ัติตามที่ ุ ร ัฐมนตรีกาหนด
  • 70. การร ับคาร้องทุกข์กล่าวโทษ จ ับ ควบคุม ค้น และ การกาหนด ระเบียบ/แนวทางและวิธปฏิบ ัติ ี มาตรา ๒๙ ในการปฏิบตหน ้าทีตามพระราชบัญญัตนี้ ให ้ ั ิ ่ ิ ั้ พนักงานเจ ้าหน ้าที๋ เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจชนผู ้ใหญ่ตาม ประมวลกฎหมายวิธพจารณาความอาญา มีอานาจรับคาร ้องทุกข์หรือรับคา ี ิ ื กล่าวโทษ และมีอานาจในการสบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตาม พระราชบัญญัตนี้ ิ ในการจับ ควบคุม ค ้น การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดีผู ้กระทา ความผิดตามพระราชบัญญัตนี้ บรรดาทีเป็ นอานาจของพนักงานฝ่ ายปกครอง ิ ่ ั้ หรือตารวจชนผู ้ใหญ่ หรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธพจารณา ี ิ ความอาญา ให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีประสานงาน กับพนักงานสอบสวน ่ ผู ้รับผิดชอบเพือดาเนินการตามอานาจหน ้าทีตอไป ่ ่ ่ ให ้นายกรัฐมนตรีในฐานะผู ้กากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติและ รัฐมนตรีมอานาจร่วมกันกาหนดระเบียบเกียวกับแนวทางและวิธปฏิบตในการ ี ่ ี ั ิ ดาเนินการตามวรรคสอง
  • 72. พ.ต.อ. ญาณพล ยังยืน ่ รองอธิ บดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม yanaphon@youngyuen.com yanaphon@dsi.go.th Tel. 02-975-9807 T/F 02-975-9808