SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
Constructivist
                                         เรยบเรยงโดย ยรวฒน คลายมงคล ก.พ. 2542
                                           ี ี         ุ ั
บทนํา
         เรองของการเรยนรเปนเรองสําคัญทีนกการศึกษาและนักจิตวิทยาคนควาหาคําตอบมา
           ่ื             ี ู  ่ื       ่ ั
ตลอด โดยเฉพาะประเด็นที่วาการเรียนรูเกิดขึ้นไดอยางไร จะสอนอยางไรใหเกิดการเรียนรู
         ทฤษฎหลกทางจตวทยาทอธบายการเรยนรู แบงไดเปน 3 ประเดน คอทฤษฎกลมพฤติ
                   ี ั         ิ ิ   ่ี ิ     ี                       ็ ื            ี ุ
กรรทนิยม ทฤษฎกลมปญญานยม และทฤษฎีกลุมมนุษยนิยม ในบรรดาทฤษฎทง 3 นี้ยังมีจุดบก
                     ี ุ         ิ                                            ี ้ั
พรอง ขอเสียทีถกเถียงกัน
               ่
         ในระยะเวลาที่ไมนานนี้นักจิตวิทยากลุมหนึ่งไดเผยแพรแนวคิดเกี่ ยวกบการเรยนรใหมอก
                                                                            ั         ี ู  ี
แนวคดหนง นันก็คอทฤษฎี constructivist ทฤษฎีนี้ไดรับความสนใจนํามาใชจดการศึกษามากขึน
      ิ ่ึ ่ ื                                                                ั                ้
ตวอยางการสรางความรตามแนว constructivist
 ั                        ู

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตคืออะไร ?
        ในชวงเวลาทผานมามผสนใจศกษาทฤษฎคอนสตรคตวสตหลายทาน กลุมผูคนควารวบ
                          ่ี  ี ู       ึ    ี          ั ิิ       
รวมไดดดังนี้
        Underhill , Cobb , wood and Yackel , Balacheff , Confrey, (1991 อางถงใน ึ
ไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) กลาววาทฤษฎีคอนสตรัคติวสต (constructivist theory) หรอ คอน
                                                        ิ                          ื
สตรคตวซม (constructivism) มแนวคดหลกวา บคคลเรยนรโดยวธการทตาง ๆ กัน โดยอาศย
     ั ิิึ                           ี    ิ ั  ุ         ี ู ิ ี ่ี               ั
ประสบการณเดม โครงสรางทางปญญาที่มีอยู ความสนใจและแรงจูงใจภายในเปนพื้นฐาน
                 ิ
(nodding ,1990 อางถงใน ไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) โดยมีแรงจูงใจจากความขัดแยงทาง
                       ึ
ปญญาทําใหเกิดการไตรตรอง (reflection) นําไปสูการสรางโครงสรางใหมทางปญญา(cognitive
restructuring) ทไดรบการตรวจสอบทงโดยตนเองและผอนวาสามารถแกปญหาเฉพาะตางๆ ซึ่ง
                    ่ี  ั             ้ั             ู ่ื         
อยูในกรอบของโครงสรางนั้น และใชเปนเครื่องมือสําหรบการสรางโครงสรางใหมอน ๆ ตอไป
                                                    ั                    ่ื
ไพจิตร สดวกการ(2538 : 36) ไดเสนอผลการรวบรวมแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต
ไวดังนี้
                 แนวคิดหลักของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตซึ่งสังเคระหจากเอสารที่เกี่ยวของ     
                                   โดย ไพจิตร สดวกการ (2538: 36)
                               แนวคิดหลัก                                         ผูเสนอ
1. ความรูคือโครงสรางทางปญญาที่บุคคลสรางขึ้นเพื่อ เพยเจต, บาลาเชฟี
คลคลายสถานการณปญหาทเผชญอยู โดยมการตรวจ คอบบ, วูด, แยคเคล
   ่ี                                 ่ี ิ      ี
สอบวาสามารถนําไปใชแกปญหาหรืออธิบายสถาน
                                                              คอนเฟร, อนเดอรฮล ั         ิ
การณอน ๆ ทอยในกรอบโครงสรางเดยวกนได
             ่ื     ่ี ู                  ี ั
2. นกเรยนเปนผสรางความรดวยวธการตาง ๆ กนโดย
      ั ี  ู                      ู  ิ ี      ั          ไดรเวอร, เบล, กามิ, นอดดง,   ิ
อาศยประสบการณเดม โครงสรางทางปญญาที่มีอยู
       ั                    ิ                                 วอน เกรเซอรสเฟลด,
และแรงจูงใจภายในตนเองเปนจุดเริ่มตน                           เฮนเดอรสน   ั
3. ครูมหนาทีจดการใหนกเรียนไดปรับขยายโครงสราง
              ี     ่ั           ั
ทางปญญาของนักเรียนเองภายใตขอตกลงเบื้องตนทาง
การเรยนรตอไปน้ี
         ี ู 
 3.1 สถานการณที่เปนปญหาและปฏิสัมพันธทางสังคม เพยเจต, อนเดอรฮล,    ี      ั        ิ
         กอใหเกิดความขัดแยงทางปญญา                         เบรนนารด, บาลาเซฟ, คอบบ,
                                                               วูด, แยคเคล
 3.2 ความขัดแยงทางปญญาเปนแรงจูงใจใหเกิดกิจ                 อนเดอรฮล, เบอรลีน, บิกส,
                                                                 ั       ิ
         กรรมไตรตรองเพื่อขจัดความขัดแยงนั้น                  เทลเฟอร
 3.3 การไตรตรองบนฐานแหงประสบการณและโครง                     อนเดอรฮล,
                                                                   ั     ิ
         สรางทางปญญาที่มีอยูเดิม ภายใตการมีปฏิ             วอน เกลเซอรสเฟลด
       สัมพันธทางสังคมกระตุนใหมีการสรางโครงสราง
       ใหมทางปญญา

      พิมพันธ เดชะคปต (มปป : 3) กลาววา constructionism เปนทฤษฎทเนนการเรยนรู
                     ุ                                       ี ่ี      ี
ดวยการกระทําของตนเอง โดยใหผเรยนเผชญกบสถานการณทเปนปญหาทําใหเกดความขดแยง
                            ู ี   ิ ั             ่ี           ิ      ั 
ทางปญญา โดยผเู รยนจะตองพยายามคดหรอกระทําอยางไตรตรอง จนสามารถนําไปสการสราง
                  ี               ิ ื                                  ู     
โครงสรางใหมทางปญญาที่สามารถคลี่คลายสถานการณที่เปนปญหาได ซงความรใหมทได
                                                                            ่ึ      ู  ่ี
สามารถเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมเกิดการเรียนรูที่มีความหมาย เปนความรูทสรางดวยตนเอง
                                                                                ่ี
           อุดมลักษณ กุลพิจิตร (มปป. : 2) กลาววา การพฒนาเดกตามแนวคอนสตรคตวสให
                                                          ั          ็                ั ิิ
ความสําคัญกับกระบวนการสรางความรู (construction) โดยที่เด็กเปนผูริเริ่มและพัฒนาไปในทิศ
ทางที่เหมาะสมโดยมีครูเปนผูคอยชวยเหลือแนะนํา เด็กจะมีความเปนตัวของตัวเอง มีสวนรวมใน
การพจารณากฎเกณฑตาง ๆ ในการเรยน
        ิ                                     ี
           สรางค โควตระกูล กลาววา
             ุ                        
           ประสาร มาลากุล ณ อยธยา (มปป. : 1-2) กลาววา constructivism เปนแนวคิดที่เนน
                                       ุ                  
ความสําคัญของตัวผูเรียน ใหผเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนรู (student-centered
                                 ู
learnning) โดย constructivism อธิบายถึงการเรียนรูวาเปนกระบวนการภายในตัวบุคคล ซึ่ง
                                                      
พฒนาความเขาใจเกยวกบเรองบทเรยน หรอประสบการณทศกษาขนดวยตวเองมากกวาทจะรบ
  ั                    ่ี ั ่ื             ี     ื            ่ี ึ   ้ึ  ั            ่ี ั
ความเขาใจทสําเรจรปจากการสอนหรอการถายทอดจากผอน และบุคคลจะเกิดการเรียนรูใหมๆ
           ่ี ็ ู                            ื            ู ่ื
ไดขนอยกบประสบการณเดมของผเรยน และจะเรียนรูไดงายขึ้นถามีบรรยากาศของการทํางาน
     ้ึ ู ั                  ิ        ู ี
และปฏิสัมพันธรวมกันระหวางผูเรียน และไดเห็นปญหาในลักษณะรูปธรรมตามสถานการณจริง

         กลมผศกษาพจารณาความหมายของ constructionism ของผูเชี่ยวชาญที่กลาวมาแลว
           ุ ู ึ   ิ
สรปวา constructivist เปนแนวคดในการจดการศกษาแนวหนง ทเนนตรงการสรางความรใหม
  ุ                            ิ    ั     ึ          ่ ึ ่ี                  ู
โดยผูเรียนตองสรางความรูใหมนนดวยตนเอง ดวยการเชื่อมประสบการณที่มีอยูแลวกับความรู
                            ้ั
ใหม ซงอาศยบรรยากาศทเหมาะสม การทํางานรวมกน
       ่ึ ั                ่ี                  ั

         นอกจากความหมายของ constructivism แลว สิ่งที่ควรทําความเขาใจคอเรองของความรู
                                                                      ื ่ื
Confrey , Balacheff and Underhill (1991 อางถึงในไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) กลาววาความ
                                                                                  
รูคอ การสรางโครงสรางใหมทางปญญา (cognitive restrucring) จากประสบการณและโครง
   ื
สรางเดมทมอยู โดยมีการตรวจสอบวา สามารถนําไปใชแกปญหาหรืออธิบายสถานการณเฉพาะ
       ิ ่ี ี
อน ๆ ที่อยูในกรอบของโครงสรางนั้นได และโครงสรางทางปญญาที่สรางขึ้นใหมนี้จะเปนเครื่อง
   ่ื
มือสําหรับการสรางโครงสรางใหม ๆ ตอไปอีก

          Royer ,1979 อางถึงในไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) กลาวา ความรูในทรรศนะนีเปน
                                                                               ้
ความรในระดบโครงสราง (structure or schema) ซึ่งเปนนัยทั่วไป ไมใชขอเท็จจริงเฉพาะ ผูที่เกิด
       ู     ั       
การเรียนรูในระดับโครงสรางจะสามารถนําสงทเรยนรไปใชในสถานการณตวอยางอน ๆ ที่อยูใน
                                         ่ิ ่ี ี ู                ั  ่ื
กรอบของโครงสรางนนได และ ความสามารถในการถายโยงการเรยนรเปนตวบงชผลการเรยนรู
                ้ั                               ี ู  ั  ้ี     ี
หรือผลการสรางความรูตามทรรศนะนี้

แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎี Constructivist
        แนวคิดของทฤษฎี constructivist เกิดขึนจาการบูรณาการของความรูจากหลายสาขาวิชา
                                                ้                           
ทงความรจากทฤษฎจตวทยาการศกษากลมปญญานยม ทฤษฎีทางสังคมวัฒนธรรม ภาษา
  ้ั       ู          ีิ ิ      ึ       ุ          ิ
ศาสตรและมานุษยวิทยา (ประสาร มากล มปป. : 2) โดยมีสาระสําคัญดังนี้
                                       ุ
        รากฐานทางจิตวิทยา รากฐานทางจตวทยาของ constructivist คือ ทฤษฎของ Piaget
                                               ิ ิ                               ี
Piaget มความคดวามนษยเรยนรโดยกระบวนการปรบตวใหเขากบสงแวดล อมซึ่งประกอบดวยกล
         ี          ิ  ุ  ี ู                     ั ั   ั ่ิ
ไกพื้นฐาน 2 อยางคือ การดูดซึมเขาสูโครงสราง (assimilation) และการปรบโครงสราง
                                                                          ั        
(accommodation) ในกรณีที่ผูเรียนประสบปญหาที่ตองแก การดดซมเขาสโครงสรางกคอ ความ
                                                                 ู ึ  ู        ็ ื
สามารถในการตความปญหาหรอจดปญหาใหอยในรปแบบทสามารถแกไดดวยมโนทศนหรอวธี
                  ี           ื ั            ู ู         ่ี                   ั  ื ิ
การเดิมที่มีอยู สวนการปรบโครงสรางกคอความสามารถในการหาวธใหม หรอคําอธิบายใหมมา
                           ั       ็ ื                           ิี         ื
แกหรือตีความปญหา เมื่อวิธีเดิมหรือมโนทัศนเดิมที่มีอยูไมสามารถแกปญหาที่ประสบอยได ู
แผนภูมิแสดงการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอม
                                ตามแนวทฤษฎีของเพียเจต
                                  (พิมพพันธ เดชะคปต)
                                                   ุ

                                         เกิดปญหา



                                     เกิดสภาวะไมสมดุล
                                       (unequilibrium)




                                                                     แกปญหาไมได
                                                                         
 แกปญหาไดโดยกระบวน
 การดูดซึมเขาสูโครงสราง
                
      (assimilation)
                                                                      แกปญหาโดย
                                                                          
                                                               กระบวนการดูดซึมเขาสูโครงสราง
                                                                และกระบวนการปรับใหเหมาะ
                                                                    (accommodation)



                                        สภาวะสมดุล



                                 การปรับตัวเขากับสิงแวดลอม
                                                    ่



                                          Schema


       นอกจากนนแนวคอของ Ausubel (อางถงใน พิมพพันธ เดชะคปต มปป. : 1-3) มความ
               ้ั  ื               ึ                    ุ                ี
เหนวาโครงสรางสวนบคคล เปนองคประกอบทสําคัญทีสดของการศึกษา สิ่งที่สําคญทสดทผสอน
  ็         ุ                  ่ี     ่ ุ                     ั ่ี ุ ่ี ู
จะตองรูในจุดเริมแรกของการสอนคือ สิ่งที่เด็กรู เพื่อที่ผูสอนจะไดวางแผนการสอนโดยใชความรู
                     ่
เดมและกลวธการเรยนรเดมของเดกเปนจดเรมตน
   ิ             ิี       ี ู ิ        ็  ุ ่ิ 
            รากฐานทางปรัชญา (พิมพพันธ เดชะคปต มปป.: 1-3 )ความรคอความสามารถของ
                                                      ุ                 ู ื
แตละบุคคลในการปรับประสบการณเกาที่มีอยูเดิมใหเขากับประสบการณใหมไดดวยกระบวนการ
                                                                             
พิสูจนใหเห็นจริงได และมีความสมเหตุสมผลกอใหเกิดประโยชนในทางปฏิบัติและกระบวนการ
ของการนําความคิดที่ผานกระบวนการพิสูจนใหเห็นจริงและมีความสามารถสมเหตุ สมผล แลวนํา       
ไปสความคดอน ๆ ในประสบการณอน ๆ ที่มีคาสําหรบการดําเนนชวต และขจัดความขัดแยง
     ู        ิ ่ื                       ่ื             ั     ิ ีิ
ระหวางความคดในประสบการณเกากบประสบการณใหม
                   ิ                   ั                 
            วัฒนาพร ระงับทุกข 2540: 15-16 ) กลาวถง ทฤษฎการสรางความรู Constructivism
                                                    ึ        ี     
วา เปนทฤษฎีการเรียนรูแนวใหมที่ไดรับความสนใจเปนอยางมาก โดยมีหลักสามประการ คือ
            1. การเรยนรเปนกระบวนการของการสรางความรู มิใชเปนการซึมซับขอมูลที่รับเขามา
                        ี ู                       
                เปนสวนๆ
            2. การเรยนรขนอยกบความรเดม ซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดของการสรางความรูใหม
                         ี ู ้ึ ู ั         ู ิ
            3. สถานการณ หรอ บริบทของการเรียนรูเปนสิงสําคัญของการสรางความรู
                                 ื                       ่

         แนวคิดเกียวกับการสรางความรูมนกการศึกษาเชือวาความรูเปนสิ่งที่สรางขึ้นไดดวยตน
                      ่                   ี ั              ่       
เอง ซึ่งสามารถจําแนกกลมนกการศกษาทมความเชอในลกษณะนได 2 กลุมใหญ คือ
                            ุ ั     ึ        ่ี ี   ่ื   ั      ้ี
         1. กลุมการสรางงความรูเชิงความคิด กลุมนี้เนนการสรางความรูเกิดจากป๗เจกบุคคล
             การเรยนรเปนกระบวนการเชงพลวต (dynamic process ) ของการสราง การจด
                     ี ู                ิ        ั                                    ั
             ระบบและการสรางความรูอยางพิถีพิถัน
         นักการศึกษาที่มีความเชื่อลักษณะนี้มีทัศนะวา การสรางความรูจะเกิดขึนในตัวผูเรียนทีผู
                                                                              ้          ่
         เรียนจะตองสรางและลงมือปฏิบตดวยตนเอง
                                            ั ิ 
         2. กลมการสรางความรเชงสงคม - วัฒนธรรม กลุมนี้มีทัศนะวา การเรยนรเปนกระบวน
                 ุ             ู ิ ั                                       ี ู 
             การทางสงคม ซึ่งครูและนักเรียนมีสวนรวมในการพูดคุยกันอยางมีความหมายใน
                        ั
             ลักษณะแลกเปลียนกันดวยบรรยากาศทีเปนมิตร ปฏิสัมพันธภายในหองเรียนจะเปน
                               ่                        ่
             ตัวเชื่อมโยงการเรียนรูและการสอนใหผสมผสานกันอยางกลมกลืน ทั้งนี้ บุคคลที่อยูใน
             สิ่งแวดลอมทางสังคมของผูเรียนจะมีอิทธิพลตอทัศนะและวิธีคิดของเขา ขณะที่ผูใหญ
             ภาษา และวัฒนธรรมเปนองคประกอบที่สําคัญของการเรียนรู
หลักการสรางความรู
      1. ผูเรียนจะมีปฏิสัมพันธกับทุกสิ่งที่อยูแวดลอมตัวเขา จะพยายามคนหาเพื่ออธิบายสิ่ง
         ตางๆรอบตัวเขานัน โดยเขาจะสรางแบบจําลองหรือสัญญาลักษณของสิ่งตางๆที่พบ
                             ้
         เห็นไวในความคิดเพื่อใชอธิบายสิ่งตางๆ เกยวกบปรากฏการณและเหตการณตางๆ ใน
                                                       ่ี ั                  ุ      
         สงแวดลอมรอบตวนน บทบาทของครจงเปนการชวยผเรยนสรางและประกอบแบบ
             ่ิ            ั ้ั                   ูึ         ู ี  
         จําลองทางความคิดใหสมบูรณแบบยิ่งขึ้น
      2. ผูเรียนทุกคนจะสรางหรือรวมสรางสิ่งที่มีความหมายดวยตนเอง
      3. ผูเรียนเปนผูรบผิดชอบการเรียนรูของตน ครูเปนผูสนับสนุน และอํานวยความสะดวก
                     ั                                   
         การเรยนรู
                 ี
      4. ผูเรียนจะสรางสิ่งที่มีความหมายแลกเปลี่ยนกันจากการปฏิสัมพันธซ ึ่งกันและกัน

การนําแนวคดนไปใชในงานของครู
              ิ ้ี  
        การนําแนวคิดของ Constructivism ไปใชในการจดการเรยนการสอนนน ครูจะเริมตน
                                                   ั      ี              ้ั       ่
จากการเสนอปญหา หรือ คํา ถาม ที่เปนจุดเนนของบทเรียน จากนั้นใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธ ภาย
                
ใน ระ ห วางกนใน ก ลุม เพือแกปญหา หรือตอบคําถามจนสําเรจ โดยครูทําหนาทนําทางให
             ั           ่                            ็                 ่ี
ตองการ ตังคําถามและใหตวอยาง เพื่อเสริมหรือตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน ( ประสาร
          ้             ั 
มาลากล ณ อยธยา 2541: 3 )
      ุ           ุ

หลักการพัฒนาเด็กตามแนวการสอนแบบ Constructivism
( อุดมลักษณ กุลพิจิตร มปป. : 25 )
         1. เดกตองมโอกาสวางแผนการเรยนรของตนเอง และมีความยืดหยุนในเรื่องที่จะเรียน
                  ็  ี                   ี ู
         2. เดกๆ จะสรางความรู และความเขา ใจจาการกระทํา โดยผานโลกทางกายภาพ และ
                ็
            โลกทางสงคม โดยมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ
                            ั
            บคคลอน
              ุ          ่ื
         3. ความผดพลาด (error ) จะนําไปสูการสรางความรูใหม ความผิดพลาดจะทําใหเกด
                       ิ                                                            ิ
            การพฒนาความคด
                     ั        ิ
         4. การเรียนรูของเด็กจะเกี่ยวของสัมพันธในทุกดาน โดยไมมการแยกแยะออกเปนราย
                                                                   ี
            วิชาเหมือนผูใหญ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบดวย
       1. มีจุดมุงหมายของเนื้อหาที่ชัดเจน
       2. การออกแบบและเตรียมงาน หรือปญหา ที่เปนสภาพการณจริง
       3. การออกแบบวธการนําเสนอปญหาหรอแนวคดทเปนนามกระทําในรปแบบทหลาก
                         ิี                       ื   ิ ่ี              ู      ่ี
          หลาย เพื่อใหผูเรียนไดรับรูและมองเห็นปญหาไดในหลายมุม
       4. การจดกจกรรมและโอกาสใหผเรยนไดมบทบาท มสวนรวม และไดมีปฏิสัมพันธโดย
                 ั ิ                      ู ี    ี      ี  
ตรงระหวางผูเรียนกับบทเรียน และระหวางผูเรียนดวยกันเอง คือ งานกลุมในรูปแบบตางๆ
                                                
       5. การประเมินความรูความเขาใจ และความตอเนื่องระหวางความรูเดิมกับความรูใหม
          ของผเรยนู ี

วิธีการดําเนินกิจกรรรมการเรียนการสอน
         วิธการดําเนินงานของครู จะเริ่มตนจากการเสนอคําถาม หรือปญหาที่เปนจุดเนนของบท
            ี
เรยน จากนั้นผูเรียนจะใชประโยชนจากวิธีการทําความเขาใจกับปญหาและปฏิสัมพันธภายใน
  ี
และระหวางกลุม เพื่อแกปญหาหรือตอบคําถามจนสําเรจ ซีงครูจะทําหนาทีชวยนําทางดวยการใช
                                                    ็               ่            
กลยทธคําถามและการใหตัวอยางเพิ่มเติม เพื่อสรางเสริมและตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน
     ุ 

ตวอยางขนตอนการสอนเพอการเรยนรตามแนวคด Constructivism
 ั  ้ั                 ่ื    ี ู               ิ
    1 รูปแบบของ พิมพพันธ เดชะคปต
                                ุ
ปญหา
                    - การงอกของเมล็ดพืชตองใชแสงหรือไม
สมมุติฐาน            - แสงมีความจําเปนตอการงอกของเมล็ดพืช
                     (จากประสบการณเดม แสงมีผลตอการงอกของพืช)
                                           ิ
Cognitive conflict - ทําการทดลองพบวา           
                     “แสงไมมีผลตอการงอกของเมล็ดพืช”
                     (ขดแยงกบความรเดม)
                       ั  ั            ู ิ
Reflection           - ทําการศกษาไตรตรองเพอพสจนวา
                                  ึ               ่ื ิ ู  
                     “แสงไมมีความจําเปนตอการงอกของเมล็ดพืชและมีสิ่งใดที่จําเปนตอการ
                     งอกของเมล็ดพืช”
Cognitive structure - คนพบไดวา แสงไมจําเปนตอการงอกของเมล็ดพืช สิ่งที่จําเปนคอ
                                                                                  ื
                     อาหารในใบเลียง   ้
2 รูปแบบของ กลุมผูคนควา
ปญหา และ
                      - พลอยแทตางจากพลอยจริงอยางไร
cognitive conflict
Reflection             - คนควาจากหนงสอและการอภปรายวา พลอยแทตางจากพลอยจริง
                                   ั ื         ิ     
                           อยางไร
Cognitive structure - คนพบไดวา พลอยแทตางจากพลอยปลอมอยางไร
                                          



ผลดทคาดวาจะไดรบจากการสอนตามแนว constructivist
      ี ่ี           ั
ดานตัวเด็ก                                ดานตัวครู
- นักเรียนเรียนอยางมีความสุข              - ครมโอกาสในการพฒนาความสามารถของนก
                                                ู ี             ั           ั
                                           เรียนไดอยางเต็มที่
- ผลการเรยนของนกเรยนดขน
             ี           ั ี ี ้ึ          -
- ทัศนคติของนักเรียนตอครู โรงเรียน เพื่อน
และเนือหาวิชาดีขน
           ้       ้ึ
- ทกษะการคดของนกเรยนจะดขน
    ั            ิ        ั ี     ี ้ึ

ตวอยางขอความรทไดจากการสรางความรดวยตนเองตามแนว constructivist
   ั           ู ่ี                 ู 
       หากพิจารณาถึงความรูที่มนุษยมีอยู จะพบวาความรูหรือการคนพบจํานวนมาไดมาจาก
                                                                               
การ constructivist ความรดวยตนเอง ตวอยางเชน ความรูเรื่องจุลินทรียของหลุย ปาสเตอร แต
                            ู       ั  
กอนยงไมมความรเรองจลนทรย หลุย ปาสเตอรพบวาน้ําตมเนื้อในถวยแกวบูดเสียเมื่อตั้งทิ้งไว จึง
   ั  ี          ู ่ื ุ ิ ี                 
เกิดความสงสัย ตรงนี้เปนจุดที่เกิดความขัดแยงทางปญญา ตอมา หลุย ปาสเตอรไดคนควา
                                                                             
ทดลองดวยวิธการทางวิทยาศาสตร ซึงเปนขันดําเนนกจกรรมไตรตรอง แลวไดคําตอบซึ่งก็คือเชื้อ
            ี                       ่       ้   ิ ิ                 
โรค และมีการสรางโครงสรางใหมทางปญญาขึ้น
วธการสอนทสามารถนํามาใชเพื่อใหผูเรียน construc ความรดวยตนเอง
 ิี        ่ี                                         ู 
      ทฤษฎี constructivist มีจุดเนนตรงกระบวนการหาความรูดวยตนเอง แตในการจดกจ
                                                                           ั ิ
กรรมการเรียนการสอนจะตองใชกจกรรมอืนทีเอืออํานวยตอการสรางความรดวยตนเอง ดงเชน
                            ิ          ่ ่ ้                 ู      ั 
    1 Inquiry method
    2 Cooperative learnning

งานวิจัยและผลจากการสอนตามแนว constructivist
        ปจจบนงานวจยเกยวกบผลของการจดการเรยนการสอนตามแนว constructivist ใน
            ุ ั         ิ ั ่ี ั                        ั                ี
ประเทศไทย ยังมีไมมาก กลมผคนควารวบรวมไดดงน้ี
                                     ุ ู                         ั
        สมจตร สดวกการ (2538 : ข) ไดศกษาผลของการสอนคณตศาสตรตามแนวคดของ
              ิ                                    ึ                                              ิ                              ิ
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตที่มีตอผลสัมฤิทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรและความสามารถในการ
ถายโยงการเรยนรของนกเรยนระดบมธยมศกษาตอนตน กลมตวอยางเปนนกเรยนเปนนกเรยน
               ี ู           ั ี           ั ั      ึ                                 ุ ั   ั ี  ั ี
ระดับมัธยมศึกษาปท่ี 1 จํานวน 145 คน แบงเปนกลมทดลอง 75 คน กลุมควบคุม 70 คน
                                                          ุ                                              
ในการวิจยนี้ ไพจตรไดสรางกจกรรมการสอนคณตศาสตรขน ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสตโดย
         ั           ิ   ิ                                      ิ                ้ึ                                                 ิ
แบงการสอนเปน 3 ขันคือ ขั้นสรางความขัดแยงทางปญญา ขันดําเนนกจกรรมไตรตรอง ขั้นสรุป
                     ้                                                                    ้        ิ ิ                  
ผลการสรางโครงสรางใหมทางปญญา และไดขอคนพบสําคญวา                                      ั 
                   1 ผลสัมฤิทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนวิชา
                         คณตศาสตรปานกลางทสอนดวยกระบวนการสอนคณตศาสตรตามแนวคด
                                ิ                         ่ี                                                 ิ                            ิ
                         ของทฤษฎคอนสตรคตวสตสงกวานกเรยนทสอนตามปกติ
                                        ี        ั ิ ิ  ู  ั ี ่ี
                   2 ขนาดของความแตกตางระหวางผลสมฤทธทางการเรยนของนกเรยนทสอน
                                                                                 ั          ์ิ         ี               ั ี ่ี
                         ดวยกระบวนการสอนคณตศาสตรตามแนวคดของทฤษฎคอนสตรคตวสตกบ
                                                             ิ                                 ิ                   ี            ั ิิ ั
                         การสอนตามปกติ ในกลุมนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนวิชา
                         คณิตศาสตรปานกลางและตํ่า ใหญกวาขนาดของความแตกตางระหวางผล                                                       
                         สัมฤิทธิ์ทางการเรียนในกลุมนักเรียนที่มีระดับที่มีความสามารถทางการเรียน
                         วิชาคณิตศาสตรสูง
                   3 ในเรื่องความคงทนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนกลุมที่มีระดับผล
                         การเรียนสูงและปานกลางทีสอนดวยกระบวนการสอนทีสรางขึนและทีสอน
                                                                ่                                                ่          ้            ่
                         ดวยกระบวนการสอนตามปกตมความคงทนของผลสมฤทธทางการเรยนไม
                                                                        ิ ี                               ั ิ ์ิ                    ี
                         แตกตางกน   ั
                   4 ความสามารถในการถายโยงการเรียนรูของนักเรียนกลุมทีมระดับความ                              ่ ี
                         สามารถทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรสูง ปานกลางและต่ําทีสอนดวย                                    ่
กระบวนการทสรางขนมสงกวา ความสามารถในการถายโยงการเรียนรูของ
                                   ่ี  ้ึ ี ู                                      
                     นกเรยนทมความสามารถทางการเรยนรระดบเดยวกนทสอนตามวธี ปกติ
                        ั ี ่ี ี                         ี ู ั ี ั ่ี           ิ
                  สาคร ธรรมศักดิ์ (2541) ไดศกษาผลการสอนตามแนวคอนสตรคตวซมแบบรวม
                                              ึ                             ั ิิึ      
        มือที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแกปญหาสิ ่งแวดลอมของ
        นกเรยนชนมธยมศกษาปท่ี 4 พบวา
         ั ี ้ั ั           ึ    
                  1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมของนักเรียนกลุม ควบ
                     คุมที่สอนตามคูมือครู กับกลุมทดลองที่สอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมแบบ
                     รวมมือแตกตางกันอยางมีนยสําคญทางสถตทระดบ .01 โดยผลสัมฤทธิ์ทาง
                                                 ั    ั         ิ ิ ่ี ั
                     การเรียนวิชาคณิตศาสตรส่ิงแวดลอมของนักเรียนกลุมทดลองสูงกวากลุม
                     ควบคุม
                  2 ความสามารถในการคดแกปญหาสงแวดลอมของนกเรยนกลมควบคมทส อน
                                            ิ           ่ิ            ั ี  ุ   ุ ่ี
                     ตามคูมือครู กับกลุมทดลองที่สอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมแบบรวมมือแตก
                     ตางกนอยางมนยสําคญทางสถตทระดบ .01
                        ั  ี ั          ั        ิ ิ ่ี ั

ความคิดเห็นของกลุมตอทฤษฎี constructivist
                    
       1. การเรียนรูตามแนว constructivist ไมใชเรื่องใหมที่เพิ่งเกิดขึ้น ผูรวบรวมคิดวาคนเรา
           มีการสรางความรูตามแนว constructivist มานานแลว เชน ความรูเรืองจุลนทรีย
                                                                                   ่ ิ
           ของหลุย ปาสเตอร แตไมมีการพูดถึงตัวอยางเฉพาะเจาะจงอยางชัดเจน ทฤษฎี
           constructivist ที่เกิดขึ้นเปนการอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นอยางชัดเจน และเปน
           หลักพื้นฐาน มีการใชเหตุผลที่เกี่ยวของมาชวยในการอธิบายสาเหตุการเกิดขึ้นเพิ่ม
           เติม
       2. การเรียนรูตามแนว constructivist จะชวยพฒนาการคดของนกเรยนใหดขนได การ
                                                            ั          ิ     ั ี     ี ้ึ
           สอนดวยวธนจะชวยนกเรยนไดรจกคด รจกการมองปญหา และวิธีการแกปญหา สง
                   ิ ี ้ี  ั ี               ู ั ิ  ู ั          
           ผลใหความคดรเรมสรางสรรคมากขน
                       ิ ิ ่ิ                      ้ึ
       3. การเรียนรูตามแนว constructivist จะจดไดกบนกเรยนทมความสามมารถในการ
                                                            ั  ั ั ี ่ี ี
           เรยนรอยบาง เปนคนที่ชางสงสัย ใครรู เหมาะที่จะใชหลังจากการฝกใหนักเรียนรูจัก
             ี ู ู                                    
           คิดในขันเบืองตนแลว ไมเหมาะที่จะใชเริ่มตนฝกคิด
                   ้ ้
       4. การจัดการเรียนการสอนแบบ constructivist เหมาะกับการจัดการเรียนการสอนกลุม
           ไมใหญนัก เพราะตองอาศยการปรกษาหรอการไตรตรอง ซงตองใชเวลาการ
                                       ั           ึ         ื           ่ึ  
           สนับสนุนจากครู
                                       --------------------------

More Related Content

What's hot

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้BLue Artittaya
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 

What's hot (11)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 

Similar to Constructivist

ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
การพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิดการพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิดPorin Pukpoonthapat
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนJiraprapa Suwannajak
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 

Similar to Constructivist (20)

03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
การพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิดการพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิด
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
Sc
ScSc
Sc
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 

Constructivist

  • 1. Constructivist เรยบเรยงโดย ยรวฒน คลายมงคล ก.พ. 2542 ี ี ุ ั บทนํา เรองของการเรยนรเปนเรองสําคัญทีนกการศึกษาและนักจิตวิทยาคนควาหาคําตอบมา ่ื ี ู  ่ื ่ ั ตลอด โดยเฉพาะประเด็นที่วาการเรียนรูเกิดขึ้นไดอยางไร จะสอนอยางไรใหเกิดการเรียนรู ทฤษฎหลกทางจตวทยาทอธบายการเรยนรู แบงไดเปน 3 ประเดน คอทฤษฎกลมพฤติ ี ั ิ ิ ่ี ิ ี ็ ื ี ุ กรรทนิยม ทฤษฎกลมปญญานยม และทฤษฎีกลุมมนุษยนิยม ในบรรดาทฤษฎทง 3 นี้ยังมีจุดบก ี ุ  ิ ี ้ั พรอง ขอเสียทีถกเถียงกัน ่ ในระยะเวลาที่ไมนานนี้นักจิตวิทยากลุมหนึ่งไดเผยแพรแนวคิดเกี่ ยวกบการเรยนรใหมอก ั ี ู  ี แนวคดหนง นันก็คอทฤษฎี constructivist ทฤษฎีนี้ไดรับความสนใจนํามาใชจดการศึกษามากขึน ิ ่ึ ่ ื ั ้ ตวอยางการสรางความรตามแนว constructivist ั   ู ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตคืออะไร ? ในชวงเวลาทผานมามผสนใจศกษาทฤษฎคอนสตรคตวสตหลายทาน กลุมผูคนควารวบ  ่ี  ี ู ึ ี ั ิิ   รวมไดดดังนี้ Underhill , Cobb , wood and Yackel , Balacheff , Confrey, (1991 อางถงใน ึ ไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) กลาววาทฤษฎีคอนสตรัคติวสต (constructivist theory) หรอ คอน ิ ื สตรคตวซม (constructivism) มแนวคดหลกวา บคคลเรยนรโดยวธการทตาง ๆ กัน โดยอาศย ั ิิึ ี ิ ั  ุ ี ู ิ ี ่ี  ั ประสบการณเดม โครงสรางทางปญญาที่มีอยู ความสนใจและแรงจูงใจภายในเปนพื้นฐาน  ิ (nodding ,1990 อางถงใน ไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) โดยมีแรงจูงใจจากความขัดแยงทาง  ึ ปญญาทําใหเกิดการไตรตรอง (reflection) นําไปสูการสรางโครงสรางใหมทางปญญา(cognitive restructuring) ทไดรบการตรวจสอบทงโดยตนเองและผอนวาสามารถแกปญหาเฉพาะตางๆ ซึ่ง ่ี  ั ้ั ู ่ื    อยูในกรอบของโครงสรางนั้น และใชเปนเครื่องมือสําหรบการสรางโครงสรางใหมอน ๆ ตอไป ั    ่ื
  • 2. ไพจิตร สดวกการ(2538 : 36) ไดเสนอผลการรวบรวมแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต ไวดังนี้ แนวคิดหลักของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตซึ่งสังเคระหจากเอสารที่เกี่ยวของ  โดย ไพจิตร สดวกการ (2538: 36) แนวคิดหลัก ผูเสนอ 1. ความรูคือโครงสรางทางปญญาที่บุคคลสรางขึ้นเพื่อ เพยเจต, บาลาเชฟี คลคลายสถานการณปญหาทเผชญอยู โดยมการตรวจ คอบบ, วูด, แยคเคล ่ี   ่ี ิ ี สอบวาสามารถนําไปใชแกปญหาหรืออธิบายสถาน  คอนเฟร, อนเดอรฮล ั ิ การณอน ๆ ทอยในกรอบโครงสรางเดยวกนได  ่ื ่ี ู  ี ั 2. นกเรยนเปนผสรางความรดวยวธการตาง ๆ กนโดย ั ี  ู  ู  ิ ี  ั ไดรเวอร, เบล, กามิ, นอดดง, ิ อาศยประสบการณเดม โครงสรางทางปญญาที่มีอยู ั  ิ วอน เกรเซอรสเฟลด, และแรงจูงใจภายในตนเองเปนจุดเริ่มตน เฮนเดอรสน ั 3. ครูมหนาทีจดการใหนกเรียนไดปรับขยายโครงสราง ี ่ั ั ทางปญญาของนักเรียนเองภายใตขอตกลงเบื้องตนทาง การเรยนรตอไปน้ี ี ู  3.1 สถานการณที่เปนปญหาและปฏิสัมพันธทางสังคม เพยเจต, อนเดอรฮล, ี ั ิ กอใหเกิดความขัดแยงทางปญญา เบรนนารด, บาลาเซฟ, คอบบ, วูด, แยคเคล 3.2 ความขัดแยงทางปญญาเปนแรงจูงใจใหเกิดกิจ อนเดอรฮล, เบอรลีน, บิกส, ั ิ กรรมไตรตรองเพื่อขจัดความขัดแยงนั้น เทลเฟอร 3.3 การไตรตรองบนฐานแหงประสบการณและโครง อนเดอรฮล, ั ิ สรางทางปญญาที่มีอยูเดิม ภายใตการมีปฏิ วอน เกลเซอรสเฟลด สัมพันธทางสังคมกระตุนใหมีการสรางโครงสราง ใหมทางปญญา พิมพันธ เดชะคปต (มปป : 3) กลาววา constructionism เปนทฤษฎทเนนการเรยนรู ุ    ี ่ี  ี ดวยการกระทําของตนเอง โดยใหผเรยนเผชญกบสถานการณทเปนปญหาทําใหเกดความขดแยง   ู ี ิ ั  ่ี    ิ ั  ทางปญญา โดยผเู รยนจะตองพยายามคดหรอกระทําอยางไตรตรอง จนสามารถนําไปสการสราง ี  ิ ื ู 
  • 3. โครงสรางใหมทางปญญาที่สามารถคลี่คลายสถานการณที่เปนปญหาได ซงความรใหมทได ่ึ ู  ่ี สามารถเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมเกิดการเรียนรูที่มีความหมาย เปนความรูทสรางดวยตนเอง  ่ี อุดมลักษณ กุลพิจิตร (มปป. : 2) กลาววา การพฒนาเดกตามแนวคอนสตรคตวสให ั ็ ั ิิ ความสําคัญกับกระบวนการสรางความรู (construction) โดยที่เด็กเปนผูริเริ่มและพัฒนาไปในทิศ ทางที่เหมาะสมโดยมีครูเปนผูคอยชวยเหลือแนะนํา เด็กจะมีความเปนตัวของตัวเอง มีสวนรวมใน การพจารณากฎเกณฑตาง ๆ ในการเรยน ิ   ี สรางค โควตระกูล กลาววา ุ   ประสาร มาลากุล ณ อยธยา (มปป. : 1-2) กลาววา constructivism เปนแนวคิดที่เนน ุ   ความสําคัญของตัวผูเรียน ใหผเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนรู (student-centered  ู learnning) โดย constructivism อธิบายถึงการเรียนรูวาเปนกระบวนการภายในตัวบุคคล ซึ่ง  พฒนาความเขาใจเกยวกบเรองบทเรยน หรอประสบการณทศกษาขนดวยตวเองมากกวาทจะรบ ั  ่ี ั ่ื ี ื  ่ี ึ ้ึ  ั  ่ี ั ความเขาใจทสําเรจรปจากการสอนหรอการถายทอดจากผอน และบุคคลจะเกิดการเรียนรูใหมๆ  ่ี ็ ู ื  ู ่ื ไดขนอยกบประสบการณเดมของผเรยน และจะเรียนรูไดงายขึ้นถามีบรรยากาศของการทํางาน  ้ึ ู ั  ิ ู ี และปฏิสัมพันธรวมกันระหวางผูเรียน และไดเห็นปญหาในลักษณะรูปธรรมตามสถานการณจริง กลมผศกษาพจารณาความหมายของ constructionism ของผูเชี่ยวชาญที่กลาวมาแลว ุ ู ึ ิ สรปวา constructivist เปนแนวคดในการจดการศกษาแนวหนง ทเนนตรงการสรางความรใหม ุ   ิ ั ึ ่ ึ ่ี   ู โดยผูเรียนตองสรางความรูใหมนนดวยตนเอง ดวยการเชื่อมประสบการณที่มีอยูแลวกับความรู   ้ั ใหม ซงอาศยบรรยากาศทเหมาะสม การทํางานรวมกน ่ึ ั ่ี  ั นอกจากความหมายของ constructivism แลว สิ่งที่ควรทําความเขาใจคอเรองของความรู  ื ่ื Confrey , Balacheff and Underhill (1991 อางถึงในไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) กลาววาความ   รูคอ การสรางโครงสรางใหมทางปญญา (cognitive restrucring) จากประสบการณและโครง  ื สรางเดมทมอยู โดยมีการตรวจสอบวา สามารถนําไปใชแกปญหาหรืออธิบายสถานการณเฉพาะ  ิ ่ี ี อน ๆ ที่อยูในกรอบของโครงสรางนั้นได และโครงสรางทางปญญาที่สรางขึ้นใหมนี้จะเปนเครื่อง ่ื มือสําหรับการสรางโครงสรางใหม ๆ ตอไปอีก Royer ,1979 อางถึงในไพจิตร สดวกการ 2539 : 2) กลาวา ความรูในทรรศนะนีเปน    ้ ความรในระดบโครงสราง (structure or schema) ซึ่งเปนนัยทั่วไป ไมใชขอเท็จจริงเฉพาะ ผูที่เกิด ู ั  การเรียนรูในระดับโครงสรางจะสามารถนําสงทเรยนรไปใชในสถานการณตวอยางอน ๆ ที่อยูใน ่ิ ่ี ี ู   ั  ่ื
  • 4. กรอบของโครงสรางนนได และ ความสามารถในการถายโยงการเรยนรเปนตวบงชผลการเรยนรู  ้ั  ี ู  ั  ้ี ี หรือผลการสรางความรูตามทรรศนะนี้ แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎี Constructivist แนวคิดของทฤษฎี constructivist เกิดขึนจาการบูรณาการของความรูจากหลายสาขาวิชา ้  ทงความรจากทฤษฎจตวทยาการศกษากลมปญญานยม ทฤษฎีทางสังคมวัฒนธรรม ภาษา ้ั ู ีิ ิ ึ ุ  ิ ศาสตรและมานุษยวิทยา (ประสาร มากล มปป. : 2) โดยมีสาระสําคัญดังนี้ ุ รากฐานทางจิตวิทยา รากฐานทางจตวทยาของ constructivist คือ ทฤษฎของ Piaget ิ ิ ี Piaget มความคดวามนษยเรยนรโดยกระบวนการปรบตวใหเขากบสงแวดล อมซึ่งประกอบดวยกล ี ิ  ุ  ี ู ั ั   ั ่ิ ไกพื้นฐาน 2 อยางคือ การดูดซึมเขาสูโครงสราง (assimilation) และการปรบโครงสราง ั  (accommodation) ในกรณีที่ผูเรียนประสบปญหาที่ตองแก การดดซมเขาสโครงสรางกคอ ความ ู ึ  ู  ็ ื สามารถในการตความปญหาหรอจดปญหาใหอยในรปแบบทสามารถแกไดดวยมโนทศนหรอวธี ี  ื ั   ู ู ่ี    ั  ื ิ การเดิมที่มีอยู สวนการปรบโครงสรางกคอความสามารถในการหาวธใหม หรอคําอธิบายใหมมา  ั  ็ ื ิี ื แกหรือตีความปญหา เมื่อวิธีเดิมหรือมโนทัศนเดิมที่มีอยูไมสามารถแกปญหาที่ประสบอยได ู
  • 5. แผนภูมิแสดงการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอม ตามแนวทฤษฎีของเพียเจต (พิมพพันธ เดชะคปต) ุ เกิดปญหา เกิดสภาวะไมสมดุล (unequilibrium) แกปญหาไมได  แกปญหาไดโดยกระบวน การดูดซึมเขาสูโครงสราง  (assimilation) แกปญหาโดย  กระบวนการดูดซึมเขาสูโครงสราง และกระบวนการปรับใหเหมาะ (accommodation) สภาวะสมดุล การปรับตัวเขากับสิงแวดลอม ่ Schema นอกจากนนแนวคอของ Ausubel (อางถงใน พิมพพันธ เดชะคปต มปป. : 1-3) มความ ้ั ื  ึ ุ ี เหนวาโครงสรางสวนบคคล เปนองคประกอบทสําคัญทีสดของการศึกษา สิ่งที่สําคญทสดทผสอน ็    ุ   ่ี ่ ุ ั ่ี ุ ่ี ู
  • 6. จะตองรูในจุดเริมแรกของการสอนคือ สิ่งที่เด็กรู เพื่อที่ผูสอนจะไดวางแผนการสอนโดยใชความรู  ่ เดมและกลวธการเรยนรเดมของเดกเปนจดเรมตน ิ ิี ี ู ิ ็  ุ ่ิ  รากฐานทางปรัชญา (พิมพพันธ เดชะคปต มปป.: 1-3 )ความรคอความสามารถของ ุ ู ื แตละบุคคลในการปรับประสบการณเกาที่มีอยูเดิมใหเขากับประสบการณใหมไดดวยกระบวนการ     พิสูจนใหเห็นจริงได และมีความสมเหตุสมผลกอใหเกิดประโยชนในทางปฏิบัติและกระบวนการ ของการนําความคิดที่ผานกระบวนการพิสูจนใหเห็นจริงและมีความสามารถสมเหตุ สมผล แลวนํา  ไปสความคดอน ๆ ในประสบการณอน ๆ ที่มีคาสําหรบการดําเนนชวต และขจัดความขัดแยง ู ิ ่ื  ่ื ั ิ ีิ ระหวางความคดในประสบการณเกากบประสบการณใหม  ิ   ั  วัฒนาพร ระงับทุกข 2540: 15-16 ) กลาวถง ทฤษฎการสรางความรู Constructivism  ึ ี  วา เปนทฤษฎีการเรียนรูแนวใหมที่ไดรับความสนใจเปนอยางมาก โดยมีหลักสามประการ คือ 1. การเรยนรเปนกระบวนการของการสรางความรู มิใชเปนการซึมซับขอมูลที่รับเขามา ี ู   เปนสวนๆ 2. การเรยนรขนอยกบความรเดม ซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดของการสรางความรูใหม ี ู ้ึ ู ั ู ิ 3. สถานการณ หรอ บริบทของการเรียนรูเปนสิงสําคัญของการสรางความรู ื  ่ แนวคิดเกียวกับการสรางความรูมนกการศึกษาเชือวาความรูเปนสิ่งที่สรางขึ้นไดดวยตน ่  ี ั ่  เอง ซึ่งสามารถจําแนกกลมนกการศกษาทมความเชอในลกษณะนได 2 กลุมใหญ คือ ุ ั ึ ่ี ี ่ื ั ้ี 1. กลุมการสรางงความรูเชิงความคิด กลุมนี้เนนการสรางความรูเกิดจากป๗เจกบุคคล การเรยนรเปนกระบวนการเชงพลวต (dynamic process ) ของการสราง การจด ี ู  ิ ั ั ระบบและการสรางความรูอยางพิถีพิถัน นักการศึกษาที่มีความเชื่อลักษณะนี้มีทัศนะวา การสรางความรูจะเกิดขึนในตัวผูเรียนทีผู  ้  ่ เรียนจะตองสรางและลงมือปฏิบตดวยตนเอง ั ิ  2. กลมการสรางความรเชงสงคม - วัฒนธรรม กลุมนี้มีทัศนะวา การเรยนรเปนกระบวน ุ  ู ิ ั ี ู  การทางสงคม ซึ่งครูและนักเรียนมีสวนรวมในการพูดคุยกันอยางมีความหมายใน ั ลักษณะแลกเปลียนกันดวยบรรยากาศทีเปนมิตร ปฏิสัมพันธภายในหองเรียนจะเปน ่ ่ ตัวเชื่อมโยงการเรียนรูและการสอนใหผสมผสานกันอยางกลมกลืน ทั้งนี้ บุคคลที่อยูใน สิ่งแวดลอมทางสังคมของผูเรียนจะมีอิทธิพลตอทัศนะและวิธีคิดของเขา ขณะที่ผูใหญ ภาษา และวัฒนธรรมเปนองคประกอบที่สําคัญของการเรียนรู
  • 7. หลักการสรางความรู 1. ผูเรียนจะมีปฏิสัมพันธกับทุกสิ่งที่อยูแวดลอมตัวเขา จะพยายามคนหาเพื่ออธิบายสิ่ง ตางๆรอบตัวเขานัน โดยเขาจะสรางแบบจําลองหรือสัญญาลักษณของสิ่งตางๆที่พบ ้ เห็นไวในความคิดเพื่อใชอธิบายสิ่งตางๆ เกยวกบปรากฏการณและเหตการณตางๆ ใน ่ี ั  ุ   สงแวดลอมรอบตวนน บทบาทของครจงเปนการชวยผเรยนสรางและประกอบแบบ ่ิ  ั ้ั ูึ   ู ี  จําลองทางความคิดใหสมบูรณแบบยิ่งขึ้น 2. ผูเรียนทุกคนจะสรางหรือรวมสรางสิ่งที่มีความหมายดวยตนเอง 3. ผูเรียนเปนผูรบผิดชอบการเรียนรูของตน ครูเปนผูสนับสนุน และอํานวยความสะดวก  ั   การเรยนรู ี 4. ผูเรียนจะสรางสิ่งที่มีความหมายแลกเปลี่ยนกันจากการปฏิสัมพันธซ ึ่งกันและกัน การนําแนวคดนไปใชในงานของครู ิ ้ี  การนําแนวคิดของ Constructivism ไปใชในการจดการเรยนการสอนนน ครูจะเริมตน  ั ี ้ั ่ จากการเสนอปญหา หรือ คํา ถาม ที่เปนจุดเนนของบทเรียน จากนั้นใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธ ภาย  ใน ระ ห วางกนใน ก ลุม เพือแกปญหา หรือตอบคําถามจนสําเรจ โดยครูทําหนาทนําทางให  ั ่  ็  ่ี ตองการ ตังคําถามและใหตวอยาง เพื่อเสริมหรือตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน ( ประสาร ้  ั  มาลากล ณ อยธยา 2541: 3 ) ุ ุ หลักการพัฒนาเด็กตามแนวการสอนแบบ Constructivism ( อุดมลักษณ กุลพิจิตร มปป. : 25 ) 1. เดกตองมโอกาสวางแผนการเรยนรของตนเอง และมีความยืดหยุนในเรื่องที่จะเรียน ็  ี ี ู 2. เดกๆ จะสรางความรู และความเขา ใจจาการกระทํา โดยผานโลกทางกายภาพ และ ็ โลกทางสงคม โดยมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ ั บคคลอน ุ ่ื 3. ความผดพลาด (error ) จะนําไปสูการสรางความรูใหม ความผิดพลาดจะทําใหเกด ิ  ิ การพฒนาความคด ั ิ 4. การเรียนรูของเด็กจะเกี่ยวของสัมพันธในทุกดาน โดยไมมการแยกแยะออกเปนราย ี วิชาเหมือนผูใหญ
  • 8. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบดวย 1. มีจุดมุงหมายของเนื้อหาที่ชัดเจน 2. การออกแบบและเตรียมงาน หรือปญหา ที่เปนสภาพการณจริง 3. การออกแบบวธการนําเสนอปญหาหรอแนวคดทเปนนามกระทําในรปแบบทหลาก ิี  ื ิ ่ี  ู ่ี หลาย เพื่อใหผูเรียนไดรับรูและมองเห็นปญหาไดในหลายมุม 4. การจดกจกรรมและโอกาสใหผเรยนไดมบทบาท มสวนรวม และไดมีปฏิสัมพันธโดย ั ิ  ู ี  ี ี   ตรงระหวางผูเรียนกับบทเรียน และระหวางผูเรียนดวยกันเอง คือ งานกลุมในรูปแบบตางๆ  5. การประเมินความรูความเขาใจ และความตอเนื่องระหวางความรูเดิมกับความรูใหม ของผเรยนู ี วิธีการดําเนินกิจกรรรมการเรียนการสอน วิธการดําเนินงานของครู จะเริ่มตนจากการเสนอคําถาม หรือปญหาที่เปนจุดเนนของบท ี เรยน จากนั้นผูเรียนจะใชประโยชนจากวิธีการทําความเขาใจกับปญหาและปฏิสัมพันธภายใน ี และระหวางกลุม เพื่อแกปญหาหรือตอบคําถามจนสําเรจ ซีงครูจะทําหนาทีชวยนําทางดวยการใช ็ ่  กลยทธคําถามและการใหตัวอยางเพิ่มเติม เพื่อสรางเสริมและตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน ุ  ตวอยางขนตอนการสอนเพอการเรยนรตามแนวคด Constructivism ั  ้ั ่ื ี ู ิ 1 รูปแบบของ พิมพพันธ เดชะคปต ุ ปญหา  - การงอกของเมล็ดพืชตองใชแสงหรือไม สมมุติฐาน - แสงมีความจําเปนตอการงอกของเมล็ดพืช (จากประสบการณเดม แสงมีผลตอการงอกของพืช)  ิ Cognitive conflict - ทําการทดลองพบวา  “แสงไมมีผลตอการงอกของเมล็ดพืช” (ขดแยงกบความรเดม) ั  ั ู ิ Reflection - ทําการศกษาไตรตรองเพอพสจนวา ึ  ่ื ิ ู   “แสงไมมีความจําเปนตอการงอกของเมล็ดพืชและมีสิ่งใดที่จําเปนตอการ งอกของเมล็ดพืช” Cognitive structure - คนพบไดวา แสงไมจําเปนตอการงอกของเมล็ดพืช สิ่งที่จําเปนคอ   ื อาหารในใบเลียง ้
  • 9. 2 รูปแบบของ กลุมผูคนควา ปญหา และ  - พลอยแทตางจากพลอยจริงอยางไร cognitive conflict Reflection - คนควาจากหนงสอและการอภปรายวา พลอยแทตางจากพลอยจริง   ั ื ิ  อยางไร Cognitive structure - คนพบไดวา พลอยแทตางจากพลอยปลอมอยางไร   ผลดทคาดวาจะไดรบจากการสอนตามแนว constructivist ี ่ี  ั ดานตัวเด็ก ดานตัวครู - นักเรียนเรียนอยางมีความสุข - ครมโอกาสในการพฒนาความสามารถของนก ู ี ั ั เรียนไดอยางเต็มที่ - ผลการเรยนของนกเรยนดขน ี ั ี ี ้ึ - - ทัศนคติของนักเรียนตอครู โรงเรียน เพื่อน และเนือหาวิชาดีขน ้ ้ึ - ทกษะการคดของนกเรยนจะดขน ั ิ ั ี ี ้ึ ตวอยางขอความรทไดจากการสรางความรดวยตนเองตามแนว constructivist ั   ู ่ี   ู  หากพิจารณาถึงความรูที่มนุษยมีอยู จะพบวาความรูหรือการคนพบจํานวนมาไดมาจาก  การ constructivist ความรดวยตนเอง ตวอยางเชน ความรูเรื่องจุลินทรียของหลุย ปาสเตอร แต ู  ั   กอนยงไมมความรเรองจลนทรย หลุย ปาสเตอรพบวาน้ําตมเนื้อในถวยแกวบูดเสียเมื่อตั้งทิ้งไว จึง  ั  ี ู ่ื ุ ิ ี   เกิดความสงสัย ตรงนี้เปนจุดที่เกิดความขัดแยงทางปญญา ตอมา หลุย ปาสเตอรไดคนควา  ทดลองดวยวิธการทางวิทยาศาสตร ซึงเปนขันดําเนนกจกรรมไตรตรอง แลวไดคําตอบซึ่งก็คือเชื้อ ี ่ ้ ิ ิ    โรค และมีการสรางโครงสรางใหมทางปญญาขึ้น
  • 10. วธการสอนทสามารถนํามาใชเพื่อใหผูเรียน construc ความรดวยตนเอง ิี ่ี ู  ทฤษฎี constructivist มีจุดเนนตรงกระบวนการหาความรูดวยตนเอง แตในการจดกจ  ั ิ กรรมการเรียนการสอนจะตองใชกจกรรมอืนทีเอืออํานวยตอการสรางความรดวยตนเอง ดงเชน ิ ่ ่ ้   ู  ั  1 Inquiry method 2 Cooperative learnning งานวิจัยและผลจากการสอนตามแนว constructivist ปจจบนงานวจยเกยวกบผลของการจดการเรยนการสอนตามแนว constructivist ใน  ุ ั ิ ั ่ี ั ั ี ประเทศไทย ยังมีไมมาก กลมผคนควารวบรวมไดดงน้ี ุ ู    ั สมจตร สดวกการ (2538 : ข) ไดศกษาผลของการสอนคณตศาสตรตามแนวคดของ ิ  ึ ิ  ิ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตที่มีตอผลสัมฤิทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรและความสามารถในการ ถายโยงการเรยนรของนกเรยนระดบมธยมศกษาตอนตน กลมตวอยางเปนนกเรยนเปนนกเรยน  ี ู ั ี ั ั ึ  ุ ั   ั ี  ั ี ระดับมัธยมศึกษาปท่ี 1 จํานวน 145 คน แบงเปนกลมทดลอง 75 คน กลุมควบคุม 70 คน   ุ  ในการวิจยนี้ ไพจตรไดสรางกจกรรมการสอนคณตศาสตรขน ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสตโดย ั ิ   ิ ิ  ้ึ ิ แบงการสอนเปน 3 ขันคือ ขั้นสรางความขัดแยงทางปญญา ขันดําเนนกจกรรมไตรตรอง ขั้นสรุป   ้ ้ ิ ิ  ผลการสรางโครงสรางใหมทางปญญา และไดขอคนพบสําคญวา ั  1 ผลสัมฤิทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนวิชา คณตศาสตรปานกลางทสอนดวยกระบวนการสอนคณตศาสตรตามแนวคด ิ  ่ี  ิ  ิ ของทฤษฎคอนสตรคตวสตสงกวานกเรยนทสอนตามปกติ ี ั ิ ิ  ู  ั ี ่ี 2 ขนาดของความแตกตางระหวางผลสมฤทธทางการเรยนของนกเรยนทสอน   ั ์ิ ี ั ี ่ี ดวยกระบวนการสอนคณตศาสตรตามแนวคดของทฤษฎคอนสตรคตวสตกบ  ิ  ิ ี ั ิิ ั การสอนตามปกติ ในกลุมนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนวิชา คณิตศาสตรปานกลางและตํ่า ใหญกวาขนาดของความแตกตางระหวางผล    สัมฤิทธิ์ทางการเรียนในกลุมนักเรียนที่มีระดับที่มีความสามารถทางการเรียน วิชาคณิตศาสตรสูง 3 ในเรื่องความคงทนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนกลุมที่มีระดับผล การเรียนสูงและปานกลางทีสอนดวยกระบวนการสอนทีสรางขึนและทีสอน ่ ่ ้ ่ ดวยกระบวนการสอนตามปกตมความคงทนของผลสมฤทธทางการเรยนไม  ิ ี ั ิ ์ิ ี แตกตางกน  ั 4 ความสามารถในการถายโยงการเรียนรูของนักเรียนกลุมทีมระดับความ   ่ ี สามารถทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรสูง ปานกลางและต่ําทีสอนดวย ่
  • 11. กระบวนการทสรางขนมสงกวา ความสามารถในการถายโยงการเรียนรูของ ่ี  ้ึ ี ู   นกเรยนทมความสามารถทางการเรยนรระดบเดยวกนทสอนตามวธี ปกติ ั ี ่ี ี ี ู ั ี ั ่ี ิ สาคร ธรรมศักดิ์ (2541) ไดศกษาผลการสอนตามแนวคอนสตรคตวซมแบบรวม  ึ ั ิิึ  มือที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแกปญหาสิ ่งแวดลอมของ นกเรยนชนมธยมศกษาปท่ี 4 พบวา ั ี ้ั ั ึ  1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมของนักเรียนกลุม ควบ คุมที่สอนตามคูมือครู กับกลุมทดลองที่สอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมแบบ รวมมือแตกตางกันอยางมีนยสําคญทางสถตทระดบ .01 โดยผลสัมฤทธิ์ทาง ั ั ิ ิ ่ี ั การเรียนวิชาคณิตศาสตรส่ิงแวดลอมของนักเรียนกลุมทดลองสูงกวากลุม ควบคุม 2 ความสามารถในการคดแกปญหาสงแวดลอมของนกเรยนกลมควบคมทส อน ิ   ่ิ  ั ี ุ ุ ่ี ตามคูมือครู กับกลุมทดลองที่สอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมแบบรวมมือแตก ตางกนอยางมนยสําคญทางสถตทระดบ .01  ั  ี ั ั ิ ิ ่ี ั ความคิดเห็นของกลุมตอทฤษฎี constructivist  1. การเรียนรูตามแนว constructivist ไมใชเรื่องใหมที่เพิ่งเกิดขึ้น ผูรวบรวมคิดวาคนเรา มีการสรางความรูตามแนว constructivist มานานแลว เชน ความรูเรืองจุลนทรีย  ่ ิ ของหลุย ปาสเตอร แตไมมีการพูดถึงตัวอยางเฉพาะเจาะจงอยางชัดเจน ทฤษฎี constructivist ที่เกิดขึ้นเปนการอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นอยางชัดเจน และเปน หลักพื้นฐาน มีการใชเหตุผลที่เกี่ยวของมาชวยในการอธิบายสาเหตุการเกิดขึ้นเพิ่ม เติม 2. การเรียนรูตามแนว constructivist จะชวยพฒนาการคดของนกเรยนใหดขนได การ  ั ิ ั ี  ี ้ึ สอนดวยวธนจะชวยนกเรยนไดรจกคด รจกการมองปญหา และวิธีการแกปญหา สง  ิ ี ้ี  ั ี  ู ั ิ  ู ั  ผลใหความคดรเรมสรางสรรคมากขน  ิ ิ ่ิ   ้ึ 3. การเรียนรูตามแนว constructivist จะจดไดกบนกเรยนทมความสามมารถในการ ั  ั ั ี ่ี ี เรยนรอยบาง เปนคนที่ชางสงสัย ใครรู เหมาะที่จะใชหลังจากการฝกใหนักเรียนรูจัก ี ู ู   คิดในขันเบืองตนแลว ไมเหมาะที่จะใชเริ่มตนฝกคิด ้ ้ 4. การจัดการเรียนการสอนแบบ constructivist เหมาะกับการจัดการเรียนการสอนกลุม ไมใหญนัก เพราะตองอาศยการปรกษาหรอการไตรตรอง ซงตองใชเวลาการ  ั ึ ื  ่ึ   สนับสนุนจากครู --------------------------